SlideShare a Scribd company logo
1 of 116
Download to read offline
แบบฝึกทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่อง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มงานนิเทศติดตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต ๔
เอกสารหมายเลข ๒๕/๒๕๕๑
๑
คานา
การอ่านและการเขียนเป็นทักษะที่สาคัญจาเป็นยิ่งในการศึกษาเล่าเรียนและ
การดารงชีวิตประจาวัน ผู้มีทักษะการอ่านและการเขียนดีย่อมสามารถได้ประโยชน์สูงสุดจากการ
อ่านและเขียน สามารถสื่อสาร แสดงความต้องการของตนให้ผู้อื่นรับทราบได้อย่างดี
กระทรวงศึกษาธิการ จึงกาหนดให้ การอ่านออกเขียนได้ เป็นนโยบายสาคัญ เร่งด่วนที่ทุกเขต
พื้นที่ต้องดาเนินการ ซึ่งสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา อุบลราชธานีเขต ๔ ได้มอบหมายให้
นายปิยะศักดิ์ สินทรัพย์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ และคณะทางานซึ่งประกอบด้วย
ศึกษานิเทศก์ และครู ที่มีความรู้ ความสามารถ ในการสอนภาษาไทย รับผิดชอบดาเนินการ
โดยคณะทางานจัดทาชุดฝึกแก้ปัญหาการอ่าน ๔ ชุดได้แก่ ชุดรู้รูป ชุดสรุปคา ชุดนาประโยคเรียนรู้
และชุดสู่การอ่านอย่างสร้างสรรค์ และทุกโรงเรียนได้นาไปใช้ในการแก้ปัญหาการอ่าน เพื่อ
เสริมสร้าง ให้นักเรียนมีพัฒนาการ ในการอ่านและเขียนอย่างต่อเนื่อง จึงจัดทาชุดพัฒนาทักษะการ
อ่านคล่อง เขียนคล่อง ระดับช่วงชั้นที่ ๑และ ๒ ขึ้น โดยในช่วงแรกจัดทาจานวน ๓
ชุดได้แก่
ชุดฝึกทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ชุดฝึกทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
ชุดฝึกทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ชั้นประถมศึกษาปีที่๔
สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา อุบลราชธานีเขต ๔ ขอขอบคุณคณะทางานทุกท่านที่
ทุ่มเท กาลังความรู้ ความคิด และสติปัญญา จนเกิดชุดฝึกทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่องนี้ขึ้น และ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ครูผู้สอนภาษาไทย จะนาไปใช้ประกอบการเรียนการสอน เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อ
ผู้เรียน
นายโกวิท เพลินจิตต์
อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต ๔
๒
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑
แม่ ก. กา
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างทีละคา ตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๒.กะปิ
๔.ใบไม้
๕.โมโห
๓.กะสา
๖.จริยะ
๑.กระเพรา
๑๐.ไกว
๗.อายุ
๘.ข้อต่อ
๙.ต่อมา
๓
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒
แม่ ก. กา
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๔.บ่อน้า
๕.ไถนา
๒.ขย้า ๓.ขยี้
๖.ปลาทู
๑. ขณะ
๑๐.สีดา
๗.เสาไฟ
๘.ปลาร้า
๙.สีกากี
๔
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓
แม่ ก. กา
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๒. เจอะ
๔. เบาะ
๕.เบื่อ
๓. ชะนี
๑. จาปา
๑๐. โต
๗. เพลีย
๘. ภาษา
๙. แย่
๖.เปรอะ
๕
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔
แม่ ก. กา
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๒. ชี้
๔. ซอ
๕. ซ้า
๓. แช่
๖.แซะ
๑. ช้า
๑๐. โต้
๗. ใด
๘. ตู่
๙. แตะ
๖
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๕
แม่ ก. กา
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๒.ท่อ
๔. ท้า
๕. นาที
๓. ท่า
๖. เน่า
๑. ถ้า
๑๐. ประจา
๗. บัว
๘. บ่า
๙. เบา
๗
แบบทดสอบที่ ๑
การอ่าน แม่ ก กา
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ใบไม้
๒.กะปิ
๗.แตะ
๔.เปรอะ
๖.แซะ
๘. ซอ
๕.นาที
๙.ปลาทู
๓.บ่อน้า
๑๐.ขย้า
เกณฑ์การประเมิน
อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยให้ฝึกอ่านอีกครั้ง
๘
แบบทดสอบที่ ๑
การเขียน แม่ ก กา
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง
๑.จริยะ
๒.สีกากี
๘.สีดา
๔.ปลาร้า
๖.ไถนา
๙.เสาไฟ
๕.โมโห
๗.ต่อมา
๓.ประจา
๑๐.ข้อต่อ
เกณฑ์การประเมิน
เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยให้ฝึกอ่านแล้วเขียนอีกครั้ง
๙
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๖
แม่ กง
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ก๋ง ๒.กระถาง
๔.ก้าง ๕.กาแพง๓.กอง ๕.กาแพง
๙.ขิง
๗.เก๋ง๖.กิ่ง
๘.ข้อง ๑๐.เข่ง
๑๐
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๗
แม่ กง
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.คง ๒.มอง
๔.โค้ง ๕.กาแพง๓.ค้าง ๕.งวง
๙.แจ้ง
๗.จัง๖.ง่วง
๘.จูง ๑๐.ซิ่ง
๑๑
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๘
แม่ กง
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ทุ่ง ๒.แทง
๔.แท้ง ๕.กาแพง๓.แท่ง ๕.ธง
๙.ท่อง
๗.แตง๖.บารุง
๘.เถียง ๑๐.มะม่วง
๑๒
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๙
แม่ กง
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.แบ่ง ๒.ดง
๔.เถียง ๕.กาแพง๓.แตง ๕.ท่อง
๙.ธง
๗.แท่ง๖.แทง
๘.แท้ง ๑๐.บารุง
๑๓
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๐
แม่ กง
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.มะเฟือง ๒.ระฆัง
๔.ระมัดระวัง ๕.กาแพง๓.ระเบียง ๕.ส่อง
๙.ตั้งใจ
๗.เจ้าของ๖.แข็งแรง
๘.เชื่อฟัง ๑๐.ตั้งแต่
๑๔
แบบทดสอบที่ ๒
แม่ กง
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.เถียง
๒.แท่ง
๓.ท่อง
๔.เก๋ง
๖.ค้าง
๕.ข้อง
๗.แจ้ง
๑๐.โค้ง
๘.ง่วง ๙.ท่อง
เกณฑ์การประเมิน
อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๑๕
แบบทดสอบที่ ๒
การเขียน แม่ กง
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทาละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง
๑.บารุง
๒.กาแพง
๓.กระถาง
๔.มะม่วง
๖.เจ้าของ
๕.เชื่อฟัง
๗.ตั้งแต่
๑๐.มะเฟือง
๘.แท่ง
๙.เถียง
เกณฑ์การประเมิน
เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๑๖
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๑
แม่ กน
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ต้นทุเรียน ๒.ต้านทาน ๓.ทางาน
๔.เมื่อวาน ๕.โหนเชือก
๖.ลิ้นจี่ ๗.แดดร้อน
๙.ตื่นนอน ๑๐.ทานตะวัน
๘. เงินทอน
๑๗
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๒
แม่ กน
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ตู้เย็น ๒.ทาสวน
๓.ที่นอน
๔.เท่านั้น ๕.น้าเงิน
๖.มองเห็น ๗.เป็นมัน
๙.ประชาชน ๑๐.ป้องกัน
๘.น้าหวาน
๑๘
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๓
แม่ กน
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ผ้าปูที่นอน ๒.พักผ่อน
๓.เมื่อวาน
๔.ยินดี ๕.เวียนเทียน
๖.สนใจ ๗.สวนครัว
๙.หน้าร้อน ๑๐.หมู่บ้าน
๘.สินค้า
๑๙
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๔
แม่ กน
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.อ่อนเพลีย ๒.กลิ่น
๓.การ์ตูน
๔.ขน ๕.ขนุน
๖.เขยื้อน ๗.ดนตรี
๙.ถนน ๑๐.บริเวณ
๘.ตาบล
๒๐
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๕
แม่ กน
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ปฎิญาณ ๒.ประมาณ
๓.เปลี่ยน
๔.พรวน ๕.สงสาร
๖.สมบูรณ์ ๗.สหกรณ์
๙.หมอน ๑๐.เหม็น
๘.สาคัญ
๒๑
แบบทดสอบที่ ๓
การอ่าน แม่ กน
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ต้นทุเรียน
๒.ต้นลาไย
๓.ตื่นนอน
๙.หมอน
๔.สวน
๕.ผ้าปูที่นอน
๖.เขยื้อน
๗.ขนุน
๘.ปฏิญาณ
๑๐.สหกรณ์
เกณฑ์การประเมิน
อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๒๒
แบบทดสอบที่ ๓
การเขียน แม่ กน
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง
๑.ตู้เย็น
๒.ประชาชน
๓.สวนครัว
๙.หมู่บ้าน
๔.อ่อนเพลีย
๕.บริเวณ
๖.เหม็น
๗.หน้าร้อน
๘.น้ามัน
๑๐.ทานตะวัน
เกณฑ์การประเมิน
เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๒๓
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๖
แม่ กด
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ละเอียด
๒.ละมุด
๔.ทอดผ้าป่า๓.เตารีด
๖.บัดนี้๕.ที่สุด
๗.ผักกระเฉด
๙.ผู้ให้กาเนิด
๘.ผักกาด
๑๐.ฝึกหัด
๒๔
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๗
แม่ กด
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.แม่มด
๒.ไม้ขีด
๔.สดชื่น๓.รีดผ้า
๖.กวาด๕.สดใส
๗.เกลียด
๙.จรวด
๘.ขนาด
๑๐.จังหวัด
๒๕
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๘
แม่ กด
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ญาติ
๒.ตลอด
๔.ทิศ๓.ตลาด
๖.โทษ๕.เทศน์
๗.พยาธิ
๙.มะกรูด
๘.พืช
๑๐.มะขวิด
๒๖
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๙
แม่ กด
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.มิตร
๒.เมตตา
๔.ละหมาด๓.เมล็ด
๖.สมมติ๕.สมบัติ
๗.หยอด
๙.หลอด
๘.หยุด
๑๐.หวัด
๒๗
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๐
แม่ กด
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.เหยียด
๒.เศรษฐี
๔.สัตว์๓.สมุด
๖.วิเศษ๕.หมด
๗.บรรทัด
๙.ชนิด
๘.จิ้งหรีด
๑๐.ชีวิต
๒๘
แบบทดสอบที่ ๔
การอ่าน แม่ กด
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.ละเอียด
๒.ผักกาด ๓.ผู้ให้กาเนิด
๔.สดชื่น
๕.จังหวัด
๗.เทศน์
๖.หลอด
๙.หยอด
๘.เศรษฐี
๑๐.จิ้งหรีด
เกณฑ์การประเมิน
อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ ดี
อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๒๙
แบบทดสอบที่ ๔
การเขียน แม่ กด
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง
๑.ทอดผ้าป่า
๒.ไม้ขีด ๓.มะกรูด
๔.เมตตา
๕.มะขวิด
๗.ตลอด
๖.บรรทัด
๙.ชนิด
๘.หยุด
๑๐.จรวด
เกณฑ์การประเมิน
เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ ดี
เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๓๐
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๑
แม่ กบ
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.กระสอบ ๒.เกือบ
๓.คาบ
๔.ตบ ๕.ตะเกียบ
๖.ประดับ
๘.เรียบ
๗.ระเบียบ
๑๐.สูบ
๙.สารับ
๓๑
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๒
แม่ กบ
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.อบ ๒.กับข้าว
๓.ควบคุม
๔.เจ็บป่วย ๕.เก็บของ
๖.ตอบแทน
๘.นกกระจาบ
๗.เติบโต
๑๐.บังคับ
๙.นับถือ
๓๒
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๓
แม่ กบ
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.พับเพียบ ๒.ยางลบ
๓.รับประทาน
๔.เรียบร้อย ๕.วาววับ
๖.อบรม
๘.อาบน้า
๗.อบอุ่น
๑๐.กราบ
๙.กรอบ
๓๓
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๔
แม่ กบ
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.กลับ ๒.ก๋วยจั๊บ
๓.กุหลาบ
๔.เขยิบ ๕.ครบ
๖.ครอบ
๘.สาหรับ
๗.ตะครุบ
๑๐.หมอบ
๙.หนีบ
๓๔
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๕
แม่ กบ
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.หลบ ๒.หลับ
๓.เหยียบ
๔.บีบ ๕.มอบ
๖.โอบล้อม
๘.กลบ
๗.แบบฝึกหัด
๑๐.สงบ
๙.ครับ
๓๕
แบบทดสอบที่ ๕
การอ่าน แม่ กบ
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
๑.สารับ
๙.แบบฝึกหัด
๒.เจ็บป่วย
๔.ตอบแทน
๗.ควบคุม ๖.รับประทาน
๕.ก๋วยจั๊บ
๘.โอบล้อม
๓.กับข้าว
๑๐.สงบ
เกณฑ์การประเมิน
อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๓๖
แบบทดสอบที่ ๕
การเขียน แม่ กบ
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง
๑.กระสอบ
๙.ระเบียบ
๒.ตะเกียบ
๔.นับถือ
๗.ตะครุบ ๖.สาหรับ
๕.กุหลาบ
๘.เหยียบ
๓.เติบโต
๑๐.พับเพียบ
เกณฑ์การประเมิน
เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๓๗
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๖
แม่ กม
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๗
๖.ชม
๘.ทีม
๙.ประถม
๗.เดิม
๑.แก้ม
๒.คุ้ม ๓.ก้ม
๔.งม
๕.จิ้ม
๑๐.เทียม
๓๘
แม่ กม
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๘
แม่ กม
๖.ห้าม
๘.เอี่ยม
๙.กล้าม
๗.อุ้ม
๑.กลุ่ม
๒.ยอม ๓.ยืม
๔.ส้วม
๕.เสียม
๑๐.กลม
๓๙
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๙
แม่ กม
๖.สวยงาม
๘. ของมีคม
๙.แกงส้ม
๗.หกล้ม
๑.ข้าวต้ม
๒.ถ้วยชาม ๓.ปลาเค็ม
๔.พัดลม
๕.แมงมุม
๑๐.มูมมาม
๔๐
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๐
แม่ กม
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๖.หนุ่ม
๘.แหลม
๙.อิสลาม
๗.หลวม
๑.ความ
๒.เตรียม ๓.พร้อม
๔.พยายาม
๕.สนาม
๑๐.ออมสิน
๔๑
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบทดสอบที่ ๖
การอ่าน แม่ กม
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๖.แฟ้ม
๘.เข็มขัด
๙.แจ่มใส
๗.ร่วม
๑.ไอศกรีม
๒.ก้ม ๓.ขม
๔.ตอม
๕.ประชุม
๑๐.ดอกเข็ม
๔๒
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบทดสอบที่ ๖
การเขียน แม่ กม
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.แก้ม
๒.ทีม
๔.เทียม
๖.ส้วม
๓.เอี่ยม
๗.แกงส้ม
๘.สวยงาม
๕.ข้าวต้ม
๙.กล้าม
๑๐.เข็มขัด
เกณฑ์การประเมิน
อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยให้ฝึกอ่านอีกครั้ง
๔๓
หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๑
แม่ เกอว
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.ประถม
๒.มูมมาม
๔.ออมสิน
๖.แจ่มใส
๓.อิสลาม
๗.เสียม
๘.ความ
๕.ประชุม
๙.ไอศกรีม
๑๐.หลวม
เกณฑ์การประเมิน
เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยให้ฝึกอ่านอีกครั้ง
๔๔
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๒
แม่ เกอว
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.เขียว
๒. แนว ๓. ว่าว
๔.หิ้ว ๕.กางเกงขายาว
๖.แก้วน้า
๗.ข้าวเจ้า
๘.สาวสวย
๙.แวววาว
๑๐.เข้าแถว
๔๕
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๓
แม่ เกอว
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.เหี่ยว
๒. ชาวเขา ๓. ดวงดาว
๔.ใสแจ๋ว ๕.เกรียวกราว
๖.ชั่วคราว
๗.เดินแถว
๘.ดวงเดียว
๙.เดี๋ยวนี้
๑๐.ดาวเรือง
๔๖
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๔
แม่ เกอว
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.ต้นมะนาว
๒.ตู้กับข้าว ๓.ถั่วเขียว
๔.ถั่วฝักยาว ๕.แพรวพราว
๖.ผ้าขี้ริ้ว
๗.ชาวสวน
๘.ลูกแก้ว
๙.ลูกสาว
๑๐.สีขาว
๔๗
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๕
แม่ เกอว
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.สีเขียว
๒.เสื้อแขนยาว ๓.หม้อขาว
๔.หาว ๕.ห่อข้าว
๖.ชาวนา
๗.เปรียว
๘.เปรี้ยว
๙.มะพร้าว
๑๐.หนาว
๔๘
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบทดสอบที่ ๗
การอ่าน แม่ เกอว
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.เหยี่ยว
๒.แวว ๓.นกแก้ว
๔.กล่าว ๕.คราว
๖.เหนียว
๗.ข้าวมันไก่
๘.ดอกดาวเรือง
๙.เป็นสาว
๑๐.สาวสวย
๔๙
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบทดสอบที่ ๗
การเขียน แม่ เกอว
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.แก้วน้า
๙.นกแก้ว
๒.ชาวใต้
๓.เดินแถว
๕.ลูกสาว
๔.หม้อหุงข้าว
๖.เปรี้ยว
๗.เสื้อแขนยาว
๑๐.เรื่องราว
๘.เหนียว
เกณฑ์การประเมิน
อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๕๐
หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๖
แม่ เกย
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.แจวเรือ
๙.ข้าวต้ม
๒.ชาวเขา
๓.ถั่วเขียว
๕.มะพร้าว
๔.พี่สาว
๖.ผ้าขี้ริ้ว
๗.เหยี่ยว
๑๐.เดี๋ยวนี้
๘.แก้วน้า
เกณฑ์การประเมิน
เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๕๑
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๗
แม่ เกย
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.จ่าย ๒.เฉย ๓.ว่ายน้า
๔.ด้าย ๕.ถ่าย ๖.ทาย
๘.ฝ้าย๗.ท้าย
๑๐.คนขาย๙.เขียนไทย
๕๒
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๘
แม่ เกย
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.คนขายของ ๒.คนป่วย ๓.คนร้าย
๔.ค้าขาย ๕.ถ่าย ๖.ทาย
๘.ทุย๗.ท้าย
๑๐.รวย๙.เมื่อย
๕๓
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๙
แม่ เกย
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.ลอย ๒.อ้อย ๓.หงอยเหงา
๔.คนป่วย ๕.คนร้าย ๖.ค้าขาย
๘.ตอนสาย๗.ลอยไป
๑๐.เด็กชาย๙.ดอกบานไม่รู้โรย
๕๔
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๐
การอ่าน แม่เกย
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.ต้นน้อยหน่า ๒.แต่งกาย ๓.ทักทาย
๔.ทาลาย ๕.นัยน์ตา ๖.น้าอ้อย
๘.ผู้ร้าย๗.ผู้ช่วย
๑๐.พายเรือ๙.พวงมาลัย
๕๕
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบทดสอบที่ ๘
การอ่าน แม่ เกย
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.มากมาย ๒.ร้ายแรง ๓.ลอยกระทง
๔.ลูกเขย ๕.เล็กน้อย ๖.เส้นชัย
๘.ก๋วยเตี๋ยว๗.หายใจ
๑๐.คล้าย๙.ขโมย
๕๖
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบทดสอบที่ ๘
การเขียน แม่ เกย
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.จ่าย
๓.คนป่วย
๔.อ้อย
๕.แต่งกาย
๘.เด็กชาย
๗.ต้นน้อยหน่า
๖.ทักทาย
๙.มากมาย
๒.เมื่อย
๑๐.ก๋วยเตี๋ยว
เกณฑ์การประเมิน
อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๕๗
หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๑
แม่ กก
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑.เขียนไทย
๓.ค้าขาย
๔.เจ้าชาย
๕.นับร้อย
๘.พวงมาลัย
๗.ขโมย
๖.หายใจ
๙.คนร้าย
๒.คนขาย
๑๐.ห้อยขา
เกณฑ์การประเมิน
เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านแล้วเขียนอีกครั้ง
๕๘
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๒
แม่ กก
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑. กระดูก ๒.กระติก ๓.กระตุก
๔.โกหก ๕.แขก ๖.คางคก
๗.เค้ก ๘.งอก ๙.แบก
๑๐.ฝาก
๕๙
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๓
แม่ กก
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑. ฟอก ๒.ฟาก ๓.แยก
๔.เลิก ๕.ข้อศอก ๖.ขี้มูก
๗.ไข้เลือดออก ๘.จงรักภักดี ๙.ซุกซน
๑๐.ซักผ้า
๖๐
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๔
แม่ กก
๑. ดอกบัว ๒.ตกกล้า ๓.น้าตก
๔.บ้วนปาก ๕.เบิกบาน ๖.ปลาดุก
๗.ปากกา ๘.ปุ๋ยคอก ๙.ผักชี
๑๐.ผักบุ้ง
๖๑
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๕
แม่ กก
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑. ปากกา ๒.ปุ๋ยคอก ๓.ผงซักฟอก
๔.ยากจน ๕.รู้สึก ๖.รู้จัก
๗.ลาบาก ๘.ลูกตา ๙.หน้ากาก
๑๐.กรอก
๖๒
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบทดสอบที่ ๙
แม่ กก
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
๑. หมอก ๒.หมาก ๓.หยอก
๔.หลอก ๕.หมวก ๖.เหล็ก
๗.ถลก ๘.ผลัก ๙.แปลก
๑๐.พริก
๖๓
หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน
แบบทดสอบที่ ๙
ฝึกเขียน แม่ กก
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ
หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง
๑.กระตุก
๒.เค้ก
๗.เหล็ก
๓.ไข้เลือดออก
๔.บ้วนปาก
๕.รู้สึก
๘.หยอก
๖.หมวก
๑๐.แปลก
๙.พริก
เกณฑ์การประเมิน
อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
๖๔
๑.กระดูก
๒.ขี้มูก
๗.ปุ๋ยคอก
๓.ซักผ้า
๔.ดอกบัว
๕.ปลาดุก
๘.ยากจน
๖.เบิกบาน
๑๐.คางคก
๙.จงรักภักดี
เกณฑ์การประเมิน
เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี
เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้
เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านแล้วเขียนอีกครั้ง
๖๕
แบบฝึกที่ ๑ การอ่าน การเขียนเป็นประโยค
ชื่อ – สกุล............................................................ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน................................... วันที่.........เดือน....................พ.ศ............
ประโยค คือข้อความที่มีความหมายชัดเจน
และบอกได้ว่า ใคร ทาอะไร ทาแก่ใคร เช่น
พ่อปลูกต้นไม้ น้องกินข้าว
นักเรียนเรียงคาต่อไปนี้ให้เป็นประโยคที่ถูกต้อง
๑ เกี่ยว ข้าว พี่
๒ เยี่ยม มา ปู่ย่า ลูกหลาน
๓ ทะเล อยาก เที่ยว ฉัน ไป
๖๖
แบบฝึกที่ ๒ การอ่าน การเขียนเป็นประโยค
ชื่อ – สกุล............................................................ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน................................... วันที่.........เดือน....................พ.ศ............
นักเรียนนาคาและกลุ่มคาที่กาหนดให้มาเรียนเป็นประโยค
๑. ดอกไม้ ไหว้ครู เรานาพาน ในวันครู ไป
๒. กิน วัว หนองน้า หญ้าปล้อง ใกล้
๓. ตา ก่อนนอน ฉันชอบฟัง เล่านิทาน
๔. ไปจ่ายตลาด เช้าวันเสาร์ ดาวตามแม่
๕. แวว ชอบ ในห้องสมุด อ่านหนังสือ
๖๗
๖๘
๖๙
แบบฝึกที่ ๕ การอ่าน การเขียนเป็นประโยค
ชื่อ – สกุล............................................................ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน................................... วันที่.........เดือน....................พ.ศ............
นักเรียนนาคาที่กาหนดให้ ๒ คา มาแต่งประโยค
ตัวอย่าง โรงเรียน - เช้า : นักเรียนไปโรงเรียนแต่เช้า
๑. ชาวนา – ควาย
๒. กับข้าว – ครัว
๓. หลังคา - นก
๔. ย่า – ตะกร้า
๕. รับบัว - หลวงพ่อโต
๗๐
แบบฝึกที่ ๖ การอ่าน การเขียนเป็นประโยค
ชื่อ – สกุล............................................................ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน................................... วันที่.........เดือน....................พ.ศ............
นักเรียนเขียนคาจากภาพที่กาหนดให้แล้วนามาแต่งประโยค
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๗๑
แบบประเมินการอ่าน การเขียนเป็นประโยค
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเรียงคาต่อไปนี้ให้เป็นประโยคที่ถูกต้องแล้วอ่าน
๑. อาศัย สัตว์น้า ปลาหมึก อยู่ ในทะเล เป็น
๒. ตื่นเต้น ที่ได้ เยี่ยม น้อง ดีใจ ไป คุณตา
๓. ไปเล่น ชอบ ที่ลาธาร เด็ก ๆ น้า
๔. คุณครู กระต่ายตื่นตูม เรื่อง นิทาน เล่า
๕. ในสวน ต้นไม้ คุณพ่อ อยู่ ปลูก หลังบ้าน
เกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียนเป็นประโยค
ระดับดีมาก : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้องครบ ๔ - ๕ ประโยค
ระดับดี : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๓ ประโยค
ระดับพอใช้ : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๒ ประโยค
ระดับปรับปรุง : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๐ - ๑ ประโยค
๗๒
แบบประเมินการอ่าน การเขียนเป็นประโยค
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
คาชี้แจง : ให้นักเรียนแต่งประโยคจากคาที่กาหนดให้แล้วอ่าน
หนังสือ ตลาด กรรไกร โรงเรียน เล่น
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
เกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียนเป็นประโยค
ระดับดีมาก : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้องครบ ๔ - ๕ ประโยค
ระดับดี : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๓ ประโยค
ระดับพอใช้ : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๒ ประโยค
ระดับปรับปรุง : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๐ - ๑ ประโยค
๗๓
แบบฝึกที่ ๑ การอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ
ชื่อ – สกุล .................................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่............เดือน.........................พ.ศ.............
เด็ก ๆ อ่านเรื่อง แม่ปูกับลูกปู แล้ววาดภาพตามความคิดระบายสี
ให้สวยงาม
วันหนึ่งซึ่งมีอากาศแจ่มใสปูสองตัวแม่ลูกขึ้นจากรูที่อาศัย แล้วพากันคลาน
ไปตามหาดทราย “นี่แน่ลูก” แม่ปูเอ่ยขึ้นกับลูก “ เจ้าเดินไม่เป็นระเบียบเสียเลยนี่
เจ้าต้องเดินไปข้างหน้าให้ตรง ๆ ซี อย่าให้วกไปทางนั้น วกมาทางนี้ซิ” “ได้ซีแม่”
ฝ่ายลูกปูตอบ “แต่แม่ต้องเดินให้ฉันดูเป็นตัวอย่างเสียก่อน แล้วฉันจะเดินตามแม่
เด็ก ๆ วาดภาพเรื่องแม่ปูกับลูกปู ตามความคิดของเด็ก ๆ
เด็ก ๆ ได้ข้อคิดอะไรจากเรื่อง แม่ปูกับลูกปู
๗๔
แบบฝึกที่ ๒ การอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ
ชื่อ – สกุล ..................................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน...................................... วันที่...........เดือน........................พ.ศ.............
ตอบคาถามต่อไปนี้
๑. ตัวละครเอกในเรื่องคืออะไร
 แมงกะพรุน  คน  ปลาหมึก
๒. หมึกน้อยมีพี่น้องจานวนเท่าใด
 หลายตัว  หลายร้อยตัว  หลายพันตัว
๓. พี่น้องของหมึกน้อยหายไปไหน
 ย้ายไปอยู่ที่อื่น  ถูกคนจับไป  ป่วยตาย
หมึกน้อยผู้ดื้อดึง
ณ ท้องทะเลที่กว้างใหญ่ แม่ของหมึกน้อยออกลูกปลาหมึก พี่ ๆ น้อง ๆ
ของหมึกน้อยมาหลายร้อยตัว ต่อมาถูกคนจับตัวไปจนลดน้อยลงทุกที ปู่หมึก
จึงสอนหมึกน้อยว่า ถ้ากลางคืนเห็นแสงไฟอย่าไปใกล้ มันอันตราย
แต่แล้วให้คืนหนึ่ง เมื่อแสงไฟสุกสว่างส่องลงมายังท้องทะเล ทาให้หมึกน้อย
สนใจและอดสงสัยไม่ได้ จึงว่ายน้าเข้าไปใกล้ จนกระทั่งถูกคนจับตัวไป หมึกน้อย
ทั้งตกใจ หวาดกลัว และคิดถึงแม่ทั้งคืน โชคดีที่เช้าวันรุ่งขึ้นมีผู้หญิงคนหนึ่งปล่อย
หมึกน้อยกลับลงสู่ทะเล
๗๕
สมมติว่าเด็ก ๆ เป็นหมึกน้อย ให้เด็ก ๆ วาดภาพหมึกน้อยและเพื่อน ๆ
ในท้องทะเลพร้อมระบายสีให้สวยงาม
ตอบคาถามต่อนะคะ
๔.ข้อใดคือสาเหตุที่ทาให้หมึกน้อยถูกจับ
 ซุกซน  ออกตามหาพี่น้อง  ดื้อดึงไม่เชื่อฟัง
ผู้ใหญ่
๕.หมึกน้อยกลับมาบ้านได้อย่างไร
 หนีมา  คนปล่อยมา  ปู่ไปช่วยมา
๗๖
แบบฝึกที่ ๓ การอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ
ชื่อ – สกุล .................................................................. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................. วันที่............เดือน...........................พ.ศ.............
กบเลือกนาย
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีกบฝูงหนึ่งอาศัยอยู่ในบึงใหญ่กลางป่า
พวกมันหวาดกลัวอันตรายจึงอยากได้นายไว้คุ้มครอง ดังนั้นจึงอ้อนวอนขอให้
เทวดาส่งนายมาให้ เทวดาเห็นใจจึงส่งท่อนไม้มาให้ กบทั้งหลายดีใจ แต่ต่อมา
ไม่นานนักพวกกบก็อยากได้นายใหม่ จึงขอร้องให้เทวดาส่งนายใหม่มาให้
เทวดาจึงส่งนกกระสามาจับกินกบจนหมด
เด็ก ๆ อ่านเรื่องแล้วเติมเลข ๑ – ๘ ใน  เพื่อเรียงลาดับเหตุการณ์
เทวดาให้ท่อนไม้แก่กบ
ต่อมากบอยากได้นายใหม่
นกกระสาจับกบกินทุกวันจนหมด
กบฝูงหนึ่งอาศัยอยู่ในบึงใหญ่
กบขอให้เทวดาส่งนายมาให้
ฝูงกบดีใจที่ได้ท่อนไม้
 เทวดาส่งนกกระสามาให้
กบอยากได้นายไว้คุ้มครอง
๗๗
แบบฝึกที่ ๔ การอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง กบเลือกนาย
แผนภาพโครงเรื่อง
เรื่อง
ตัวละคร ๑.
๒.
๓.
สถานที่
เหตุการณ์สาคัญ
ข้อคิด
๗๘
ชื่อ – สกุล ................................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน................................. วันที่............เดือน...........................พ.ศ.............
นายพรานกับไก่ฟ้า
นายพรานผู้หนึ่งขึงตาข่ายดักนกไว้ในป่า วันหนึ่งไก่ฟ้าบินมาติด
เพราะลงมากินข้าวที่นายพรานหว่านไว้ ไก่ฟ้าดิ้นเท่าไรก็ไม่หลุด จึงวิงวอน
ขอให้นายพรานปล่อยตนไป โดยสัญญาว่าจะไปลวงเพื่อนให้มาติดตาข่าย
ของนายพราน นายพรานโกรธที่ไก่ฟ้าเห็นแก่ตัวจึงเชือดคอไก่ฟ้าจนตาย
จากเรื่อง นายพรานกับไก่ฟ้า เด็ก ๆ มีความเห็นอย่างไรกับการกระทาของ
ไก่ฟ้าและนายพราน
๗๙
แบบฝึกที่ ๕ การอ่านร้อยแก้ว และการเขียนเรียงความ
ชื่อ – สกุล ...........................................................ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน..................................วันที่.........เดือน...................พ.ศ...............
เด็ก ๆ อ่านเรื่องต่อไปนี้แล้วเขียนเรื่องตามความคิดของเด็ก ๆ ให้จบเรื่อง
วันนี้เป็นวันหยุด หนูดีชวนน้องชาย คือเด่นมาเล่นเป็นนักเรียน
และมีหนูดีเป็นครูสอนหนังสือ หนูดีบอกให้เด่นอ่านหนังสือตาม
เด่นก็ไม่อ่าน หนูดีบอกให้เด่นเขียนหนังสือ เด่นก็ไม่เขียน หนูดี
โมโหน้อง เลยเลิกเล่นทิ้งเด่นไว้คนเดียว........................................
๘๐
แบบประเมินการอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ให้นักเรียนอ่านบทร้อยแก้วต่อไปนี้
ดอกไม้กับผีเสื้อ
พืชและดอกไม้ส่วนมากปรุงอาหารโดยการสังเคราะห์แสง
และให้กลิ่นหอมในตอนกลางวัน แต่มีดอกไม้บางชนิดที่ส่งกลิ่นหอม
ในยามค่าคืน ทาให้สัตว์ที่ออกหากินยามค่าคืนและชอบน้าหวานของ
ดอกไม้ รู้ที่มาของกลิ่น
ผีเสื้อกลางคืนก็เช่นกัน มันจะใช้หนวดนาทางหาแหล่งที่มา
ของกลิ่นดอกไม้เพื่อไปดูดน้าหวานเป็นอาหาร
เกณฑ์การประเมิน ๑๐ คะแนน
อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี ๒ คะแนน
การเว้นวรรคตอนถูกต้อง ๒ คะแนน
น้าเสียงเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน ๒ คะแนน
ไม่อ่านข้าม/อ่านเพิ่ม/ตู่คา ๒ คะแนน
อ่านเสียงดังเหมาะสม ๒ คะแนน
๘๑
ให้นักเรียนนาภาพต่อไปนี้ เขียนบรรยายภาพอย่างต่อเนื่อง
แบบประเมินการอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
เด็ก ๆ เลือกภาพต่อไปนี้เพียง ๑ ภาพ ตั้งชื่อเรื่องและเขียนเรื่องให้สอดคล้อง
กับภาพนะคะ
เรื่อง
๘๒
เกณฑ์การประเมิน ๑๐ คะแนน
ใช้ภาษากระชับ ชัดเจน ถูกต้องเหมาะสม ๒ คะแนน
ลาดับความคิด เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ๒ คะแนน
เขียนถูกต้องตามหลักเกณฑ์ภาษา ๒ คะแนน
เว้นวรรคตอนถูกต้อง ๒ คะแนน
สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย ๒ คะแนน
๘๓
แบบฝึกที่ ๑ การอ่านการเขียนร้อยกรอง
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
เด็ก ๆ อ่านคาคล้องจองตามตัวอย่างนะคะ
ตัวอย่างคาคล้องจอง
อะไรใน โถ ส้ม โอปอก
อะไรใน จอก ข้าว ตอกขวั้น
อะไรใน ขัน มะ ดันแช่
อะไรใน แคร่ ไหเหล้าไหยา
อะไรใน หญ้า จา ปาซ่อนกลิ่น
อะไรใน ดิน ขมิ้นเหลืองอ่อน
อะไรใน หมอน คา พรนอนหลับ
อะไรใน ตลับ คา ศัพท์ของครู
๘๔
แบบฝึกที่ ๒ การอ่านการเขียนร้อยกรอง
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
หาคาคล้องจองมาเติมในช่องว่าง
๑ ข้าวแดง ร้อน
๒ ต้มยา แกง
๓ ต้นร้าย ดี
๔ รักวัวให้ผูก รัก ให้ตี
๕ ปากไม่สิ้น น้านม
๘๕
แบบฝึกที่ ๓ การอ่านการเขียนร้อยกรอง
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
อ่านบทร้อยกรองแล้วคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด
พร้อมทั้งระบายสีภาพให้สวยงาม
นกเอ๋ยนกกระจาบ เห็นใบพงลงคาบค่อยเพียรขน
ค่อยสอดสอยด้วยจะงอยปากของตน ราวกับคนช่างพินิจคิดทารัง
๘๖
แบบฝึกที่ ๔ การอ่านการเขียนร้อยกรอง
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
อ่านบทร้อยกรอง เรื่อง ลูกหลานคนดี
ลูกหลานคนดี
พ่อลูกปู่ย่า แม่ลูกตายาย
ฉันสืบเชื้อสาย วงศ์ตระกูลมา
ฉันทาตัวดี ไม่มีชั่วช้า
เชิดชูหน้าตา เผ่าพงศ์วงศ์วาน
เมื่อฉันเติบใหญ่ จะได้มีหลัก
ความดีพร้อมพรัก มีการมีงาน
พ่อแม่ปู่ย่า ตายายเบิกบาน
เพราะว่าลูกหลาน ล้วนเป็นคนดี
๘๗
แบบฝึกที่ ๕ การอ่านการเขียนร้อยกรอง
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
อ่านบทร้อยกรองเรื่องลูกหลานคนดีแล้วให้เด็ก ๆ เขียนแผนผังความคิดว่า
จะทาอะไรบ้างเพื่อเชิดชูวงศ์ตระกูล
ความดีที่ฉันทาได้
เพื่อสืบสาย
วงศ์ตระกูล
๘๘
แบบฝึกที่ ๖ การอ่านการเขียนร้อยกรอง
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
อ่านบทร้อยกรอง เรื่อง หวานน้าดอกไม้
หวานน้าดอกไม้
หวานน้าดอกไม้ เอ๊ะอะไรเอ่ย
ชื่อแปลกจริงเอย ฉันเลยอยากรู้
แว่นแก้วคนเก่ง จึงเร่งสืบดู
หนังสือในตู้ ยายชูข้างบ้าน
ชื่อน้าดอกไม้ กินได้รสหวาน
หรือว่าน้าตาล หลานว่าไม่เกี่ยว
หยุดคิดเสียก่อน เมื่ออ่อนรสเปรี้ยว
มีใบสีเขียว ยาวเรียวพอควร
๘๙
รูปทรงกลมรี ผิวสีเหลืองนวล
มีอยู่ในสวน ชวนให้คิดค้น
เป็นต้นไม้ใหญ่ ปลูกได้ทุกคน
ผลดกมากล้น บนต้นมากมี
ชื่อน้าดอกไม้ กินได้ทั้งปี
รสเปรี้ยวยิ่งดี เริ่มมีหนทาง
ทาน้าปลาหวาน มีดฝานให้บาง
น้าจิ้มเคียงข้าง บ้างน้าลายสอ
แก่จัดรสหวาน ควานหาตะกร้อ
รีบสอยอย่ารอ พอบ่มไม่นาน
ข้าวเหนียวมูลมา จัดหาใส่จาน
ปอกเปลือกหั่นขวาง วางเรียงเคียงใกล้
๙๐
แว่นแก้ว โอ้โฮ ! ไชโย ! เสียงใส
มะม่วงนั่นไง น้าดอกไม้บ้านเรา
มะม่วงของดี บางพลีบ้านเก่า
รสหวานไม่เบา ชื่อเจ้าน้าดอกไม้
ของดีมีมาก จึงอยากฝากให้
ลูกหลานชาวไทย ใส่ใจรักษา
เกิดเป็นคนไทย ของไทยมีค่า
กินของไทยหนา พาชาติเจริญ
๙๑
แบบฝึกที่ ๗ การอ่านการเขียนร้อยกรอง
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
เด็ก ๆ เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากบทร้อยกรอง
เรื่อง หวานมะม่วงน้าดอกไม้
แผนภาพโครงเรื่อง
เรื่อง
ตัวละคร ๑.
๒.
๓.
สถานที่
เหตุการณ์สาคัญ
ข้อคิด
๙๒
แบบฝึกที่ ๘ การอ่านการเขียนร้อยกรอง
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
เด็ก ๆ สารวจผลไม้ในท้องถิ่นที่รับประทานได้แล้วเขียน บันทึก
บอกลักษณะ และรสชาติ รวมทั้งวิธีการรับประทาน
ได้อย่างไรบ้าง พร้อมทั้งวาดภาพประกอบระบายสีให้สวยงาม
๑.
๒.
๓.
๙๓
แบบประเมินการอ่านการเขียนร้อยกรอง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ให้นักเรียนอ่านบทร้อยกรองต่อไปนี้
หลักการอ่านทานองเสนาะ
หลักการอ่านทานองเสนาะนั้น
ที่สาคัญเอื้อนเสียงสาเนียงหวาน
ลงวรรคตอนถูกจังหวะรู้ประมาณ
ต้องเข้าใจหลักการอ่านให้ดี
ทาเสียงสูงต่าเข้าทานอง
คาคล้องจองสัมผัสจัดถูกที่
คาควบกล้า ร ล ก็ต้องดี
อ่านให้มีอารมณ์เหมาะสมเอย
สาลี รักสุทธี ประพันธ์
เกณฑ์การประเมิน ๑๐ คะแนน
อ่านออกเสียง ร ล และ คาควบกล้า ร ล ว ถูกต้อง ๒ คะแนน
เว้นวรรคตอนถูกต้อง ๒ คะแนน
น้าเสียงไพเราะ การเอื้อน ทอดเสียงถูกต้อง
ลีลา ท่าทางในการอ่านเหมาะสม ๒ คะแนน
ไม่อ่านข้าม/อ่านเพิ่ม/ตู่คา ๒ คะแนน
อ่านคล่องแคล่วและแม่นยา ๒ คะแนน
๒ คะแนน
๙๔
แบบประเมินการอ่านการเขียนร้อยกรอง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้ เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ตามลักษณะคาสัมผัสในบทร้อยกรอง
งาน ใหญ่ มือ หน้าที่ คล่อง ไป คน ดี
บทร้อยกรองเรื่อง ปิดเทอม
เรียนจบชั้น ป. สอง อ่านเขียน หนูดีใจ
พากเพียรเรียนต่อ ปิดเทอม หนูไม่ซน
ทุกวันอ่านหนังสือ คัดลาย หมั่นฝึกฝน
ช่วยงานในบ้านตน ช่วยทุก ทาความดี
เล่นบ้างเมื่อวาง ไม่เกียจคร้านทา
คุณครูว่าหนู เปิดเทอมนี้เก่งกว่าเดิม
เกณฑ์การให้คะแนน ๘ คะแนน
เติมคาถูกต้องให้ที่ละ ๑ คะแนน
๙๕
แบบฝึกที่ ๑ การเขียนบรรยายภาพ
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
ไก่ตื่นตอนแต่เช้าตรู่
๙๖
แบบฝึกที่ ๒ การเขียนบรรยายภาพ
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
ให้เด็ก ๆ ดูภาพแล้วนาคาที่กาหนดให้มาแต่งเป็นเรื่องตามภาพ
พร้อมทั้งระบายสีให้สวยงาม
กระดานดา เพื่อน ไม้กวาด ถังขยะ สะอาด โรงเรียน
เรื่อง
๙๗
แบบฝึกที่ ๓ การเขียนบรรยายภาพ
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
เด็ก ๆ อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วเขียนตัวเลข ๑– ๙ใน
หน้าข้อความเรียงตามลาดับเหตุการณ์ให้ถูกต้อง
เพราะจะได้พานักท่องเที่ยวชมสถานที่สาคัญต่าง ๆ ที่เขา
รู้จัก
ไก่อูเป็นเด็กที่ชอบอ่านหนังสือและเรียนเก่ง
วันนี้ความฝันของไก่อูก็เป็นจริงเมื่อเพื่อนของคุณพ่อ
เขาใฝ่ฝันอยากเป็นคนนาเที่ยว
จากภาคเหนือพาครอบครัวมาพักผ่อนตากอากาศที่บางปู
ไก่อูรีบอาสาพาเพื่อนคุณพ่อและครอบครัวไปเที่ยว
ตามสถานที่ต่าง ๆ
เขาเล่าเรื่องของสถานที่ที่ไปทุกแห่งด้วยความภูมิใจและ
ถูกต้อง
อยากได้คนพาไปเที่ยวเมืองโบราณ ฟาร์มจระเข้และ
สถานที่สาคัญในจังหวัด
ทุกคนชมว่าไก่อูเก่งมาก เป็นเจ้าของบ้านที่ดีและ
เป็นคนนาเที่ยวที่ดีด้วย
๙๘
แบบฝึกที่ ๔ การเขียนบรรยายภาพ
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
เด็ก ๆ จับคู่กับเพื่อนแต่งเรื่องจากคาและภาพที่กาหนดให้
เล่าให้เพื่อนฟัง และระบายสีภาพให้สวยงาม
โคม กระทง เดือนสิบสอง แขวน เทียน แม่น้า ดอกบัว สิ่งแวดล้อม
๙๙
แบบฝึกที่ ๕ การเขียนบรรยายภาพ
ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ..........
ให้เด็ก ๆ เขียนสิ่งที่สังเกตเห็นจากภาพให้มากที่สุด
๑๐๐
แบบประเมิน การเขียนบรรยายภาพ
นักเรียน ดูภาพแล้วเขียนบรรยายสิ่งที่เห็นในภาพให้เป็นเรื่องราวตามความคิด
แล้วระบายสีให้สวยงาม พร้อมทั้งตั้งชื่อเรื่อง
เกณฑ์การให้คะแนน ๑ คะแนน
ใช้ภาษากระชับ ชัดเจน ถูกต้องเหมาะสม ๒ คะแนน
ลาดับความคิด เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ๒ คะแนน
มีความคิดสร้างสรรค์ ๒ คะแนน
เขียนได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา ๒ คะแนน
สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย ๒ คะแนน
เรื่อง
๑๐๑
บทอาขยาน บทหลัก
เรื่อง ไก่แจ้
ผู้แต่ง หม่อมเจ้าประภากร ประเภทร้อยกรอง กลอนดอกสร้อยสุภาษิต
ไก่เอ๋ยไก่แจ้
ถึงยามขันขันแซ่กระชั้นเสียง
โก่งคอเรื่อยร้อยซ้องสาเนียง
ฟังเพลงบรรเลงวังเวงดัง
ถ้าตัวเราเหล่านี้หมั่นนึก
ถึงคุณครูผู้ฝึกสอนสั่ง
ไม่มากนักสักวันละสองครั้ง
คงตั้งแต่สุขทุกวันเอย
๑๐๒
คาศัพท์ คาอ่านและความหมาย
คา คาอ่าน ความหมาย
กระชั้น กระ - ชั้น ว.ใกล้เข้ามา, เร่ง
ไก่แจ้ ไก่ - แจ้ น.ชื่อไก่ชนิดหนึ่งตัวเล็กเตี้ย
ขัน ขัน ก.อาการร้องของไก่
ซ้อง ซ้อง ก.เสียงร้องพร้อม ๆ กัน
แซ่ แซ่ ก.เสียงอื้ออึงจนฟังไม่ได้ศัพท์
บรรเลง บัน - เลง ก.ทาให้เป็นเพลง(เสียงขันของไก่ดั่ง
เสียงเพลง)
วังเวง วัง - เวง ว.ลักษณะบรรยากาศที่น่าเปล่าเปลี่ยวใจ,
เงียบเหงา
สาเนียง สา - เนียง น.น้าเสียง, เสียง
หมั่น หมั่น ก.ทาหรือประพฤติให้ปรกติสม่าเสมอ,
เพียร, ขยัน
ความหมายสาคัญจากบทร้อยกรอง
ไก่แจ้ตัวเล็ก ๆ ขันได้ไพเราะและยังขยันขัน เราเป็นคนควรเอาอย่าง
พยายามนึกถึงแต่สิ่งที่ดี ๆ ที่ครูอบรมสั่งสอน ถ้าเราปฏิบัติตามคาสั่งสอนของครู
ย่อมพบแต่ความสุข ความเจริญ
๑๐๓
บทอาขยาน บทหลัก
เรื่อง รักษาป่า
ผู้แต่ง กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ประเภทร้อยกรอง กลอนสี่
นกเอยนกน้อยน้อย บินล่องลอยเป็นสุขศรี
ขนขาวราวสาลี อากาศดีไม่มีภัย
ทุกทิศเจ้าเที่ยวท่อง ฟ้าสีทองอันสดใส
มีป่าพาสุขใจ มีต้นไม้มีลาธาร
ผู้คนไม่มีโรค นับเป็นโชคสุขสาราญ
อากาศไร้พิษสาร สัตว์ชื่นบานดินชื่นใจ
คนสัตว์ได้พึ่งป่า มารักษาป่าไม้ไทย
สิ้นป่าเหมือนสิ้นใจ ช่วยปลูกใหม่ไว้ทดแทน
๑๐๔
คาศัพท์ คาอ่านและความหมาย
คา คาอ่าน ความหมาย
ชื่นบาน ชื่น - บาน ก.,ว. เบิกบาน, สาราญใจ
โชค โชก น.เคราะห์, คราวดี, คราวร้าย, ลาภ,
โดยมาใช้ในทางดี
ทดแทน ทด - แทน ก.ตอบแทน, ชดใช้
เที่ยวท่อง เที่ยว - ท่อง ก.เที่ยวไป, เดินทางชมถิ่นต่าง ๆ
พิษ พิด ก.ของร้าย, ความร้าย, สิ่งที่เป็นโทษ,
สิ่งที่เป็นอันตราย
โรค โรก น.ความป่วย, ความเจ็บป่วย, ความไข้
ล่องลอย ล่อง - ลอย ก.ปลิวเรื่อยไปตามลม
ลาธาร ลา - ทาน น.ทางน้าเล็กที่ไหลจากภูเขา
ศรี สี น.มิ่ง, มิ่งขวัญ, ความสง่า, แสง,
ความสุกใส, ความเจริญ
สาราญ สา - ราน ก.เบิกบาน, สุขกายสบายใจ, เบาใจ
สาลี สา - ลี น.ชื่อต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางชนิดหนึ่ง
มีใยมากและสีขาวสะอาด ฟอกแล้ว
ใช้จุ่มยาปิดแผล
สิ้นใจ สิ้น - ใจ ก.หมดลมหายใจ, ตาย
ความหมายสาคัญจากบทร้อยกรอง
นกน้อยตัวสีขาวบินท่องเที่ยวไปอย่างมีความสุข เพราะอากาศสดชื่น
ฟ้าแจ่มใส มีต้นไม้ มีแม่น้าลาธาร น้าใสสะอาด ผู้คนปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ทั้งนี้เพราะมีป่าไม้ ฉะนั้นโปรดช่วยกันดูแลรักษาและปลูกป่าทดแทน
๑๐๕
อ่านเพิ่มเติม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บทอ่านร้อยกรอง
บทกล่อมเด็ก และบทปลอบเด็ก
๑๐๖
บทกล่อมเด็ก
เจ้าทองดี
เจ้าทองดีเอย แม่จะพัดวีให้เจ้านอน
ทองดีเจ้าอย่าขี้อ้อน นอนเถิดนะพ่อคุณเอย
๑๐๗
นกเขาขันเอย
นกเขาเอย ขันอยู่แต่เช้าจนเที่ยง
พระสุริยาบ่ายเบี่ยง เที่ยงแล้วจงนอนเปลเอย
๑๐๘
นกเขาเถื่อน
นกเขาเถื่อนเอย ให้เจ้าอยู่เรือนเลี้ยงน้อง
แม่จะไปขายของ เลี้ยงน้องเถิดพ่อคุณเอย
๑๐๙
นกคลิ้งโคลง
นกคลิ้งโคลงเอย มันมาชิงโพรงนกเอี้ยง
เห็นเจ้าของเขามา มันกลับหันหน้ามาเถียง
ร้องอ้อยอิเอียงอิเอียง เถียงเจ้าของเขาเอย
๑๑๐
บทปลอบเด็ก
กุ๊กกุ๊กไก่
กุ๊กกุ๊กไก่
เลี้ยงลูกจนใหญ่ ไม่มีนมให้ลูกกิน
ลูกร้องเจี๊ยบเจี๊ยบ แม่ก็เรียกไปคุ้ยดิน
ทามาหากิน ตามประสาไก่เอย
๑๑๑
๑๑๒
ตั้งไข่
ถ้าตั้งไข่ล้ม จะต้มไข่กิน
ไข่พลัดตกดิน ใครอย่ากินไข่เน้อ
๑๑๓
โยกเยก
โยกเยกเอย
น้าท่วมถึงเมฆ กระต่ายลอยคอ
อ้ายหมาหางงอ กอดคอโยกเยก
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้bn k
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์Kansinee Kosirojhiran
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2Aunop Nop
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3Kansinee Kosirojhiran
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...Prachoom Rangkasikorn
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 
แบบฝึกหัดอาเซียน
แบบฝึกหัดอาเซียนแบบฝึกหัดอาเซียน
แบบฝึกหัดอาเซียน
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้มาตราตัวสะกด แม่กก  สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
มาตราตัวสะกด แม่กก สำหรับนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
มาตรแม่กก ป2
มาตรแม่กก ป2มาตรแม่กก ป2
มาตรแม่กก ป2
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง แรง ความดัน+ป.5+273+dltvsci...
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
 

Viewers also liked

แบบฝึกอ่านคำบัญชีพื้นฐานป2
แบบฝึกอ่านคำบัญชีพื้นฐานป2แบบฝึกอ่านคำบัญชีพื้นฐานป2
แบบฝึกอ่านคำบัญชีพื้นฐานป2Ya Amon
 
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลง
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลงแบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลง
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลงสวิง หน่อแก้ว
 
คำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติการสอน 1/2559
คำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติการสอน 1/2559คำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติการสอน 1/2559
คำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติการสอน 1/2559ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4Chutima Muangmueng
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพRung Kru
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (18)

แบบฝึกอ่านคำบัญชีพื้นฐานป2
แบบฝึกอ่านคำบัญชีพื้นฐานป2แบบฝึกอ่านคำบัญชีพื้นฐานป2
แบบฝึกอ่านคำบัญชีพื้นฐานป2
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๒
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๒แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๒
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๒
 
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลง
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลงแบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลง
แบบฝึกการอ่านบทร้อยกรองประเภทโคลง
 
คำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติการสอน 1/2559
คำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติการสอน 1/2559คำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติการสอน 1/2559
คำสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติการสอน 1/2559
 
แบบฝึก
แบบฝึกแบบฝึก
แบบฝึก
 
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similar to ฝึกอ่าน ป.2

แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓daranee14
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...Kruthai Kidsdee
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
บทคัดย่อ ปี ๕๖
บทคัดย่อ ปี ๕๖บทคัดย่อ ปี ๕๖
บทคัดย่อ ปี ๕๖Nirut Uthatip
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
บทนำการเขียนอัตราส่วน
บทนำการเขียนอัตราส่วนบทนำการเขียนอัตราส่วน
บทนำการเขียนอัตราส่วนKruaonPW
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่jintanasuti
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความKo Kung
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯsompoy
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่jintanasuti
 

Similar to ฝึกอ่าน ป.2 (20)

แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
1
11
1
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
บทคัดย่อ ปี ๕๖
บทคัดย่อ ปี ๕๖บทคัดย่อ ปี ๕๖
บทคัดย่อ ปี ๕๖
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
015
015015
015
 
บทนำการเขียนอัตราส่วน
บทนำการเขียนอัตราส่วนบทนำการเขียนอัตราส่วน
บทนำการเขียนอัตราส่วน
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๑แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๑
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
บทคัดย่อการอ่านสามหมู่
 

ฝึกอ่าน ป.2

  • 1. แบบฝึกทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ กลุ่มงานนิเทศติดตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต ๔ เอกสารหมายเลข ๒๕/๒๕๕๑
  • 2. ๑ คานา การอ่านและการเขียนเป็นทักษะที่สาคัญจาเป็นยิ่งในการศึกษาเล่าเรียนและ การดารงชีวิตประจาวัน ผู้มีทักษะการอ่านและการเขียนดีย่อมสามารถได้ประโยชน์สูงสุดจากการ อ่านและเขียน สามารถสื่อสาร แสดงความต้องการของตนให้ผู้อื่นรับทราบได้อย่างดี กระทรวงศึกษาธิการ จึงกาหนดให้ การอ่านออกเขียนได้ เป็นนโยบายสาคัญ เร่งด่วนที่ทุกเขต พื้นที่ต้องดาเนินการ ซึ่งสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา อุบลราชธานีเขต ๔ ได้มอบหมายให้ นายปิยะศักดิ์ สินทรัพย์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ และคณะทางานซึ่งประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์ และครู ที่มีความรู้ ความสามารถ ในการสอนภาษาไทย รับผิดชอบดาเนินการ โดยคณะทางานจัดทาชุดฝึกแก้ปัญหาการอ่าน ๔ ชุดได้แก่ ชุดรู้รูป ชุดสรุปคา ชุดนาประโยคเรียนรู้ และชุดสู่การอ่านอย่างสร้างสรรค์ และทุกโรงเรียนได้นาไปใช้ในการแก้ปัญหาการอ่าน เพื่อ เสริมสร้าง ให้นักเรียนมีพัฒนาการ ในการอ่านและเขียนอย่างต่อเนื่อง จึงจัดทาชุดพัฒนาทักษะการ อ่านคล่อง เขียนคล่อง ระดับช่วงชั้นที่ ๑และ ๒ ขึ้น โดยในช่วงแรกจัดทาจานวน ๓ ชุดได้แก่ ชุดฝึกทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ชุดฝึกทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ชุดฝึกทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ชั้นประถมศึกษาปีที่๔ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา อุบลราชธานีเขต ๔ ขอขอบคุณคณะทางานทุกท่านที่ ทุ่มเท กาลังความรู้ ความคิด และสติปัญญา จนเกิดชุดฝึกทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่องนี้ขึ้น และ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ครูผู้สอนภาษาไทย จะนาไปใช้ประกอบการเรียนการสอน เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อ ผู้เรียน นายโกวิท เพลินจิตต์ อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต ๔
  • 3. ๒ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑ แม่ ก. กา คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างทีละคา ตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๒.กะปิ ๔.ใบไม้ ๕.โมโห ๓.กะสา ๖.จริยะ ๑.กระเพรา ๑๐.ไกว ๗.อายุ ๘.ข้อต่อ ๙.ต่อมา
  • 4. ๓ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒ แม่ ก. กา คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๔.บ่อน้า ๕.ไถนา ๒.ขย้า ๓.ขยี้ ๖.ปลาทู ๑. ขณะ ๑๐.สีดา ๗.เสาไฟ ๘.ปลาร้า ๙.สีกากี
  • 5. ๔ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓ แม่ ก. กา คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๒. เจอะ ๔. เบาะ ๕.เบื่อ ๓. ชะนี ๑. จาปา ๑๐. โต ๗. เพลีย ๘. ภาษา ๙. แย่ ๖.เปรอะ
  • 6. ๕ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔ แม่ ก. กา คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๒. ชี้ ๔. ซอ ๕. ซ้า ๓. แช่ ๖.แซะ ๑. ช้า ๑๐. โต้ ๗. ใด ๘. ตู่ ๙. แตะ
  • 7. ๖ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๕ แม่ ก. กา คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๒.ท่อ ๔. ท้า ๕. นาที ๓. ท่า ๖. เน่า ๑. ถ้า ๑๐. ประจา ๗. บัว ๘. บ่า ๙. เบา
  • 8. ๗ แบบทดสอบที่ ๑ การอ่าน แม่ ก กา คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ใบไม้ ๒.กะปิ ๗.แตะ ๔.เปรอะ ๖.แซะ ๘. ซอ ๕.นาที ๙.ปลาทู ๓.บ่อน้า ๑๐.ขย้า เกณฑ์การประเมิน อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยให้ฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 9. ๘ แบบทดสอบที่ ๑ การเขียน แม่ ก กา คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง ๑.จริยะ ๒.สีกากี ๘.สีดา ๔.ปลาร้า ๖.ไถนา ๙.เสาไฟ ๕.โมโห ๗.ต่อมา ๓.ประจา ๑๐.ข้อต่อ เกณฑ์การประเมิน เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยให้ฝึกอ่านแล้วเขียนอีกครั้ง
  • 10. ๙ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๖ แม่ กง คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ก๋ง ๒.กระถาง ๔.ก้าง ๕.กาแพง๓.กอง ๕.กาแพง ๙.ขิง ๗.เก๋ง๖.กิ่ง ๘.ข้อง ๑๐.เข่ง
  • 11. ๑๐ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๗ แม่ กง คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.คง ๒.มอง ๔.โค้ง ๕.กาแพง๓.ค้าง ๕.งวง ๙.แจ้ง ๗.จัง๖.ง่วง ๘.จูง ๑๐.ซิ่ง
  • 12. ๑๑ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๘ แม่ กง คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ทุ่ง ๒.แทง ๔.แท้ง ๕.กาแพง๓.แท่ง ๕.ธง ๙.ท่อง ๗.แตง๖.บารุง ๘.เถียง ๑๐.มะม่วง
  • 13. ๑๒ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๙ แม่ กง คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.แบ่ง ๒.ดง ๔.เถียง ๕.กาแพง๓.แตง ๕.ท่อง ๙.ธง ๗.แท่ง๖.แทง ๘.แท้ง ๑๐.บารุง
  • 14. ๑๓ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๐ แม่ กง คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.มะเฟือง ๒.ระฆัง ๔.ระมัดระวัง ๕.กาแพง๓.ระเบียง ๕.ส่อง ๙.ตั้งใจ ๗.เจ้าของ๖.แข็งแรง ๘.เชื่อฟัง ๑๐.ตั้งแต่
  • 15. ๑๔ แบบทดสอบที่ ๒ แม่ กง คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.เถียง ๒.แท่ง ๓.ท่อง ๔.เก๋ง ๖.ค้าง ๕.ข้อง ๗.แจ้ง ๑๐.โค้ง ๘.ง่วง ๙.ท่อง เกณฑ์การประเมิน อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 16. ๑๕ แบบทดสอบที่ ๒ การเขียน แม่ กง คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทาละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง ๑.บารุง ๒.กาแพง ๓.กระถาง ๔.มะม่วง ๖.เจ้าของ ๕.เชื่อฟัง ๗.ตั้งแต่ ๑๐.มะเฟือง ๘.แท่ง ๙.เถียง เกณฑ์การประเมิน เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 17. ๑๖ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๑ แม่ กน คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ต้นทุเรียน ๒.ต้านทาน ๓.ทางาน ๔.เมื่อวาน ๕.โหนเชือก ๖.ลิ้นจี่ ๗.แดดร้อน ๙.ตื่นนอน ๑๐.ทานตะวัน ๘. เงินทอน
  • 18. ๑๗ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๒ แม่ กน คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ตู้เย็น ๒.ทาสวน ๓.ที่นอน ๔.เท่านั้น ๕.น้าเงิน ๖.มองเห็น ๗.เป็นมัน ๙.ประชาชน ๑๐.ป้องกัน ๘.น้าหวาน
  • 19. ๑๘ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๓ แม่ กน คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ผ้าปูที่นอน ๒.พักผ่อน ๓.เมื่อวาน ๔.ยินดี ๕.เวียนเทียน ๖.สนใจ ๗.สวนครัว ๙.หน้าร้อน ๑๐.หมู่บ้าน ๘.สินค้า
  • 20. ๑๙ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๔ แม่ กน คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.อ่อนเพลีย ๒.กลิ่น ๓.การ์ตูน ๔.ขน ๕.ขนุน ๖.เขยื้อน ๗.ดนตรี ๙.ถนน ๑๐.บริเวณ ๘.ตาบล
  • 21. ๒๐ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๕ แม่ กน คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ปฎิญาณ ๒.ประมาณ ๓.เปลี่ยน ๔.พรวน ๕.สงสาร ๖.สมบูรณ์ ๗.สหกรณ์ ๙.หมอน ๑๐.เหม็น ๘.สาคัญ
  • 22. ๒๑ แบบทดสอบที่ ๓ การอ่าน แม่ กน คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ต้นทุเรียน ๒.ต้นลาไย ๓.ตื่นนอน ๙.หมอน ๔.สวน ๕.ผ้าปูที่นอน ๖.เขยื้อน ๗.ขนุน ๘.ปฏิญาณ ๑๐.สหกรณ์ เกณฑ์การประเมิน อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 23. ๒๒ แบบทดสอบที่ ๓ การเขียน แม่ กน คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง ๑.ตู้เย็น ๒.ประชาชน ๓.สวนครัว ๙.หมู่บ้าน ๔.อ่อนเพลีย ๕.บริเวณ ๖.เหม็น ๗.หน้าร้อน ๘.น้ามัน ๑๐.ทานตะวัน เกณฑ์การประเมิน เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 24. ๒๓ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๖ แม่ กด คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ละเอียด ๒.ละมุด ๔.ทอดผ้าป่า๓.เตารีด ๖.บัดนี้๕.ที่สุด ๗.ผักกระเฉด ๙.ผู้ให้กาเนิด ๘.ผักกาด ๑๐.ฝึกหัด
  • 25. ๒๔ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๗ แม่ กด คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.แม่มด ๒.ไม้ขีด ๔.สดชื่น๓.รีดผ้า ๖.กวาด๕.สดใส ๗.เกลียด ๙.จรวด ๘.ขนาด ๑๐.จังหวัด
  • 26. ๒๕ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๘ แม่ กด คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ญาติ ๒.ตลอด ๔.ทิศ๓.ตลาด ๖.โทษ๕.เทศน์ ๗.พยาธิ ๙.มะกรูด ๘.พืช ๑๐.มะขวิด
  • 27. ๒๖ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๑๙ แม่ กด คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.มิตร ๒.เมตตา ๔.ละหมาด๓.เมล็ด ๖.สมมติ๕.สมบัติ ๗.หยอด ๙.หลอด ๘.หยุด ๑๐.หวัด
  • 28. ๒๗ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๐ แม่ กด คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.เหยียด ๒.เศรษฐี ๔.สัตว์๓.สมุด ๖.วิเศษ๕.หมด ๗.บรรทัด ๙.ชนิด ๘.จิ้งหรีด ๑๐.ชีวิต
  • 29. ๒๘ แบบทดสอบที่ ๔ การอ่าน แม่ กด คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.ละเอียด ๒.ผักกาด ๓.ผู้ให้กาเนิด ๔.สดชื่น ๕.จังหวัด ๗.เทศน์ ๖.หลอด ๙.หยอด ๘.เศรษฐี ๑๐.จิ้งหรีด เกณฑ์การประเมิน อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ ดี อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 30. ๒๙ แบบทดสอบที่ ๔ การเขียน แม่ กด คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง ๑.ทอดผ้าป่า ๒.ไม้ขีด ๓.มะกรูด ๔.เมตตา ๕.มะขวิด ๗.ตลอด ๖.บรรทัด ๙.ชนิด ๘.หยุด ๑๐.จรวด เกณฑ์การประเมิน เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ ดี เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 31. ๓๐ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๑ แม่ กบ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.กระสอบ ๒.เกือบ ๓.คาบ ๔.ตบ ๕.ตะเกียบ ๖.ประดับ ๘.เรียบ ๗.ระเบียบ ๑๐.สูบ ๙.สารับ
  • 32. ๓๑ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๒ แม่ กบ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.อบ ๒.กับข้าว ๓.ควบคุม ๔.เจ็บป่วย ๕.เก็บของ ๖.ตอบแทน ๘.นกกระจาบ ๗.เติบโต ๑๐.บังคับ ๙.นับถือ
  • 33. ๓๒ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๓ แม่ กบ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.พับเพียบ ๒.ยางลบ ๓.รับประทาน ๔.เรียบร้อย ๕.วาววับ ๖.อบรม ๘.อาบน้า ๗.อบอุ่น ๑๐.กราบ ๙.กรอบ
  • 34. ๓๓ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๔ แม่ กบ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.กลับ ๒.ก๋วยจั๊บ ๓.กุหลาบ ๔.เขยิบ ๕.ครบ ๖.ครอบ ๘.สาหรับ ๗.ตะครุบ ๑๐.หมอบ ๙.หนีบ
  • 35. ๓๔ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๕ แม่ กบ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.หลบ ๒.หลับ ๓.เหยียบ ๔.บีบ ๕.มอบ ๖.โอบล้อม ๘.กลบ ๗.แบบฝึกหัด ๑๐.สงบ ๙.ครับ
  • 36. ๓๕ แบบทดสอบที่ ๕ การอ่าน แม่ กบ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน ๑.สารับ ๙.แบบฝึกหัด ๒.เจ็บป่วย ๔.ตอบแทน ๗.ควบคุม ๖.รับประทาน ๕.ก๋วยจั๊บ ๘.โอบล้อม ๓.กับข้าว ๑๐.สงบ เกณฑ์การประเมิน อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 37. ๓๖ แบบทดสอบที่ ๕ การเขียน แม่ กบ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง ๑.กระสอบ ๙.ระเบียบ ๒.ตะเกียบ ๔.นับถือ ๗.ตะครุบ ๖.สาหรับ ๕.กุหลาบ ๘.เหยียบ ๓.เติบโต ๑๐.พับเพียบ เกณฑ์การประเมิน เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 38. ๓๗ แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๖ แม่ กม คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๒๗ ๖.ชม ๘.ทีม ๙.ประถม ๗.เดิม ๑.แก้ม ๒.คุ้ม ๓.ก้ม ๔.งม ๕.จิ้ม ๑๐.เทียม
  • 41. ๔๐ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๐ แม่ กม คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๖.หนุ่ม ๘.แหลม ๙.อิสลาม ๗.หลวม ๑.ความ ๒.เตรียม ๓.พร้อม ๔.พยายาม ๕.สนาม ๑๐.ออมสิน
  • 42. ๔๑ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบทดสอบที่ ๖ การอ่าน แม่ กม คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๖.แฟ้ม ๘.เข็มขัด ๙.แจ่มใส ๗.ร่วม ๑.ไอศกรีม ๒.ก้ม ๓.ขม ๔.ตอม ๕.ประชุม ๑๐.ดอกเข็ม
  • 43. ๔๒ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบทดสอบที่ ๖ การเขียน แม่ กม คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.แก้ม ๒.ทีม ๔.เทียม ๖.ส้วม ๓.เอี่ยม ๗.แกงส้ม ๘.สวยงาม ๕.ข้าวต้ม ๙.กล้าม ๑๐.เข็มขัด เกณฑ์การประเมิน อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยให้ฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 44. ๔๓ หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๑ แม่ เกอว คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.ประถม ๒.มูมมาม ๔.ออมสิน ๖.แจ่มใส ๓.อิสลาม ๗.เสียม ๘.ความ ๕.ประชุม ๙.ไอศกรีม ๑๐.หลวม เกณฑ์การประเมิน เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยให้ฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 45. ๔๔ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๒ แม่ เกอว คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.เขียว ๒. แนว ๓. ว่าว ๔.หิ้ว ๕.กางเกงขายาว ๖.แก้วน้า ๗.ข้าวเจ้า ๘.สาวสวย ๙.แวววาว ๑๐.เข้าแถว
  • 46. ๔๕ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๓ แม่ เกอว คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.เหี่ยว ๒. ชาวเขา ๓. ดวงดาว ๔.ใสแจ๋ว ๕.เกรียวกราว ๖.ชั่วคราว ๗.เดินแถว ๘.ดวงเดียว ๙.เดี๋ยวนี้ ๑๐.ดาวเรือง
  • 47. ๔๖ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๔ แม่ เกอว คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.ต้นมะนาว ๒.ตู้กับข้าว ๓.ถั่วเขียว ๔.ถั่วฝักยาว ๕.แพรวพราว ๖.ผ้าขี้ริ้ว ๗.ชาวสวน ๘.ลูกแก้ว ๙.ลูกสาว ๑๐.สีขาว
  • 48. ๔๗ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๕ แม่ เกอว คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.สีเขียว ๒.เสื้อแขนยาว ๓.หม้อขาว ๔.หาว ๕.ห่อข้าว ๖.ชาวนา ๗.เปรียว ๘.เปรี้ยว ๙.มะพร้าว ๑๐.หนาว
  • 49. ๔๘ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบทดสอบที่ ๗ การอ่าน แม่ เกอว คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.เหยี่ยว ๒.แวว ๓.นกแก้ว ๔.กล่าว ๕.คราว ๖.เหนียว ๗.ข้าวมันไก่ ๘.ดอกดาวเรือง ๙.เป็นสาว ๑๐.สาวสวย
  • 50. ๔๙ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบทดสอบที่ ๗ การเขียน แม่ เกอว คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.แก้วน้า ๙.นกแก้ว ๒.ชาวใต้ ๓.เดินแถว ๕.ลูกสาว ๔.หม้อหุงข้าว ๖.เปรี้ยว ๗.เสื้อแขนยาว ๑๐.เรื่องราว ๘.เหนียว เกณฑ์การประเมิน อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 51. ๕๐ หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๖ แม่ เกย คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.แจวเรือ ๙.ข้าวต้ม ๒.ชาวเขา ๓.ถั่วเขียว ๕.มะพร้าว ๔.พี่สาว ๖.ผ้าขี้ริ้ว ๗.เหยี่ยว ๑๐.เดี๋ยวนี้ ๘.แก้วน้า เกณฑ์การประเมิน เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 52. ๕๑ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๗ แม่ เกย คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.จ่าย ๒.เฉย ๓.ว่ายน้า ๔.ด้าย ๕.ถ่าย ๖.ทาย ๘.ฝ้าย๗.ท้าย ๑๐.คนขาย๙.เขียนไทย
  • 53. ๕๒ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๘ แม่ เกย คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.คนขายของ ๒.คนป่วย ๓.คนร้าย ๔.ค้าขาย ๕.ถ่าย ๖.ทาย ๘.ทุย๗.ท้าย ๑๐.รวย๙.เมื่อย
  • 54. ๕๓ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๓๙ แม่ เกย คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.ลอย ๒.อ้อย ๓.หงอยเหงา ๔.คนป่วย ๕.คนร้าย ๖.ค้าขาย ๘.ตอนสาย๗.ลอยไป ๑๐.เด็กชาย๙.ดอกบานไม่รู้โรย
  • 55. ๕๔ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๐ การอ่าน แม่เกย คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.ต้นน้อยหน่า ๒.แต่งกาย ๓.ทักทาย ๔.ทาลาย ๕.นัยน์ตา ๖.น้าอ้อย ๘.ผู้ร้าย๗.ผู้ช่วย ๑๐.พายเรือ๙.พวงมาลัย
  • 56. ๕๕ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบทดสอบที่ ๘ การอ่าน แม่ เกย คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.มากมาย ๒.ร้ายแรง ๓.ลอยกระทง ๔.ลูกเขย ๕.เล็กน้อย ๖.เส้นชัย ๘.ก๋วยเตี๋ยว๗.หายใจ ๑๐.คล้าย๙.ขโมย
  • 57. ๕๖ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบทดสอบที่ ๘ การเขียน แม่ เกย คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.จ่าย ๓.คนป่วย ๔.อ้อย ๕.แต่งกาย ๘.เด็กชาย ๗.ต้นน้อยหน่า ๖.ทักทาย ๙.มากมาย ๒.เมื่อย ๑๐.ก๋วยเตี๋ยว เกณฑ์การประเมิน อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 58. ๕๗ หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๑ แม่ กก คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑.เขียนไทย ๓.ค้าขาย ๔.เจ้าชาย ๕.นับร้อย ๘.พวงมาลัย ๗.ขโมย ๖.หายใจ ๙.คนร้าย ๒.คนขาย ๑๐.ห้อยขา เกณฑ์การประเมิน เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านแล้วเขียนอีกครั้ง
  • 59. ๕๘ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๒ แม่ กก คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑. กระดูก ๒.กระติก ๓.กระตุก ๔.โกหก ๕.แขก ๖.คางคก ๗.เค้ก ๘.งอก ๙.แบก ๑๐.ฝาก
  • 60. ๕๙ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๓ แม่ กก คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑. ฟอก ๒.ฟาก ๓.แยก ๔.เลิก ๕.ข้อศอก ๖.ขี้มูก ๗.ไข้เลือดออก ๘.จงรักภักดี ๙.ซุกซน ๑๐.ซักผ้า
  • 61. ๖๐ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๔ แม่ กก ๑. ดอกบัว ๒.ตกกล้า ๓.น้าตก ๔.บ้วนปาก ๕.เบิกบาน ๖.ปลาดุก ๗.ปากกา ๘.ปุ๋ยคอก ๙.ผักชี ๑๐.ผักบุ้ง
  • 62. ๖๑ คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบฝึกอ่านชุดที่ ๔๕ แม่ กก คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑. ปากกา ๒.ปุ๋ยคอก ๓.ผงซักฟอก ๔.ยากจน ๕.รู้สึก ๖.รู้จัก ๗.ลาบาก ๘.ลูกตา ๙.หน้ากาก ๑๐.กรอก
  • 63. ๖๒ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบทดสอบที่ ๙ แม่ กก คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ ๑. หมอก ๒.หมาก ๓.หยอก ๔.หลอก ๕.หมวก ๖.เหล็ก ๗.ถลก ๘.ผลัก ๙.แปลก ๑๐.พริก
  • 64. ๖๓ หมายเลขโดยพยายามออกเสียงให้ถูกต้องทีละคน แบบทดสอบที่ ๙ ฝึกเขียน แม่ กก คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขียนตามคาบอกข้างล่างนี้ทีละคาตามลาดับ หมายเลขโดยพยายามเขียนให้ถูกต้อง ๑.กระตุก ๒.เค้ก ๗.เหล็ก ๓.ไข้เลือดออก ๔.บ้วนปาก ๕.รู้สึก ๘.หยอก ๖.หมวก ๑๐.แปลก ๙.พริก เกณฑ์การประเมิน อ่านถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก อ่านถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี อ่านถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ อ่านถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านอีกครั้ง
  • 65. ๖๔ ๑.กระดูก ๒.ขี้มูก ๗.ปุ๋ยคอก ๓.ซักผ้า ๔.ดอกบัว ๕.ปลาดุก ๘.ยากจน ๖.เบิกบาน ๑๐.คางคก ๙.จงรักภักดี เกณฑ์การประเมิน เขียนถูกต้อง ๙-๑๐ คา ระดับ ๔ ดีมาก เขียนถูกต้อง ๗-๘ คา ระดับ ๓ ดี เขียนถูกต้อง ๖ คา ระดับ ๒ พอใช้ เขียนถูกต้อง ต่ากว่า ๖ คา ระดับ ๑ จะต้องปรับปรุงแก้ไข โดยฝึกอ่านแล้วเขียนอีกครั้ง
  • 66. ๖๕ แบบฝึกที่ ๑ การอ่าน การเขียนเป็นประโยค ชื่อ – สกุล............................................................ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน................................... วันที่.........เดือน....................พ.ศ............ ประโยค คือข้อความที่มีความหมายชัดเจน และบอกได้ว่า ใคร ทาอะไร ทาแก่ใคร เช่น พ่อปลูกต้นไม้ น้องกินข้าว นักเรียนเรียงคาต่อไปนี้ให้เป็นประโยคที่ถูกต้อง ๑ เกี่ยว ข้าว พี่ ๒ เยี่ยม มา ปู่ย่า ลูกหลาน ๓ ทะเล อยาก เที่ยว ฉัน ไป
  • 67. ๖๖ แบบฝึกที่ ๒ การอ่าน การเขียนเป็นประโยค ชื่อ – สกุล............................................................ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน................................... วันที่.........เดือน....................พ.ศ............ นักเรียนนาคาและกลุ่มคาที่กาหนดให้มาเรียนเป็นประโยค ๑. ดอกไม้ ไหว้ครู เรานาพาน ในวันครู ไป ๒. กิน วัว หนองน้า หญ้าปล้อง ใกล้ ๓. ตา ก่อนนอน ฉันชอบฟัง เล่านิทาน ๔. ไปจ่ายตลาด เช้าวันเสาร์ ดาวตามแม่ ๕. แวว ชอบ ในห้องสมุด อ่านหนังสือ
  • 70. ๖๙ แบบฝึกที่ ๕ การอ่าน การเขียนเป็นประโยค ชื่อ – สกุล............................................................ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน................................... วันที่.........เดือน....................พ.ศ............ นักเรียนนาคาที่กาหนดให้ ๒ คา มาแต่งประโยค ตัวอย่าง โรงเรียน - เช้า : นักเรียนไปโรงเรียนแต่เช้า ๑. ชาวนา – ควาย ๒. กับข้าว – ครัว ๓. หลังคา - นก ๔. ย่า – ตะกร้า ๕. รับบัว - หลวงพ่อโต
  • 71. ๗๐ แบบฝึกที่ ๖ การอ่าน การเขียนเป็นประโยค ชื่อ – สกุล............................................................ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน................................... วันที่.........เดือน....................พ.ศ............ นักเรียนเขียนคาจากภาพที่กาหนดให้แล้วนามาแต่งประโยค ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.
  • 72. ๗๑ แบบประเมินการอ่าน การเขียนเป็นประโยค ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ คาชี้แจง : ให้นักเรียนเรียงคาต่อไปนี้ให้เป็นประโยคที่ถูกต้องแล้วอ่าน ๑. อาศัย สัตว์น้า ปลาหมึก อยู่ ในทะเล เป็น ๒. ตื่นเต้น ที่ได้ เยี่ยม น้อง ดีใจ ไป คุณตา ๓. ไปเล่น ชอบ ที่ลาธาร เด็ก ๆ น้า ๔. คุณครู กระต่ายตื่นตูม เรื่อง นิทาน เล่า ๕. ในสวน ต้นไม้ คุณพ่อ อยู่ ปลูก หลังบ้าน เกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียนเป็นประโยค ระดับดีมาก : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้องครบ ๔ - ๕ ประโยค ระดับดี : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๓ ประโยค ระดับพอใช้ : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๒ ประโยค ระดับปรับปรุง : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๐ - ๑ ประโยค
  • 73. ๗๒ แบบประเมินการอ่าน การเขียนเป็นประโยค ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ คาชี้แจง : ให้นักเรียนแต่งประโยคจากคาที่กาหนดให้แล้วอ่าน หนังสือ ตลาด กรรไกร โรงเรียน เล่น ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. เกณฑ์การประเมินการอ่านและเขียนเป็นประโยค ระดับดีมาก : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้องครบ ๔ - ๕ ประโยค ระดับดี : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๓ ประโยค ระดับพอใช้ : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๒ ประโยค ระดับปรับปรุง : อ่านและเรียงคาเป็นประโยคได้ถูกต้อง ๐ - ๑ ประโยค
  • 74. ๗๓ แบบฝึกที่ ๑ การอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ ชื่อ – สกุล .................................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่............เดือน.........................พ.ศ............. เด็ก ๆ อ่านเรื่อง แม่ปูกับลูกปู แล้ววาดภาพตามความคิดระบายสี ให้สวยงาม วันหนึ่งซึ่งมีอากาศแจ่มใสปูสองตัวแม่ลูกขึ้นจากรูที่อาศัย แล้วพากันคลาน ไปตามหาดทราย “นี่แน่ลูก” แม่ปูเอ่ยขึ้นกับลูก “ เจ้าเดินไม่เป็นระเบียบเสียเลยนี่ เจ้าต้องเดินไปข้างหน้าให้ตรง ๆ ซี อย่าให้วกไปทางนั้น วกมาทางนี้ซิ” “ได้ซีแม่” ฝ่ายลูกปูตอบ “แต่แม่ต้องเดินให้ฉันดูเป็นตัวอย่างเสียก่อน แล้วฉันจะเดินตามแม่ เด็ก ๆ วาดภาพเรื่องแม่ปูกับลูกปู ตามความคิดของเด็ก ๆ เด็ก ๆ ได้ข้อคิดอะไรจากเรื่อง แม่ปูกับลูกปู
  • 75. ๗๔ แบบฝึกที่ ๒ การอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ ชื่อ – สกุล ..................................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน...................................... วันที่...........เดือน........................พ.ศ............. ตอบคาถามต่อไปนี้ ๑. ตัวละครเอกในเรื่องคืออะไร  แมงกะพรุน  คน  ปลาหมึก ๒. หมึกน้อยมีพี่น้องจานวนเท่าใด  หลายตัว  หลายร้อยตัว  หลายพันตัว ๓. พี่น้องของหมึกน้อยหายไปไหน  ย้ายไปอยู่ที่อื่น  ถูกคนจับไป  ป่วยตาย หมึกน้อยผู้ดื้อดึง ณ ท้องทะเลที่กว้างใหญ่ แม่ของหมึกน้อยออกลูกปลาหมึก พี่ ๆ น้อง ๆ ของหมึกน้อยมาหลายร้อยตัว ต่อมาถูกคนจับตัวไปจนลดน้อยลงทุกที ปู่หมึก จึงสอนหมึกน้อยว่า ถ้ากลางคืนเห็นแสงไฟอย่าไปใกล้ มันอันตราย แต่แล้วให้คืนหนึ่ง เมื่อแสงไฟสุกสว่างส่องลงมายังท้องทะเล ทาให้หมึกน้อย สนใจและอดสงสัยไม่ได้ จึงว่ายน้าเข้าไปใกล้ จนกระทั่งถูกคนจับตัวไป หมึกน้อย ทั้งตกใจ หวาดกลัว และคิดถึงแม่ทั้งคืน โชคดีที่เช้าวันรุ่งขึ้นมีผู้หญิงคนหนึ่งปล่อย หมึกน้อยกลับลงสู่ทะเล
  • 76. ๗๕ สมมติว่าเด็ก ๆ เป็นหมึกน้อย ให้เด็ก ๆ วาดภาพหมึกน้อยและเพื่อน ๆ ในท้องทะเลพร้อมระบายสีให้สวยงาม ตอบคาถามต่อนะคะ ๔.ข้อใดคือสาเหตุที่ทาให้หมึกน้อยถูกจับ  ซุกซน  ออกตามหาพี่น้อง  ดื้อดึงไม่เชื่อฟัง ผู้ใหญ่ ๕.หมึกน้อยกลับมาบ้านได้อย่างไร  หนีมา  คนปล่อยมา  ปู่ไปช่วยมา
  • 77. ๗๖ แบบฝึกที่ ๓ การอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ ชื่อ – สกุล .................................................................. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................. วันที่............เดือน...........................พ.ศ............. กบเลือกนาย กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีกบฝูงหนึ่งอาศัยอยู่ในบึงใหญ่กลางป่า พวกมันหวาดกลัวอันตรายจึงอยากได้นายไว้คุ้มครอง ดังนั้นจึงอ้อนวอนขอให้ เทวดาส่งนายมาให้ เทวดาเห็นใจจึงส่งท่อนไม้มาให้ กบทั้งหลายดีใจ แต่ต่อมา ไม่นานนักพวกกบก็อยากได้นายใหม่ จึงขอร้องให้เทวดาส่งนายใหม่มาให้ เทวดาจึงส่งนกกระสามาจับกินกบจนหมด เด็ก ๆ อ่านเรื่องแล้วเติมเลข ๑ – ๘ ใน  เพื่อเรียงลาดับเหตุการณ์ เทวดาให้ท่อนไม้แก่กบ ต่อมากบอยากได้นายใหม่ นกกระสาจับกบกินทุกวันจนหมด กบฝูงหนึ่งอาศัยอยู่ในบึงใหญ่ กบขอให้เทวดาส่งนายมาให้ ฝูงกบดีใจที่ได้ท่อนไม้  เทวดาส่งนกกระสามาให้ กบอยากได้นายไว้คุ้มครอง
  • 78. ๗๗ แบบฝึกที่ ๔ การอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง กบเลือกนาย แผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง ตัวละคร ๑. ๒. ๓. สถานที่ เหตุการณ์สาคัญ ข้อคิด
  • 79. ๗๘ ชื่อ – สกุล ................................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน................................. วันที่............เดือน...........................พ.ศ............. นายพรานกับไก่ฟ้า นายพรานผู้หนึ่งขึงตาข่ายดักนกไว้ในป่า วันหนึ่งไก่ฟ้าบินมาติด เพราะลงมากินข้าวที่นายพรานหว่านไว้ ไก่ฟ้าดิ้นเท่าไรก็ไม่หลุด จึงวิงวอน ขอให้นายพรานปล่อยตนไป โดยสัญญาว่าจะไปลวงเพื่อนให้มาติดตาข่าย ของนายพราน นายพรานโกรธที่ไก่ฟ้าเห็นแก่ตัวจึงเชือดคอไก่ฟ้าจนตาย จากเรื่อง นายพรานกับไก่ฟ้า เด็ก ๆ มีความเห็นอย่างไรกับการกระทาของ ไก่ฟ้าและนายพราน
  • 80. ๗๙ แบบฝึกที่ ๕ การอ่านร้อยแก้ว และการเขียนเรียงความ ชื่อ – สกุล ...........................................................ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน..................................วันที่.........เดือน...................พ.ศ............... เด็ก ๆ อ่านเรื่องต่อไปนี้แล้วเขียนเรื่องตามความคิดของเด็ก ๆ ให้จบเรื่อง วันนี้เป็นวันหยุด หนูดีชวนน้องชาย คือเด่นมาเล่นเป็นนักเรียน และมีหนูดีเป็นครูสอนหนังสือ หนูดีบอกให้เด่นอ่านหนังสือตาม เด่นก็ไม่อ่าน หนูดีบอกให้เด่นเขียนหนังสือ เด่นก็ไม่เขียน หนูดี โมโหน้อง เลยเลิกเล่นทิ้งเด่นไว้คนเดียว........................................
  • 81. ๘๐ แบบประเมินการอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ให้นักเรียนอ่านบทร้อยแก้วต่อไปนี้ ดอกไม้กับผีเสื้อ พืชและดอกไม้ส่วนมากปรุงอาหารโดยการสังเคราะห์แสง และให้กลิ่นหอมในตอนกลางวัน แต่มีดอกไม้บางชนิดที่ส่งกลิ่นหอม ในยามค่าคืน ทาให้สัตว์ที่ออกหากินยามค่าคืนและชอบน้าหวานของ ดอกไม้ รู้ที่มาของกลิ่น ผีเสื้อกลางคืนก็เช่นกัน มันจะใช้หนวดนาทางหาแหล่งที่มา ของกลิ่นดอกไม้เพื่อไปดูดน้าหวานเป็นอาหาร เกณฑ์การประเมิน ๑๐ คะแนน อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี ๒ คะแนน การเว้นวรรคตอนถูกต้อง ๒ คะแนน น้าเสียงเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน ๒ คะแนน ไม่อ่านข้าม/อ่านเพิ่ม/ตู่คา ๒ คะแนน อ่านเสียงดังเหมาะสม ๒ คะแนน
  • 82. ๘๑ ให้นักเรียนนาภาพต่อไปนี้ เขียนบรรยายภาพอย่างต่อเนื่อง แบบประเมินการอ่านร้อยแก้วและการเขียนเรียงความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เด็ก ๆ เลือกภาพต่อไปนี้เพียง ๑ ภาพ ตั้งชื่อเรื่องและเขียนเรื่องให้สอดคล้อง กับภาพนะคะ เรื่อง
  • 83. ๘๒ เกณฑ์การประเมิน ๑๐ คะแนน ใช้ภาษากระชับ ชัดเจน ถูกต้องเหมาะสม ๒ คะแนน ลาดับความคิด เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ๒ คะแนน เขียนถูกต้องตามหลักเกณฑ์ภาษา ๒ คะแนน เว้นวรรคตอนถูกต้อง ๒ คะแนน สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย ๒ คะแนน
  • 84. ๘๓ แบบฝึกที่ ๑ การอ่านการเขียนร้อยกรอง ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... เด็ก ๆ อ่านคาคล้องจองตามตัวอย่างนะคะ ตัวอย่างคาคล้องจอง อะไรใน โถ ส้ม โอปอก อะไรใน จอก ข้าว ตอกขวั้น อะไรใน ขัน มะ ดันแช่ อะไรใน แคร่ ไหเหล้าไหยา อะไรใน หญ้า จา ปาซ่อนกลิ่น อะไรใน ดิน ขมิ้นเหลืองอ่อน อะไรใน หมอน คา พรนอนหลับ อะไรใน ตลับ คา ศัพท์ของครู
  • 85. ๘๔ แบบฝึกที่ ๒ การอ่านการเขียนร้อยกรอง ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... หาคาคล้องจองมาเติมในช่องว่าง ๑ ข้าวแดง ร้อน ๒ ต้มยา แกง ๓ ต้นร้าย ดี ๔ รักวัวให้ผูก รัก ให้ตี ๕ ปากไม่สิ้น น้านม
  • 86. ๘๕ แบบฝึกที่ ๓ การอ่านการเขียนร้อยกรอง ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... อ่านบทร้อยกรองแล้วคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด พร้อมทั้งระบายสีภาพให้สวยงาม นกเอ๋ยนกกระจาบ เห็นใบพงลงคาบค่อยเพียรขน ค่อยสอดสอยด้วยจะงอยปากของตน ราวกับคนช่างพินิจคิดทารัง
  • 87. ๘๖ แบบฝึกที่ ๔ การอ่านการเขียนร้อยกรอง ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... อ่านบทร้อยกรอง เรื่อง ลูกหลานคนดี ลูกหลานคนดี พ่อลูกปู่ย่า แม่ลูกตายาย ฉันสืบเชื้อสาย วงศ์ตระกูลมา ฉันทาตัวดี ไม่มีชั่วช้า เชิดชูหน้าตา เผ่าพงศ์วงศ์วาน เมื่อฉันเติบใหญ่ จะได้มีหลัก ความดีพร้อมพรัก มีการมีงาน พ่อแม่ปู่ย่า ตายายเบิกบาน เพราะว่าลูกหลาน ล้วนเป็นคนดี
  • 88. ๘๗ แบบฝึกที่ ๕ การอ่านการเขียนร้อยกรอง ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... อ่านบทร้อยกรองเรื่องลูกหลานคนดีแล้วให้เด็ก ๆ เขียนแผนผังความคิดว่า จะทาอะไรบ้างเพื่อเชิดชูวงศ์ตระกูล ความดีที่ฉันทาได้ เพื่อสืบสาย วงศ์ตระกูล
  • 89. ๘๘ แบบฝึกที่ ๖ การอ่านการเขียนร้อยกรอง ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... อ่านบทร้อยกรอง เรื่อง หวานน้าดอกไม้ หวานน้าดอกไม้ หวานน้าดอกไม้ เอ๊ะอะไรเอ่ย ชื่อแปลกจริงเอย ฉันเลยอยากรู้ แว่นแก้วคนเก่ง จึงเร่งสืบดู หนังสือในตู้ ยายชูข้างบ้าน ชื่อน้าดอกไม้ กินได้รสหวาน หรือว่าน้าตาล หลานว่าไม่เกี่ยว หยุดคิดเสียก่อน เมื่ออ่อนรสเปรี้ยว มีใบสีเขียว ยาวเรียวพอควร
  • 90. ๘๙ รูปทรงกลมรี ผิวสีเหลืองนวล มีอยู่ในสวน ชวนให้คิดค้น เป็นต้นไม้ใหญ่ ปลูกได้ทุกคน ผลดกมากล้น บนต้นมากมี ชื่อน้าดอกไม้ กินได้ทั้งปี รสเปรี้ยวยิ่งดี เริ่มมีหนทาง ทาน้าปลาหวาน มีดฝานให้บาง น้าจิ้มเคียงข้าง บ้างน้าลายสอ แก่จัดรสหวาน ควานหาตะกร้อ รีบสอยอย่ารอ พอบ่มไม่นาน ข้าวเหนียวมูลมา จัดหาใส่จาน ปอกเปลือกหั่นขวาง วางเรียงเคียงใกล้
  • 91. ๙๐ แว่นแก้ว โอ้โฮ ! ไชโย ! เสียงใส มะม่วงนั่นไง น้าดอกไม้บ้านเรา มะม่วงของดี บางพลีบ้านเก่า รสหวานไม่เบา ชื่อเจ้าน้าดอกไม้ ของดีมีมาก จึงอยากฝากให้ ลูกหลานชาวไทย ใส่ใจรักษา เกิดเป็นคนไทย ของไทยมีค่า กินของไทยหนา พาชาติเจริญ
  • 92. ๙๑ แบบฝึกที่ ๗ การอ่านการเขียนร้อยกรอง ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... เด็ก ๆ เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากบทร้อยกรอง เรื่อง หวานมะม่วงน้าดอกไม้ แผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง ตัวละคร ๑. ๒. ๓. สถานที่ เหตุการณ์สาคัญ ข้อคิด
  • 93. ๙๒ แบบฝึกที่ ๘ การอ่านการเขียนร้อยกรอง ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... เด็ก ๆ สารวจผลไม้ในท้องถิ่นที่รับประทานได้แล้วเขียน บันทึก บอกลักษณะ และรสชาติ รวมทั้งวิธีการรับประทาน ได้อย่างไรบ้าง พร้อมทั้งวาดภาพประกอบระบายสีให้สวยงาม ๑. ๒. ๓.
  • 94. ๙๓ แบบประเมินการอ่านการเขียนร้อยกรอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ให้นักเรียนอ่านบทร้อยกรองต่อไปนี้ หลักการอ่านทานองเสนาะ หลักการอ่านทานองเสนาะนั้น ที่สาคัญเอื้อนเสียงสาเนียงหวาน ลงวรรคตอนถูกจังหวะรู้ประมาณ ต้องเข้าใจหลักการอ่านให้ดี ทาเสียงสูงต่าเข้าทานอง คาคล้องจองสัมผัสจัดถูกที่ คาควบกล้า ร ล ก็ต้องดี อ่านให้มีอารมณ์เหมาะสมเอย สาลี รักสุทธี ประพันธ์ เกณฑ์การประเมิน ๑๐ คะแนน อ่านออกเสียง ร ล และ คาควบกล้า ร ล ว ถูกต้อง ๒ คะแนน เว้นวรรคตอนถูกต้อง ๒ คะแนน น้าเสียงไพเราะ การเอื้อน ทอดเสียงถูกต้อง ลีลา ท่าทางในการอ่านเหมาะสม ๒ คะแนน ไม่อ่านข้าม/อ่านเพิ่ม/ตู่คา ๒ คะแนน อ่านคล่องแคล่วและแม่นยา ๒ คะแนน ๒ คะแนน
  • 95. ๙๔ แบบประเมินการอ่านการเขียนร้อยกรอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ให้นักเรียนนาคาที่กาหนดให้ เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ตามลักษณะคาสัมผัสในบทร้อยกรอง งาน ใหญ่ มือ หน้าที่ คล่อง ไป คน ดี บทร้อยกรองเรื่อง ปิดเทอม เรียนจบชั้น ป. สอง อ่านเขียน หนูดีใจ พากเพียรเรียนต่อ ปิดเทอม หนูไม่ซน ทุกวันอ่านหนังสือ คัดลาย หมั่นฝึกฝน ช่วยงานในบ้านตน ช่วยทุก ทาความดี เล่นบ้างเมื่อวาง ไม่เกียจคร้านทา คุณครูว่าหนู เปิดเทอมนี้เก่งกว่าเดิม เกณฑ์การให้คะแนน ๘ คะแนน เติมคาถูกต้องให้ที่ละ ๑ คะแนน
  • 96. ๙๕ แบบฝึกที่ ๑ การเขียนบรรยายภาพ ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... ไก่ตื่นตอนแต่เช้าตรู่
  • 97. ๙๖ แบบฝึกที่ ๒ การเขียนบรรยายภาพ ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... ให้เด็ก ๆ ดูภาพแล้วนาคาที่กาหนดให้มาแต่งเป็นเรื่องตามภาพ พร้อมทั้งระบายสีให้สวยงาม กระดานดา เพื่อน ไม้กวาด ถังขยะ สะอาด โรงเรียน เรื่อง
  • 98. ๙๗ แบบฝึกที่ ๓ การเขียนบรรยายภาพ ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... เด็ก ๆ อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วเขียนตัวเลข ๑– ๙ใน หน้าข้อความเรียงตามลาดับเหตุการณ์ให้ถูกต้อง เพราะจะได้พานักท่องเที่ยวชมสถานที่สาคัญต่าง ๆ ที่เขา รู้จัก ไก่อูเป็นเด็กที่ชอบอ่านหนังสือและเรียนเก่ง วันนี้ความฝันของไก่อูก็เป็นจริงเมื่อเพื่อนของคุณพ่อ เขาใฝ่ฝันอยากเป็นคนนาเที่ยว จากภาคเหนือพาครอบครัวมาพักผ่อนตากอากาศที่บางปู ไก่อูรีบอาสาพาเพื่อนคุณพ่อและครอบครัวไปเที่ยว ตามสถานที่ต่าง ๆ เขาเล่าเรื่องของสถานที่ที่ไปทุกแห่งด้วยความภูมิใจและ ถูกต้อง อยากได้คนพาไปเที่ยวเมืองโบราณ ฟาร์มจระเข้และ สถานที่สาคัญในจังหวัด ทุกคนชมว่าไก่อูเก่งมาก เป็นเจ้าของบ้านที่ดีและ เป็นคนนาเที่ยวที่ดีด้วย
  • 99. ๙๘ แบบฝึกที่ ๔ การเขียนบรรยายภาพ ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... เด็ก ๆ จับคู่กับเพื่อนแต่งเรื่องจากคาและภาพที่กาหนดให้ เล่าให้เพื่อนฟัง และระบายสีภาพให้สวยงาม โคม กระทง เดือนสิบสอง แขวน เทียน แม่น้า ดอกบัว สิ่งแวดล้อม
  • 100. ๙๙ แบบฝึกที่ ๕ การเขียนบรรยายภาพ ชื่อ – สกุล........................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน.................................... วันที่........เดือน......................พ.ศ.......... ให้เด็ก ๆ เขียนสิ่งที่สังเกตเห็นจากภาพให้มากที่สุด
  • 101. ๑๐๐ แบบประเมิน การเขียนบรรยายภาพ นักเรียน ดูภาพแล้วเขียนบรรยายสิ่งที่เห็นในภาพให้เป็นเรื่องราวตามความคิด แล้วระบายสีให้สวยงาม พร้อมทั้งตั้งชื่อเรื่อง เกณฑ์การให้คะแนน ๑ คะแนน ใช้ภาษากระชับ ชัดเจน ถูกต้องเหมาะสม ๒ คะแนน ลาดับความคิด เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ๒ คะแนน มีความคิดสร้างสรรค์ ๒ คะแนน เขียนได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา ๒ คะแนน สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย ๒ คะแนน เรื่อง
  • 102. ๑๐๑ บทอาขยาน บทหลัก เรื่อง ไก่แจ้ ผู้แต่ง หม่อมเจ้าประภากร ประเภทร้อยกรอง กลอนดอกสร้อยสุภาษิต ไก่เอ๋ยไก่แจ้ ถึงยามขันขันแซ่กระชั้นเสียง โก่งคอเรื่อยร้อยซ้องสาเนียง ฟังเพลงบรรเลงวังเวงดัง ถ้าตัวเราเหล่านี้หมั่นนึก ถึงคุณครูผู้ฝึกสอนสั่ง ไม่มากนักสักวันละสองครั้ง คงตั้งแต่สุขทุกวันเอย
  • 103. ๑๐๒ คาศัพท์ คาอ่านและความหมาย คา คาอ่าน ความหมาย กระชั้น กระ - ชั้น ว.ใกล้เข้ามา, เร่ง ไก่แจ้ ไก่ - แจ้ น.ชื่อไก่ชนิดหนึ่งตัวเล็กเตี้ย ขัน ขัน ก.อาการร้องของไก่ ซ้อง ซ้อง ก.เสียงร้องพร้อม ๆ กัน แซ่ แซ่ ก.เสียงอื้ออึงจนฟังไม่ได้ศัพท์ บรรเลง บัน - เลง ก.ทาให้เป็นเพลง(เสียงขันของไก่ดั่ง เสียงเพลง) วังเวง วัง - เวง ว.ลักษณะบรรยากาศที่น่าเปล่าเปลี่ยวใจ, เงียบเหงา สาเนียง สา - เนียง น.น้าเสียง, เสียง หมั่น หมั่น ก.ทาหรือประพฤติให้ปรกติสม่าเสมอ, เพียร, ขยัน ความหมายสาคัญจากบทร้อยกรอง ไก่แจ้ตัวเล็ก ๆ ขันได้ไพเราะและยังขยันขัน เราเป็นคนควรเอาอย่าง พยายามนึกถึงแต่สิ่งที่ดี ๆ ที่ครูอบรมสั่งสอน ถ้าเราปฏิบัติตามคาสั่งสอนของครู ย่อมพบแต่ความสุข ความเจริญ
  • 104. ๑๐๓ บทอาขยาน บทหลัก เรื่อง รักษาป่า ผู้แต่ง กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ประเภทร้อยกรอง กลอนสี่ นกเอยนกน้อยน้อย บินล่องลอยเป็นสุขศรี ขนขาวราวสาลี อากาศดีไม่มีภัย ทุกทิศเจ้าเที่ยวท่อง ฟ้าสีทองอันสดใส มีป่าพาสุขใจ มีต้นไม้มีลาธาร ผู้คนไม่มีโรค นับเป็นโชคสุขสาราญ อากาศไร้พิษสาร สัตว์ชื่นบานดินชื่นใจ คนสัตว์ได้พึ่งป่า มารักษาป่าไม้ไทย สิ้นป่าเหมือนสิ้นใจ ช่วยปลูกใหม่ไว้ทดแทน
  • 105. ๑๐๔ คาศัพท์ คาอ่านและความหมาย คา คาอ่าน ความหมาย ชื่นบาน ชื่น - บาน ก.,ว. เบิกบาน, สาราญใจ โชค โชก น.เคราะห์, คราวดี, คราวร้าย, ลาภ, โดยมาใช้ในทางดี ทดแทน ทด - แทน ก.ตอบแทน, ชดใช้ เที่ยวท่อง เที่ยว - ท่อง ก.เที่ยวไป, เดินทางชมถิ่นต่าง ๆ พิษ พิด ก.ของร้าย, ความร้าย, สิ่งที่เป็นโทษ, สิ่งที่เป็นอันตราย โรค โรก น.ความป่วย, ความเจ็บป่วย, ความไข้ ล่องลอย ล่อง - ลอย ก.ปลิวเรื่อยไปตามลม ลาธาร ลา - ทาน น.ทางน้าเล็กที่ไหลจากภูเขา ศรี สี น.มิ่ง, มิ่งขวัญ, ความสง่า, แสง, ความสุกใส, ความเจริญ สาราญ สา - ราน ก.เบิกบาน, สุขกายสบายใจ, เบาใจ สาลี สา - ลี น.ชื่อต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางชนิดหนึ่ง มีใยมากและสีขาวสะอาด ฟอกแล้ว ใช้จุ่มยาปิดแผล สิ้นใจ สิ้น - ใจ ก.หมดลมหายใจ, ตาย ความหมายสาคัญจากบทร้อยกรอง นกน้อยตัวสีขาวบินท่องเที่ยวไปอย่างมีความสุข เพราะอากาศสดชื่น ฟ้าแจ่มใส มีต้นไม้ มีแม่น้าลาธาร น้าใสสะอาด ผู้คนปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ทั้งนี้เพราะมีป่าไม้ ฉะนั้นโปรดช่วยกันดูแลรักษาและปลูกป่าทดแทน