SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
1
/
2การ
จูงใจ(Motiv
ation)
ยุทธนา พรหม
ณี
2
แรงจูงใจ (Motive)
 หมายถึง พลังในตัวบุคคลที่ทำาให้แสดง
พฤติกรรมในลักษณะที่มีเป้าหมาย
 แรงจูงใจนั้น จะเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบสำาคัญ
2 ประการ คือ
(1) เป็นกลไกที่ไปกระตุ้นพลังของร่างกายให้
เกิดการกระทำา
(2) เป็นแรงบังคับให้กับพลังของร่างกายเพื่อ
ที่จะกระทำาอย่างมีทิศทาง
3
การจูงใจ (Motivation)
กระบวนการที่บุคคลถูก กระตุ้น
จากสิ่งเร้าโดยจงใจ ให้กระทำา
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์บาง
อย่าง
4
ความสำาคัญของการจูงใจ
 พลัง (Energy) เป็นแรงขับเคลื่อนที่สำาคัญ
ต่อการทำางาน
 ความพยายาม (Persistence) ทำาให้บุคคล
มีความมานะ อดทน
 การเปลี่ยนแปลง (Variability) รูปแบบการ
ทำางานหรือวิธีทำางาน
 บุคคลที่มีแรงจูงใจในการทำางาน จะเป็น
บุคคลที่มุ่งมั่นทำางานให้เกิดความเจริญ
ก้าวหน้า
5
ประเภทของการจูงใจ
การจูงใจ
ภายใน
ความต้องการ
ความสนใจ
ทัศนคติ
การจูงใจ
ภายนอก
การให้รางวัล
การลงโทษ
การแข่งขัน
6
ที่มาของแรงจูงใจ
ความต้องการ (Need)
แรงขับ (Drives)
สิ่งล่อใจ (Incentives)
การตื่นตัว (Arousal)
การคาดหวัง (Expectancy)
การตั้งเป้าหมาย (Goal setting)
7
รูปแบบของแรงจูงใจ
 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (Achievement
Motive)
 แรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ (Affiliation Motive)
 แรงจูงใจใฝ่อำำนำจ (Power Motive)
 แรงจูงใจใฝ่ก้ำวร้ำว (Aggression Motive)
 แรงจูงใจใฝ่พึ่งพำ (Dependency Motive)
8
ผู้นำำกับกำรจูงใจในองค์กำร
กำรจูงใจด้วยรำงวัลตอบแทน
กำรจูงใจด้วยงำน
กำรจูงใจด้วยวัฒนธรรมของ
องค์กำร
9
หลีกเลี่ยงกำรใช้ตัวกระตุ้นที่อันตรำย
 อย่ำดูถูกผู้ใต้บังคับบัญชำเป็นอัน
ขำด
 อย่ำนินทำผู้ใต้บังคับบัญชำต่อ
หน้ำผู้อื่น
 อย่ำแสดงควำมเสน่หำหรือ
ลำำเอียง
 อย่ำให้รำงวัลแก่ควำมดีเล็กๆ
น้อยๆ
10
ทฤษฎีกำรจูงใจ
 ทฤษฎีควำมต้องกำรของ Maslow
 ทฤษฎี ERG ของ Alderfer
 ทฤษฎีควำมต้องกำร ของ
McClelland
 ทฤษฎีสองปัจจัย ของ Herzberg
 ทฤษฏี X และทฤษฏี Y ของ
McGregor
11
ทฤษฎีควำมต้องกำรของ Maslow
 สมมติฐำน : 4 ประกำร
เฉพำะควำมต้องกำรที่ยังไม่ได้รับกำรตอบ
สนองที่สำมำรถกระตุ้นกำรทำำงำนได้ ควำม
ต้องกำรที่ได้รับกำรตอบสนองแล้วจะไม่
สำมำรถจูงใจได้
ควำมต้องกำรของคนเรียงลำำดับตำมควำม
สำำคัญ
คนเรำจะต้องได้รับตอบสนองในลำำดับล่ำง
ก่อน
จึงจะมีควำมต้องกำรในขั้นสูงต่อไป
ถ้ำควำมต้องกำรที่ได้รับกำรตอบสนองแล้ว
หมดไปควำมต้องกำรนั้นจะกลับมำอีกครั้ง
12
ทฤษฎีลำำดับขั้นควำมต้องกำรของ Maslow
ควำมต้องกำรควำมสำำเร็จสูงสุด
ควำมต้องกำรเกียรติยศชื่อเสียง
ควำมต้องกำรมีส่วนร่วมทำงสังคม
ควำมต้องกำรควำมปลอดภัยและมั่นคง
ควำมต้องกำรทำงกำยภำพ, ชีวภำพ
อุดมก
ำรณ์
พรรค
นิยม
ใฝ่รัก
ปลอด
ภัย
1
2
3
4
5
13
1. ความต้องการพื้นฐานทางกายภาพ,
ชีวภาพ(Physiological Needs)
 เป็นความต้องการพื้นฐานเพื่อการอยู่
รอด เช่น
ปัจจัยสี่ (อาหาร, เครื่องนุ่งห่ม, ที่อยู่
อาศัย, ยารักษาโรค)
การขับถ่าย, การพักผ่อน
เรื่องเพศ เป็นต้น
 เงินเป็นตัวกลางในการได้มาซึ่งสิ่ง
จำาเป็นต่างๆ
14
2. ความต้องการความปลอดภัยและมั่นคง
(Security Needs)
 มนุษย์ต้องการอยู่ห่างจากอันตรายทั้งปวง
เช่น อุบัติเหตุ, โรคภัยไข้เจ็บ, โจรขโมย
เป็นต้น
 ความมั่นคงในอาชีพ
 มีการสนใจในหลักประกันมากขึ้น ดูจาก...
 ประกันภัยในรูปแบบต่างๆ (ด้านสุขภาพ,
อุบัติเหตุ และ ชีวิต)
 เงินสะสม หรือ บำาเหน็จบำานาญ เมื่อเกษียณ
อายุ
15
3. ความต้องการมีส่วนร่วมทางสังคม
(Social Needs)
ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและ
เป็นที่ยอมรับ รวมถึงความต้องการ
ในความรักใคร่ด้วย เช่น จากบิดา
มารดา สามีหรือภรรยา เพื่อนร่วม
งาน เป็นต้น
16
4. ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง
(Esteem Needs)
ความต้องการของบุคคลที่จะมี
คุณค่าในสายตาคนอื่น เช่น การได้
รับชื่อเสียง, การได้รับอำานาจ,ได้
รับความสนใจ, ถูกให้ความสำาคัญ,
การรู้สึกว่ามีคุณค่าสำาหรับโลกนี้
17
5. ความต้องการที่จะประสบความสำาเร็จสูงสุด
(Self-Actualization)
 ความต้องการความเจริญเติบโต และ
ความต้องการใช้ความสามารถอย่าง
เต็มที่ หรือ แนวโน้มที่บุคคลมีความ
ปรารถนาที่จะเป็นอย่างที่ตนเป็นมาก
ขึ้น สูงขึ้น โดยเป็นทุกสิ่งทุกอย่างที่เขา
สามารถจะเป็นได้
 *ความแตกต่างของบุคคลมีมากที่สุด
ที่ระดับนี้
18
ทฤษฎี ERG ของ
Alderfer
ได้ปรับปรุงทฤษฎีความต้องการของ
Maslow โดยมองว่า
มีความต้องการที่เกิดขึ้นได้มากกว่า 1 อย่าง
ในเวลาเดียวกัน
ถึงแม้ว่าความต้องการในขั้นที่สูงกว่าเกิดขึ้น
แล้วแต่ในขั้นที่ตำ่ากว่าก็ยังต้องการอยู่
แบ่งความต้องการใหม่ จาก 5 เหลือ 3 ข้อ
19
ทฤษฎี ERG ของ
Alderfer
 ความต้องการดำารงอยู่ (Existence Needs)
ต้องการมีชีวิตอยู่รอด รวมถึง ความเป็นอยู่ที่
ดี
 ความต้องการความสัมพันธ์ (Relation
Needs) เป็นความต้องการที่เน้นความ
สัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ ทางสังคม
 ความต้องการการเจริญเติบโต (Growth
Needs) เป็นความต้องการที่จะพัฒนาตัวเอง
20
ทฤษฎีสองปัจจัย ของ Herzberg
แบ่งปัจจัยในการทำางานออกเป็น
 ปัจจัยบำารุงรักษา (Hygiene Factors)
ปัจจัยที่สามารถขจัดความไม่พอใจของพนักงาน
ได้แต่ไม่สามารถจูงใจพนักงานได้ เช่น
นโยบายและการบริหาร การบังคับบัญชา
สภาพการทำางาน ค่าตอบแทน เป็นต้น
 ปัจจัยจูงใจ (Motivation Factors)
คือ ปัจจัยที่สามารถจูงใจให้พนักงานทำางานได้
เช่น ความสำาเร็จในงานที่ทำา การยอมรับ
ความท้าทายของงาน การเพิ่มงาน ฯลฯ
21
ทฤษฎีความต้องการ ของ McClelland
 ความต้องการของมนุษย์จะเกิดจากแรง
ขับภายใน และแบ่งความต้องการเป็น
3 กลุ่มคือ
ความต้องการความสำาเร็จในการทำางาน (The
need for Achievement: nAch) ต้องการ
ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
ความต้องการอำานาจ (The need for Power:
nPow) อยากควบคุมผู้อื่น
ความต้องการความสัมพันธ์ (The need for
Affiliation: nAff) เน้นความสัมพันธ์อันดี
22
ความ
สำาเร็จ
ยกย่อง
ร่างกาย
สังคม
ปลอดภั
ย
ความเจริญก้าวหน้า
ความสัมพันธ์
ความคงอยู่
ปัจจัยจูงใจ
ปัจจัยอนามัย
ความสำาเร็จ
อำานาจ
ความผูกพัน
Maslow ERG HerzbergMcClelland
23
ทฤษฏี X และทฤษฏี Y ของ McGregor
 ทฤษฎี X คือ การมอง
พนักงานในเชิงลบ
เช่น
คนเกียจคร้านไม่
ชอบทำางาน
มีความ
ทะเยอทะยานตำ่า
 จะต้องบังคับเพื่อให้
ทำางาน
 ทฤษฎี Y คือการมอง
พนักงานในแง่ดี เช่น
มีความรับผิดชอบ
คิดอย่างสร้างสรรค์
ควบคุมตนเองได้
 ใช้แรงจูงใจในการก
ระตุ้นการทำางาน
24

More Related Content

What's hot

โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) Sasichay Sritep
 
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์Nakhon Phanom University
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization CultureKomsun See
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำklarharn
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟThida Noodaeng
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรSirirat Pongpid
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝันWanlop Chimpalee
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาJack Hades Sense
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์Issara Mo
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 

What's hot (20)

โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization Culture
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝัน
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 

Viewers also liked

การส่งเสริมการตลาด
การส่งเสริมการตลาดการส่งเสริมการตลาด
การส่งเสริมการตลาดamp nittaya
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลetcenterrbru
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคUsableLabs
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 6 การส่งเสริมการขาย
บทที่ 6 การส่งเสริมการขายบทที่ 6 การส่งเสริมการขาย
บทที่ 6 การส่งเสริมการขายetcenterrbru
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00JeenNe915
 

Viewers also liked (7)

การส่งเสริมการตลาด
การส่งเสริมการตลาดการส่งเสริมการตลาด
การส่งเสริมการตลาด
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 6 การส่งเสริมการขาย
บทที่ 6 การส่งเสริมการขายบทที่ 6 การส่งเสริมการขาย
บทที่ 6 การส่งเสริมการขาย
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
 

ความต้องการ