SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
Download to read offline
คูมือเอกสารประกอบการเรียนการสอน
วิชาเคมี รหัสวิชา ว40233

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

11.1 พันธะของคารบอน
จุดประสงคการเรียนรู
1.อธิบายการเกิดพันธะของธาตุคารบอนและธาตุชนิดอืนในสารประกอบอินทรียได
่
2. อธิบายเหตุผลที่ทําใหมีสารประกอบอินทรียเปนจํานวนมากได
3. เขียนสูตรโครงสรางแบบตาง ๆ ไดแก ลิวอิส แบบยอ แบบผสม และแบบใชเสนและ
มุมของสารประกอบอินทรียชนิดตาง ๆ ได

สาระสําคัญ
นักวิทยาศาสตรแบงสารประกอบตามแหลงกําเนิดเปน 2 ประเภท คือ
1. สารอินทรีย (Organaic compound) หมายถึงสารที่มีคารบอนเปนองคประกอบหลัก ทั้ง
ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและจากการสังเคราะห ยกเวนสารจําพวก
- สารประกอบออกไซด เชน คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนอกไซด
- เกลือคารบอเนต ไฮโดรเจนคารบอเนต เชนโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต แคลเซียม
บอเนต
- เกลือคารไบด เชน แคลเซียมคารไบด
-เกลือไซยาไนด เชน แอมโมเนียมไซยาไนด
-สารประกอบคารบอนบางชนิด เชน คารบอนไดซัลไฟด คารบอนเตตระคลอไรด
คารบอนิลคลอไรดหรือฟอสจีน
- สารที่ประกอบดวยธาตุคารบอนเพียงชนิดเดียว เชนเพชร แกรไฟต ฟุลเลอรีน
2. สารอนินทรีย (Inorganic compound) หมายถึงสารประกอบอื่น ๆ ทีไมใชสารอินทรีย
่
เกิดจากสิ่งไมมีชีวิต (สินแร) ประกอบดวยธาตุจํานวนมาก

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
2

ตาราง 11.1 แสดงการเปรียบเทียบระหวางสารอินทรียและสารอนินทรีย
สมบัติ
1. แหลงกําเนิด
2.ธาตุที่เปนองคประกอบ

3. ชนิดของพันธะเคมี

สารอินทรีย
สวนใหญไดจากพืชและสัตว
สวนใหญเปนธาตุ C และ H
ธาตุอื่น ๆ เชน O , N , S , P ,
Cl , Br , I มีเปนสวนนอย
พันธะโคเวเลนต

สารอนินทรีย
ไดจากธรรมชาติ เชน หิน แร
ธาตุทุกชนิด

มีทั้งพันธะโคเวเลนตและพันธะ
ไอออนิก(สวนมากไอออนิก)
4. โครงสราง
สารบางชนิดมีสูตรโมเลกุล
สารชนิดหนึ่ง ๆ มีสูตร
เหมือนกัน แตอาจมีสมบัติและ โครงสรางเฉพาะ
สูตรโครงสรางแตกตางกัน
5. การละลายน้ํา
สวนมากไมละลายน้ํา ยกเวน สวนมากละลายน้ําไดดี
พวกโมเลกุลมีขั้วขนาดเล็ก ๆ
เชน แอลกอฮอล กรดอินทรีย
6. การนําไฟฟา
ไมนําไฟฟาหรือนําไฟฟาได
สวนใหญพวกที่ละลายน้ําจะนํา
ของสารละลาย (ในน้ํา) นอยมาก
ไฟฟาไดดีโดยเฉพาะ
สารประกอบไอออนิก
7. การละลายในตัวทําละลาย สวนมากละลายไดดี
สวนมากไมละลาย
อินทรีย
8. จุดหลอมเหลว จุดเดือด สวนมากคอนขางต่ํา
สวนมากคอนขางสูง
9. การเผาไหม
ติดไฟงายอาจจะมีเขมา ถาเกิด ติดไฟยาก ตองใชความรอนสูง
การเผาไหมทสมบูรณ จะได มากและเมื่อติดไฟแลวจะมีกาก
ี่
CO2 และ H2O เทานั้น
ของแข็งเหลืออยู
10. อัตราการเกิดปฏิกิริยา
เกิดคอนขางชา เพราะเปน
เกิดเร็ว สวนมากเปนปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาระหวางโมเลกุล
ระหวางไอออน
11. ตัวเรงปฏิกิริยา
สวนมากตองใช
สวนมากไมตองใช


หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
3

พันธะของคารบอน
คารบอนสามารถสรางพันธะกับธาตุอื่น ๆ และสรางพันธะกับคารบอนอะตอมดวยกัน
คารบอนสามารถสรางพันธะรอบอะตอมได 4 พันธะ เพราะมีเวเลนซอิเล็กตรอน = 4 จึงสามารถ
ใชอิเล็กตรอนรวมกับอะตอมอื่น ๆ อีก 4 อิเล็กตรอน พันธะรอบอะตอมคารบอนเปนไปได ดังนี้
C

C

C

C

คําถาม
1. พันธะระหวางธาตุคารบอนกับธาตุคารบอนมีกี่ประเภท อะไรบาง
ตอบ พันธะระหวางธาตุคารบอนกับธาตุคารบอนมี 3 ประเภท คือ พันธะเดียว พันธะคูและ
่

พันธะสาม
2. ธาตุคารบอนสรางพันธะกับธาตุอื่น ๆ นอกจาก ธาตุคารบอนหรือไม อยางไร
ตอบ ธาตุคารบอนสามารถสรางพันธะโคเวเลนตกับธาตุอื่น ๆได คือ
กับธาตุหมู 7 และไฮโดรเจน สรางพันธะเดี่ยว เชน C – H C – Cl
กับธาตุหมู 6 สรางพันธะเดียว หรือพันธะคู เชน C – O C = O
่
กับธาตุหมู 5 สรางพันธะเดียว พันธะคู พันธะสาม เชน C – N C = N C ≡ N
่
3. ธาตุที่เปนองคประกอบในสารประกอบอินทรียมีเพียงไมกี่ชนิด เหตุใดสารประกอบอินทรียจึงมี
จํานวนมากมาย
ตอบ เพราะธาตุคารบอนที่เปนองคประกอบหลักสามารถสรางพันธะกับธาตุคารบอนดวยกันได
และยังสามารถสรางพันธะกับธาตุอื่น ๆได
11.1.1 การเขียนสูตรโครงสรางของสารประกอบอินทรีย
สูตรโครงสรางของสารอินทรียแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
1. สารอินทรียที่มีสูตรโครงสรางแบบโซเปด ภายในโมเลกุลมีอะตอมของคารบอนตอกัน
เปนโซตรงหรือโซกิ่ง พันธะระหวางอะตอมของคารบอนอาจเปนพันธะเดี่ยว พันธะคู พันธะสาม
หรืออาจมีพันธะมากกวา 1 ชนิดก็ได
2. สารอินทรียที่มีโครงสรางแบบโซปดหรือแบบวง ภายในโมเลกุลมีอะตอมคารบอน
ตอกันเปนวง(เปนรูปเหลี่ยมตาง ๆ)
การเขียนสูตรโครงสรางของสารประกอบอินทรียสามารถเขียนไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับ
ความเหมาะสมในการใชและสภาพโมเลกุล ดังนี้

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
4

1. สูตรโครงสรางลิวอิส (Extended Structural Formula) หรือสูตรโครงสรางแบบเสน
เปนสูตรโครงสรางแบบสมบูรณ แสดงรายละเอียดของตําแหนงและชนิดพันธะทั้งหมดในโมเลกุล
เหมาะสําหรับการเขียนสูตรโครงสรางของสารประกกอบอินทรียที่มีขนาดเล็ก ตัวอยาง
สูตรโครงสรางโซตรง
H H
H H H O
H–C= C–H
H–C–C–C–C–O–H
H H H
สูตรโครงสรางโซกิ่ง
H

C

H

H

C

H

H

N

H

H

H

C

H

H

C

C

H
C

C

C

H

H
H

C

H

H

H

C

H

H

H

H

H

H
C

H

H

สูตรโครงสรางแบบวง
O
H

H

C
H

C

C

C

C

H

HH

H

C

H

H

H

2. สูตรโครงสรางแบบผสม หรือยอบางสวน (Partially Extended Structural Formula)
แสดงเฉพาะพันธะระหวางคารบอนกับคารบอน สวนพันธะระหวางคารบอนกับธาตุอื่นอาจจะ
แสดงหรือเขียนติดกับคารบอนนั้นก็ได ตัวอยาง
H H
H–C=C–H
เขียนเปน CH2 = CH2
H H H O
O
H–C–C–C–C–O–H
เขียนเปน CH3 - CH2 - CH2 – C - OH
H H H
หรือ
CH3 - CH2 -CH2 – COOH
H
H

C

H
C

H

H

H

C

C

C

C

H
H

H
C

H

H

H

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

H

H
C
H

CH3

H

เขียนเปน
รหัสวิชา ว40233

C

CH

CH3

CH2

CH

CH3

CH3

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
5

H

H
H
H

H
C

C

H

C

C

C

H H

H
H

H2C
H2C

เขียนเปน

H2
C

CH2

CH2

3. สู ต รโครงสร า งอย า งย อ (Condensed Structural Formula) หลั ก การเขี ย นสู ต ร
โครงสรางอยางยอ
3.1 เขียน C ตอเนื่องกันโดยไมตองแสดงพันธะแบบเสน(ยกเวนพันธะคูและพันธะสาม)
3.2 อะตอมของธาตุอื่นที่เกิดพันธะกับ C อะตอมใด ใหเขียนไวติดกับ C อะตอมนั้น
โดยไมแสดงพันธะ
3.3 ถาโครงสรางมีลักษณะซ้ํา ๆ กัน ใหใชวงเล็บแทนการเขียนทั้งหมด
3.4 ถาเปนโครงสรางแบบวง จะละไมเขียนแสดงอะตอมของ C ในวง และ H ที่เกาะ
ในวง แตอะตอมของธาตุอื่นจะเขียนไว
ตัวอยาง
CH3 - CH2 - CH2 - CH2 – CH = CH2 เขียนเปน CH3CH2CH2CH2CH=CH2
หรือ
CH3(CH2)3CH=CH2
O
เขียนเปน (CH3)2CH CH2CONH2
CH3 – CH - CH2 – C – NH2
CH3
หรือ
CH3CHCH2CONH2
CH3
H2C
H2C

O

O

CH2
CH2

เขียนเปน
4. สูตรโครงสรางแบบเสนและแบบมุม (Line-angle Drawing Structural Formula)
4.1 เขียนโดยใชเสนตรงแทนพันธะระหวางคารบอน
4.2 ถามีจํานวนคารบอนตอกันมากกวา 2 อะตอม ใหใชเสนตอกันแบบซิกแซกแทน
สายโซของคารบอน ที่ปลายเสนตรงและแตละมุมของสายโซ แทนอะตอมของคารบอนตออยูกับ
ไฮโดรเจนในจํานวนที่ทําใหคารบอนมีเวเลนซอิเล็กตรอนครบ 8

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
6

4.3 ถาในโมเลกุลมีหมูอะตอมแยกออกมาจากสายโซของคารบอน ใหลากเสนตอออก
จากสายโซ และใหจุดตัดของเสนแทนอะตอมของคารบอน
ตัวอยาง
CH2 = CH – CH2 –CH3

เขียนเปน

CH3
CH3

C

CH3

เขียนเปน

CH3
CH2

CH3

CH3

CH

CH

CH

CH3

C C CH2

เขียนเปน

CH3

CH

CH2

CH3

CH2

เขียนเปน

CH3

O

CH2

OH
เขียนเปน
การเขี ย นสู ต รโครงสร า งแบบต า ง ๆนั้ น เป น การแสดงการจั ด เรี ย งตั ว ของอะตอมที่
ประกอบเปนโมเลกุลในลักษณะ 2 มิติ แตในความเปนจริงอะตอมของธาตุในโมเลกุลมีการจัดเรียง
ตัวในลักษณะ 3 มิติ มีมุมพันธะที่แตกตางกัน พันธะรอบอะตอมคารบอนตองจัดเรียงตัวใหหาง
ที่สุด โดยโมเลกุลที่สรางพันธะเดี่ยวทั้งหมด เชน CH4 มุมพันธะประมาณ 109.5o รูปรางโมเลกุล
เปนทรงสี่หนา สรางพันธะคู 1 ตําแหนง เชน C2H4 มุมพันธะประมาณ 120o รูปรางโมเลกุลเปน
สามเหลี่ยมแบนราบ สรางพันธะสาม 1 พันธะ เชน C2H2 มุมพันธะเปน 180o รูปรางโมเลกุลเปน
เสนตรง ดังตาราง 11.2
CH2

CH

CH2

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

CH2

COOH

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
7

ตาราง 11.2 ตัวอยางสูตรโมเลกุล สูตรโครงสรางลิวอิส มุมพันธะ และแบบจําลองโมเลกุล 3 มิติ
ของสารประกอบอินทรียบางชนิด
สูตรโมเลกุล

โครงสรางลิวอิส

CH4

H
H

C

มุมพันธะ

แบบจําลอง 3มิติ(ภาพถาย)

~109.5o

H

H

H

C2H4

H
C

~120o

C

H

~120o
H

~120o

C2H2

H

C

C

H

H
H

H

H

C

C

C

H

C3H8

H

H

H

C6H6

H

~109.5o

H
C

H

180o

C

C

C
C

H

~120o
H

C
H

ที่มา:เซียดฟา เสรีรัตนเกียรติ 2550

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
8

แบบฝกหัด
1. จงเขียนสูตรโครงสรางลิวอิส แบบยอ และแบบเสนและมุมของสารประกอบตอไปนี้
สูตรโครงสรางลิวอิส

สูตรโครงสรางแบบยอ , เสนและมุม

H H H H H
H–C–C–C–C=C–H
H
H
H–C–H
H
2.
H H
H H
H–C–C–O–C–C–H
H H
H H
3.
H
H–C–H
H
H H H H H
H – C – C – C – C – C – C – C –H
H
H H H H H
H–C–H
H
4. H H H H H H H H H
H–C– C–C–C–N–C–C– C=C–H
H H H H
H H

(CH3)2CHCH2CH=CH2

1.

5.

H
H
H–C–H
H–C–H
H
H O H
H
H–C– C–C–C–C–C– C–H
H H H
H H H

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

CH3 CH2O CH2 CH3
O

(CH3)3C(CH2)4CH3

CH3(CH2)3NH(CH2)2CH=CH2
N

(CH3)2CH CH2CO CH2CH(CH3)2
O

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
9

6.

สูตรโครงสรางลิวอิส
H
H
H–C–HH–C–H
H
H H H
H–C– C
C–C–C= C–H
H
H H
H–C–H
H–C–H
H

7.

H
C C
C C
H H
H

H

8.

H
H
C
C
H

H

H O
C C C
H C
C
C C
H
H

H
C
H

สูตรโครงสรางแบบยอ , เสนและมุม
CH3 CH2C(CH3)2CH(CH3) CH2CH=CH2

H
C
H
H
H

C C
C C

CH(CH3)2

O
C

H
C H

O

H

9.
H

H

H3 C

H

H C C C C H
H

C

C
H

10.

C

C

COOH
O

O

O H

OH
CH2CH3

H H
H C HH H
C C C C H
C C
H H OH H
H

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

OH

OH

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
10

2. จงเขียนสูตรโครงสรางแบบผสม และแบบเสนและมุม จากสูตรโครงสรางอยางยอตอไปนี้
แบบยอ
1.(CH3)3C(CH2)3 CH3

2.(CH3)4C

3.CH3(CH2)2COCH2CH3

4.(CH3)3C CH2C≡C(CH2)2 CH3

5. COOCH2C(CH3)3

6.CH3CH2C(CH3)2 CH2CONH2

แบบผสม
CH3
CH3-C-CH2-CH2-CH2-CH3
CH3
CH3
CH3 – C – CH3
CH3
O
CH3-CH2-CH2-C-CH2-CH3
CH3
CH3-C-CH2-C≡C-CH2-CH2-CH3
CH3
CH2 CH2 O
CH3
CH2 CH-C-O-CH2-C-CH3
CH3
CH3 O
CH3-CH2-C-CH2-C-NH2
CH3

7.

OH
CH3CH=C(CH2CH3)CH(OH)CH2Br CH3 –CH=C-CH-CH2Br
CH2- CH3
8.

OH
COOH

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

แบบเสนและมุม

HC
HC

H
C
C
H

C
C

รหัสวิชา ว40233

OH
COOH

O

O
O
O
NH2

OH

Br

OH
OH
O

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
11

แบบยอ
9.

10.

O

CH2CH3

COOCH2CH3

แบบผสม
H2
C

O
H2C CH CH
3
H2C CH2
H2
COO-CH2-CH3
HC C CH
HC CH2
C
H2

แบบเสนและมุม
O

O
O

บันทึกเพิ่มเติม

ขอคิดเตือนใจ
“...วิถีชีวิตมนุษยนั้น จะใหมีแตความปกติสุขอยางเดียวไมได จะตองมีทุกข มีภัย มีอุปสรรคผาน
เขามาดวยเสมอ ยากจะหลีกเลี่ยงพน ขอสําคัญอยูที่ทุก ๆ คนจะตองเตรียมกายเตรียมใจ และ
เตรียมการไวใหพรอมทุกเวลา เพื่อเผชิญและแกไขความไมปกติเดือดรอนทั้งนั้น ดวยความไม
ประมาท ดวยเหตุผล ดวยหลักวิชา และดวยสามัคคีธรรม จึงจะผอนหนักใหเปนเบา และกลับราย
ใหเปนดี...”
พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปใหม
พุทธศักราช 2528
หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
12

11.1.2 ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
จุดประสงคการเรียนรู
1.เขียนไอโซเมอรโครงสรางของสารประกอบอินทรียได
2. ทําการทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการจัดเรียงอะตอมของคารบอนในสารประกอบ
อินทรียได
สาระสําคัญ
การที่สารอินทรียซึ่งเกิดจากธาตุเพียง 4 – 5 ชนิดมารวมกัน มีจํานวนมากมายรวมกันแลว
มากกวาสารอนินทรียทั้งหมด เนื่องจากธาตุคารบอนสามารถเกิดพันธะรวมกับธาตุคารบอนดวย
กันเองได โดยสามารถตอกันเปนสายยาวและสายมีสาขา และสารอินทรียที่มีจํานวนคารบอน
เทากันยังสามารถเขียนโครงสรางไดหลายแบบที่เรียกวาไอโซเมอร ซึ่งเปนอีกสาเหตุหนึ่งที่ทําให
สารอินทรียมีจํานวนมากมาย
ตาราง11.3 สมบัติบางประการของสารอินทรียที่มีสูตรโมเลกุล C4H10
๐

โครงสรางของสารประกอบ จุดหลอมเหลว ( C)
CH3 -CH2-CH2-CH3
CH3 –CH-CH3
CH3

-138.3
-159.4

๐

จุดเดือด ( C)
-0.5
-11.7

ความหนาแนนที่20๐C
(g/cm3)
0.573
0.551

ที่มา : หนังสือแบบเรียนสาระการเรียนรูพนฐานและเพิ่มเติม เคมี เลม 5 สถาบันสงเสริมการสอน
ื้
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2549 หนา 11
ไอโซเมอริซึม หมายถึงปรากฏการณที่สารอินทรียมีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แตมีสูตร
โครงสรางตางกัน ทําใหมีสมบัติบางประการแตกตางกัน ซึ่งอาจจะเปนสารประเภทเดียวกันหรือ
ตางชนิดกันก็ได
ไอโซเมอร หมายถึงสารอินทรียที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แตมีสตรโครงสรางตางกัน
ู

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
13

การทดลองที่ 11.1 การจัดตัวของคารบอนในสารประกอบไฮโดรคารบอน
วัตถุประสงค
1. ตอแบบจําลองแสดงโครงสรางของสารประกอบอินทรียแบบตาง ๆตามจํานวนอะตอม

ของคารบอนและไฮโดรเจนที่กําหนดใหได
2. เขียนโครงสรางลิวอิสของแตละไอโซเมอรได
3. อธิบายการเกิดไอโซเมอรและผลของการเกิดไอโซเมอรได
อุปกรณและสารเคมี
1. ชุดแบบจําลองโมเลกุล
วิธีทดลอง
ตอนที่ 1
1. ใชแบบจําลองอะตอมลูกกลมสีดําแทนคารบอนอะตอม สีขาวแทนไฮโดรเจนอะตอม
และใชกานพลาสติกแทนพันธะ
2. นําลูกกลมสีดําจํานวน 5 ลูกตอกันดวยกานพลาสติกใหไดโครงสรางเปนแบบโซตรง
แลวตอลูกกลมสีขาวเขากับปลายที่เหลือของคารบอน บันทึกผลการทดลองโดยเขียนเปนสูตร
โครงสรางแบบเสน
3. เปลี่ยนโครงสรางโมเลกุลในขอ 2 เปนแบบโซกิ่ง โดยใชลูกกลมและกานพลาสติกเทา
เดิม บันทึกผลโดยเขียนเปนสูตรโครงสรางแบบเสน

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
14

ผลการทดลอง
เมื่อนําลูกกลมพลาสติกตามจํานวนที่กําหนดใหมาตอกัน จะไดแบบจําลองโครงสราง
โมเลกุล ดังนี้
แบบที่
แบบจําลองโมเลกุล 3 มิติ (ภาพถาย)
สูตรโครงสรางลิวอิส
H H H H H
H C C C C C H
H H H H H

1

H H H H
H C C C C H
H H
H
H C H
H
H
H C H
H
H
H C C C H
H
H
H C H
H

2

3

คําถาม
1. เมื่อคารบอน 5 อะตอม สรางพันธะเดียวทั้งหมดแบบโซเปด จะตองใชไฮโดรเจนกี่อะตอมจึง
่
จะเปนไปตามกฎออกเตต และมีสูตรโมเลกุลเปนอยางไร
ตอบ ใชไฮโดรเจน 12 อะตอม มีสูตรโมเลกุลเปน C5H12
2. จากขอ 1 ไดสูตรโครงสรางที่ไมซ้ํากันกีแบบ
่
ตอบ มี 3 แบบ
3.สารที่มีสูตรโมเลกุลตามขอ 1 มีโครงสรางแบบวงหรือไม
ตอบ ไมมีสูตรโครงสรางแบบวง
หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
15

ตอนที่ 2
1. นําลูกกลมสีดํา 5 ลูกมาตอกันเปนแบบโซตรง โดยใหมีพันธะคูระหวางคารบอน
อะตอม 1 พันธะ แลวตอลูกกลมสีขาวเขากับปลายกานพลาสติกที่เหลือ บันทึกผลโดยเขียนเปน
สูตรโครงสรางแบบเสน
2. เปลี่ยนตําแหนงของพันธะคูใหอยูระหวางคารบอนอะตอมคูอื่น ๆ ที่ไมซ้ํากัน บันทึกผล
โดยเขียนเปนสูตรโครงสรางแบบเสน
3. ทําการทดลองเชนเดียวกับขอ 1 และ 2 แตตอเปนแบบโซกิ่ง โดยใชลูกกลมและกาน
พลาสติกเทาเดิม
ผลการทดลอง
เมื่อนําลูกกลมพลาสติกตามจํานวนที่กําหนดใหมาตอกัน จะไดแบบจําลองโครงสราง
โมเลกุล ดังนี้
แบบที่

แบบจําลองโมเลกุล 3 มิติ (ภาพถาย)

H H H H H
H C C C C C H
H H H

1

2

H

H
C
H

H
C

H
C

H
C
H

H
C
H

H

H H H H
H C C C C H
H
H C H
H

3

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

สูตรโครงสรางลิวอิส

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
16

แบบที่

แบบจําลองโมเลกุล 3 มิติ (ภาพถาย)

สูตรโครงสรางลิวอิส
H
H

C

H

4
H

H

C

C

H
H C
H
H

5

H
H

C

C

H

H H
H H
C C C H
H
C H
H

คําถาม
1. เมื่อคารบอน 5 อะตอม สรางพันธะคู 1 พันธะ และมีโครงสรางแบบโซเปด จะตองใชไฮโดรเจน
กี่อะตอมจึงจะเปนไปตามกฎออกเตต สูตรโมเลกุลเปนอยางไร
ตอบ ใชไฮโดรเจน 10 อะตอม มีสูตรโมเลกุลเปน C5H10
2. มีสูตรโครงสรางแบบโซเปดไมซ้ํากันไดกี่แบบ
ตอบ 5 แบบ
3. สารที่มีสูตรโมเลกุลดังกลาว มีสูตรโครงสรางแบบวงหรือไม ถามี ใหเขียนสูตรโครงสราง
ตอบ มีสูตรโครงสรางแบบวง 5 สูตรโครงสราง โดยคารบอนสรางพันธะเดียวทั้งหมด ดังนี้
่
H2C

H2
C

H2C

CH2

CH2

H2
C
H2C

H 2C

C

CH3
CH3

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

CH3

CH2

H2C CH
H2
C

CH3

CH
H2C CH

CH3

CH3
HC
H2C CH2

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
17

สรุปผลการทดลอง
1. เมื่อตอคารบอน 5 อะตอมดวยพันธะเดี่ยว จะสามารถตอกับไฮโดรเจน 12 อะตอม
ไดสูตรโครงสรางที่เปนโซเปดตางกัน 3 แบบ หรือ 3 ไอโซเมอร เกิดจากการเปลี่ยนตําแหนงของ
คารบอนจากโซตรงเปนโซกิ่ง
2. เมื่อตอคารบอน 5 อะตอมโดยใหมีพันธะคู 1 ตําแหนง จะสามารถตอกับไฮโดรเจน
10 อะตอม ไดสูตรโครงสรางที่เปนโซเปดตางกัน 5 แบบ หรือ 5 ไอโซเมอร เกิดจากการเปลี่ยน
ตําแหนงพันธะคูและตําแหนงของโซกิ่ง
3. ปรากฏการณที่สารมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแตสูตรโครงสรางตางกัน เรียกวา
ไอโซเมอริซึม และเรียกสารมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแตสูตรโครงสรางตางกันวาไอโซเมอร
ความรูเพิ่มเติม
วิธีเขียนไอโซเมอร
1. พิจารณากอนวาสารประกอบนั้นจัดเปนสารประเภทใดไดบาง เชน ถามีเฉพาะคารบอน
กับไฮโดรเจน แสดงวาเปนสารไฮโดรคารบอน ถามีธาตุคารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน
อาจเปนแอลกอฮอล อีเทอร คีโตน แอลดีไฮด กรดอินทรีย หรือเอสเทอรก็ได
2. เขียนไอโซเมอรของสารแตละชนิด แลวจึงนับจํานวนไอโซเมอรทั้งหมด
3. สารประกอบไฮโดรคารบอนที่คารบอนเกาะกันเปนโซเปด ใหเขียนไอโซเมอรจาก
คารบอนอะตอมที่ ตอกันเป นโซตรงยาวที่สุดกอน แลว จึงลดความยาวของคารบอนลงครั้งละ
1 อะตอม นํามาเขียนเปนโซกิ่ง โดยเขียนคารบอนโซกิ่งตรงตําแหนงคารบอนอะตอมที่สองกอน
(ในสายยาว) แลวจึงเลื่อนกิ่งไปที่ตําแหนงคารบอนถัดไปเรื่อย ๆ พรอมทั้งคอยตรวจดูโครงสรางที่
ซ้ํากันดวย (สลับขาง พลิกซายขวา หมุน) ในแตละครั้งใหพิจารณาไอโซเมอรที่เปนไปได แลวนํา
ทั้งหมดมารวมกัน
4. ถาคารบอนเกาะกันโดยมีพันธะคูหรือพันธะสามหรือหมูฟงกชัน การเปลี่ยนตําแหนง
ของพันธะ หรือหมูฟงกชัน จะทําใหไดสารที่เปนไอโซเมอรกัน
5. ถาคารบอนตอกันเปนวง ตองเริ่มจากวงที่เล็กสุดกอน คือ เริ่มจากคารบอน 3 อะตอม
กอน พิจารณาวาถา C 3 อะตอมตอเปนวงจะจัดเรียงไดกี่ไอโซเมอร แลวจึงเพิ่ม C เปน 4 , 5 ไป
เรื่อย ๆ จนไดวงที่ใหญที่สุดตามที่โจทยกําหนด แลวจึงเอามารวมกัน

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
18

ขอสังเกต
1. การพิจารณาวาสารคูใดเปนไอโซเมอรกันหรือไม ใหดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1.1 ใหพิจารณาในขั้นแรกกอนวาประกอบดวยธาตุอยางเดียวกันหรือไม ถาประกอบ
ดวยธาตุตางชนิดกันจะไมใชไอโซเมอร ถาประกอบดวยธาตุชนิดเดียวกันใหพิจารณาขั้นตอไป
1.2 พิจารณาสูตรโมเลกุลของสารดังกลาว ถาสูตรโมเลกุลตางกันจะไมใชไอโซเมอร
ถาสูตรโมเลกุลเหมือนกัน ใหพิจารณาขั้นตอไป
1.3 พิจารณาโครงสรางของโมเลกุล ถาสูตรโครงสรางเหมือนกัน จะเปนสารชนิด
เดียวกัน ไมใชไอโซเมอร ถาสูตรโครงสรางตางกัน จึงเปนไอโซเมอร
2. สารประกอบที่สามารถเปนไอโซเมอรกันได เมื่อมีจํานวนอะตอมของคารบอนเทากัน
ไดแก
- แอลกอฮอล กับ อีเทอร
สูตรทั่วไป CnH2n+2O
- กรดอินทรีย กับ เอสเทอร
สูตรทั่วไป CnH2nO2
- แอลดีไฮด กับ คีโตน
สูตรทั่วไป CnH2nO
- แอลคีน กับไซโคลแอลเคน
สูตรทั่วไป CnH2n
- แอลไคน กับไซโคลแอลคีนหรือไดอีน สูตรทั่วไป CnH2n-2
ประเภทของไอโซเมอร
ไอโซเมอรแบงเปนประเภทใหญได 2 ประเภท คือ structural isomer และ stereoisomer
ก. structural isomer เปนไอโซเมอรในแงโครงสราง หมายถึงสารอินทรียที่มีสูตรโมเลกุล
เหมือนกัน แตมีสูตรโมเลกุลตางกัน แบงเปนประเภทยอย ๆ ดังนี้
1. skeleton isomer หมายถึงไอโซเมอรที่มีการจัดเรียงโครงสรางหลักของคารบอน
อะตอมตางกัน
เชน
CH3-CH2-CH2-CH2-CH3
สูตรโมเลกุล C5H12
CH3-CH-CH2-CH3
สูตรโมเลกุล C5H12
CH3
CH3
CH3 – C - CH3
สูตรโมเลกุล C5H12
CH3

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
19

2. position isomer หมายถึงไอโซเมอรที่เกิดจากหมูฟงกชันมาตอกับอะตอมคารบอน
ของโครงสรางหลักในตําแหนงที่ตางกัน (สูตรโมเลกุลเหมือนกัน มีหมูฟงกชันชนิดเดียวกัน แต
ตําแหนงของหมูฟงกชันที่มาตออยูกับ C แตกตางกัน เปนสารประเภทเดียวกัน) เชน
สูตรโมเลกุล C3H8O
CH3-CH2-CH2-OH
CH3-CH-CH3
สูตรโมเลกุล C3H8O
OH
3. functional isomer หมายถึงไอโซเมอรที่มีหมูฟงกชนตางกัน ไอโซเมอรประเภทนี้
ั
เปนสารอินทรียตางชนิดกัน
CH3-CH2-CH2-OH
สูตรโมเลกุล C3H8O เปนแอลกอฮอล
CH3-CH2-O-CH3
สูตรโมเลกุล C3H8O เปนอีเทอร
4. metamer isomer เปนไอโซเมอรที่มีลักษณะคลายกับ position isomer เชน
CH3-CH2-O-CH2-CH3
สูตรโมเลกุล C4H10O
สูตรโมเลกุล C4H10O
CH3-O-CH2-CH2-CH3
ข. stereo isomer เปนไอโซเมอรในแงการจัดเรียงอะตอมในโมเลกุลเปนสามมิติ จึงทําให
มีสูตรโครงสรางที่ตางกัน แบงเปน ประเภทตาง ๆ เชน ไอโซเมอรชนิดโครงรูป(conformation
isomer) ไอโซเมอรเชิงเรขาคณิต (geometrical isomer ) ไอโซเมอรเชิงทัศนศาสตร(optical isomer)
ไอโซเมอรเชิงเรขาคณิต(geometrical isomer ) หรือ cis–trans isomer เปนไอโซเมอร
ที่เกิดกับสารประกอบแอลคีน หรือสารอินทรียที่คารบอน – คารบอน มีพันธะคู (C = C) อะตอม
หรื อ กลุ ม อะตอมหรื อ หมู ฟ ง ก ชั น ที่ ม าเกาะพั น ธะคู จ ะจั ด เรี ย งตั ว ตามแบบเรขาคณิ ต ที่ ต า งกั น
ไอโซเมอรประเภทนี้เมื่อเขียนสูตรโครงสรางทั่ว ๆ ไปจะเหมือนกัน เชน
CH3
CH3
C=C
เปน cis – isomer เรียกวา cis – 2 - butene
H
H
H
CH3
C=C
เปน trans – isomer เรียกวา trans – 2 - butene
H
CH3
cis- ใชกับไอโซเมอรที่มีกลุมอะตอมเหมือนกันอยูดานเดียวกันของระนาบ สวน transใช กับ ไอโซเมอรที่ ก ลุ ม อะตอมเหมื อนกัน อยู ต รงขา มกั น การที่ ทั้ ง สองมี สู ต รโครงสร า งเชิ ง
เรขาคณิตไมเเหมือนกับเนื่องจากมีพันธะคูซึ่งไมสามารถหมุนไดอยางอิสระ ถาหมุน C ตัวที่หนึ่ง
ไป C ตัวที่สองจะหมุนตามไปดวยเทากัน ดังนั้นจึงไมสามารถจัดลักษณะการเรียงอะตอมของสาร
หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
20

ทั้งสองใหเหมือนกัน หรือไมสามารถนํามาซอนกันสนิทเปนรูปเดียวกันได จึงจัดเปนไอโซเมอร
(แตถาเปนพันธะเดี่ยว ไมเปนไอโซเมอร เนื่องจาก C ที่ยึดกันดวยพันธะเดี่ยวสามารถที่จะหมุนได
รอบตัวเอง 360๐ จึงสามารถที่จะปรับรูปรางใหเหมือนกันเปนสารตัวเดียวกันได
แบบฝกหัด
1. จงเขียนไอโซเมอรทั้งหมดของสารไฮโดรคารบอนที่มีคารบอน 6 อะตอม เกาะกันดวยพันธะ
เดี่ยวทั้งหมด
1.1 โซตรง มี 1 ไอโซเมอร

1.2 โซกิ่ง มี 4 ไอโซเมอร

1.3 โซปด (แบบวง) มี 12 ไอโซเมอร

1.4 สูตรโครงสรางในขอ 1.1 1.2 และ 1.3 เปนไอโซเมอรกันทั้งหมดหรือไม
ตอบ ไมทั้งหมด 1.1 และ 1.2 เปนไอโซเมอรกัน เพราะมีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน คือ C6H14
สวน 1.3 ไมเปนไอโซเมอรกับ 1.1 และ 1.2 เพราะมีสูตรโมเลกุลตางกัน คือ C6H12

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
21

2. จงเขียนไอโซเมอรทั้งหมดของสารไฮโดรคารบอนที่มีคารบอน 6 อะตอม เกาะกันดวยพันธะคู
1 ตําแหนง และมีโครงสรางเปนโซเปด
2.1 โซตรง มี 3 ไอโซเมอร

2.2 โซกิ่ง มี 10 ไอโซเมอร

รวมทั้งหมด 13 ไอโซเมอร
3. สารคูใดเปนไอโซเมอรกัน ใสเครื่องหมาย หนาขอที่เปนไอโซเมอร เครื่องหมาย หนาขอ
ที่ไมเปนไอโซเมอร
,
-CH3
1. CH3 -C ≡ C-C=C=CH2
CH3
2. CH3 -CH2-CH- CH2-CH3
,
CH3 -CH2-CH-CH3
CH3
CH2-CH3
3.

-CH2-

,

-CH2-CH3

4.

,

5. CH3 O CH3

,

CH3 CH2CH=C CH2 CH3
CH3
CH3 CH2 COOH

6.
7. CH3 CH=CH(CH2)2C(CH3)3

,
,

(CH3)3C(CH2)2CH=CH CH3

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
22

O

8. CH3 CH2 CO(CH2)2 CH3
9. CH3(CH2)3CHO
10. CH3COOH
CH3

11.

,
,
,

CH2

CH3

CH CH3
CH3

(CH3 CH2)2CO
HCOO CH3
CH2

,

CH2

CH

CH2

CH3

CH3

CH2=CH

12.

CH3

CH=CH
CH3

13.

CH3

CH

,

CH3

CH3

CH3
CH2

CH2 CH3

,

CH2

CH2

CH2

CH3

CH2

CH2

14. CH3 CH2 CH = CH CH2 CH3

,

CH3(CH2)3CH = CH2

15. (CH3)3N

,

CH3NH CH2 CH3

บันทึกเพิ่มเติม

วิธีเรียนหนังสือใหเกง
“ตาดู หูฟง สมองคิด จิตใจจดจอ ไมเขาใจใหถาม กลับถึงบานทบทวนเสมอ”

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
23

11.2 หมูฟงกชัน
จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความหมายของหมูฟงกชันได
2. เรียกชื่อหมูฟงกของสารประกอบอินทรียชนิดตาง ๆได

3. จําแนกประเภทของสารประกอบอินทรีย โดยใชหมูฟงกชันและชนิดของธาตุที่เปน
องคประกอบเปนเกณฑ พรอมทั้งยกตัวอยางได
4. ทําการทดลองและอธิบายเกี่ยวกับสมบัติและปฏิกิริยาบางประการของเอทานอลและ
กรดแอซิติก รวมทั้งเขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได
สาระสําคัญ
การทดลอง 11.2 สมบัติบางประการของเอทานอลและกรดแอซิติก
วัตถุประสงค
1. ทําการทดลองเพื่อศึกษาสมบัติและปฏิกริยาของเอทานอลและกรดแอซิติกได
ิ
2. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได
อุปกรณและสารเคมี
อุปกรณ
1. หลอดทดลองขนาดเล็ก 4 หลอด
4. หลอดนําแกสและสายยาง 1 ชุด
2. หลอดทดลองขนาดกลาง 4 หลอด
5. หลอดหยด 3 อัน
3. จุกยางเจาะรู 1 รู
6. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 2 ใบ
สารเคมี
1. น้ํากลั่น
5. สารละลาย NaHCO3 0.5 mol/dm3
2. เอทานอล
6. สารละลาย Ca(OH)2 อิ่มตัว
3. กรดแอซิติกเขมขน
7. กระดาษลิตมัสสีน้ําเงินและสีแดง
4. โลหะโซเดียม
วิธีการทดลอง
1. ใสเอทานอล 10 หยด ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก เติมน้ํา 10 หยด เขยาและสังเกต
การละลาย ตอจากนั้นทดสอบดวยกระดาษลิตมัสทั้งสีแดงและสีน้ําเงิน

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
24

2. ใชคีมคีบโลหะโซเดียมที่ตัดเตรียมไวแลวขนาดเทาเมล็ดถั่วเขียว 1 ชิ้น ซับน้ํามันให
แหง แลวใสลงในหลอดทดลองขนาดเล็กที่มีเอทานอลอยูประมาณ 0.5 cm3 สังเกตการ
เปลี่ยนแปลง
3. เติมสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต 0.5 mol/dm3 2 cm3 ลงในหลอดทดลอง
ขนาดกลางที่มีเอทานอล 2 cm3 บรรจุอยู ปดดวยจุกที่มีหลอดนําแกสตอลงในหลอดทดลองที่มี
สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซดอยู 2 cm3 สังเกตการเปลี่ยนแปลง
4. ทําการทดลองตามขอ 1- 3 ซ้ํา โดยใชกรดแอซิติกแทนเอทานอล
น้ํา

น้ํา

เอทานอล

กรดแอซิติก
โลหะโซเดียม

น้ําปูนใส

น้ําปูนใส
เอทานอล + แคลเซียมไฮดรอกไซด

กรดแอซิติก + แคลเซียมไฮดรอกไซด

รูป 11.1 ภาพสรุปวิธีการทดลองสมบัติบางประการของเอทานอลและกรดแอซิติก
ที่มา : เซียดฟา เสรีรัตนเกียรติ 2550
ผลการทดลอง
สาร
การเปลี่ยนแปลง
การละลายน้ํา
การเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส
ปฏิกิริยากับโลหะโซเดียม
ปฏิกิริยากับ NaHCO3

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

เอทานอล
ละลาย
ไมเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส
เกิดฟองแกส
ไมเปลี่ยนแปลง

รหัสวิชา ว40233

กรดแอซิติก
ละลาย
เปลี่ยนสีน้ําเงินเปนสีแดง
เกิดฟองแกส
เกิดฟองแกส
สารละลาย Ca(OH)2 ขุน

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
25

สรุปผลการทดลอง
1. เอทานอลและกรดแอซิ ติ ก ละลายในน้ํ า ได แสดงว า สารทั้ ง สองชนิ ด เป น โมเลกุ ล
โคเวเลนตมีขั้ว
2. เอทานอลไมเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส แตกรดแอซิติกเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ําเงิน
เปนสีแดง แสดงวาเอทานอลไมแสดงสมบัติความเปนกรด-เบส สวนแอซิติกแสดงสมบัติเปนกรด
3. ทั้งเอทานอลและแอซิติกทําปฏิกิริยากับโลหะโซเดียมไดฟองแกสเกิดขึ้น แตกรด
แอซิติกทําปฏิกิริยากับโลหะโซดียมไดรุนแรงกวา
4. เอทานอลไมทําปฏิกิริยากับ NaHCO3 แตกรดแอซิติกทําปฏิกิริยากับ NaHCO3 ไดแกส
CO2 ทําใหสารละลาย Ca(OH)2 ขุน แสดงวากรดแอซิติกใหโปรตอนไดดีกวาเอทานอล
5. กลุมอะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะของเอทานอล คือ หมู – OH สวนกลุมอะตอมที่แสดง
สมบัติเฉพาะของกรดแอซิติก คือ หมู – COOH จึงทําใหสารทั้งสองชนิดแสดงสมบัติไดตางกัน
คําถามหลังการทดลอง
1.เอทานอลและกรดแอซิติกมีสมบัติเหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร เพราะเหตุใด
ตอบ ทั้งเอทานอลและกรดแอซิติกสามารถละลายน้ําได แสดงวาเปนโมเลกุลโคเวเลนตมีขั้ว แต
เอทานอลมีสมบัติเปนกลาง สวนแอซิติกมีสมบัติเปนกรด เนื่องจากเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสี
น้ํ า เงิ น เป น สี แ ดง เอทานอลทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ โลหะโซเดี ย มได เ ช น เดี ย วกั บ แอซิ ติ ก แต แ อซิ ติ ก
เกิดปฏิกิริยาไดดีกวา เอทานอลไมสามารถทําปฏิกิริยากับโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต แตแอซิติก
สามารถเกิด ปฏิกิ ริย าได แ ก สคาร บอนไดออกไซด ที่เ ปน เช น นี้ เพราะเอทานอลและแอซิติก มี
โครงสรางที่แตกตางกัน
2. เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาระหวางเอทานอลกับโลหะโซเดียม และกรดแอซิติกกับโลหะ
โซเดียม
ตอบ 2 CH3CH2OH +
2Na
2 CH3 CH2ONa + H2
2 CH3COOH +
2Na
2 CH3COONa + H2
3. เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาระหวาง กรดแอซิติกกับโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต
CH3COONa + H2O + CO2
ตอบ CH3COOH + NaHCO3
4. หมูฟงกชัน คืออะไร หมูฟงกชันของเอทานอลและกรดแอซิติก คืออะไร

ตอบ หมูฟงกชัน คือ กลุมอะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะของสารประกอบอินทรีย หมูฟงกชันของ
เอทานอล คือ หมูไฮดรอกซิล (-OH) แอซิติก คือ หมูคารบอกซิล (-COOH)

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
26

5. จากผลการทดลองที่ได สามารถนําไปใชประโยชนไดอยางไร
ตอบ ใชสมบัติและปฏิกิริยาของแอลกอฮอลและกรดอินทรียที่ไดในการทดสอบหรือตรวจสอบเพื่อ
จัดจําแนกวาสารใดจัดเปนสารใดจัดเปนแอลกอฮอลหรือกรดอินทรีย
ตาราง 11.4 แสดงหมูฟงกชนและประเภทของสารประกอบอินทรียที่มีหมูฟงกชันบางชนิด
 ั
หมูฟงกชัน
C=C
C≡C

ชื่อหมู
ฟงกชน
ั
พันธะคู
ระหวาง C
พันธะสาม
ระหวาง C

ประเภทสาร
ประกอบ
แอลเคน

CnH2n+2

แอลคีน

CnH2n

แอลไคน

CnH2n-2

แอลกอฮอล

R-OH

ฟนอล

Ar-OH
R-O-R/

-OH

ไฮดรอกซิล

-O-

ออกซี

อีเทอร

คารบอกซิล

กรดอินทรีย
หรือกรดคาร
บอกซิลิก

O
C OH
O
R C O

O
C H

O

- NH2
O
C

แอลคอกซีคารบอนิล
คารบอก
ซาลดีไฮด

เอสเทอร
แอลดีไอด

คารบอนิล

C

R

สูตรทั่วไป

NH2

คีโตน

อะมิโน

O
R C OH
O
R C O R/

O

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

เอไมด

อีไทน

CH≡CH

เอทานอล
ฟนอล

CH3-CH2-OH

เมทอกซีมีเทน
(ไดเมทิลอีเทอร)
กรดเอทาโนอิก
(กรดแอซิตก)
ิ

CH3-O-CH3

เมทิลเอทาโนเอต
(เมทิลแอซิเตต)
เอทานาล

O

R C R/

R-NH2
O
C

O
CH3 C OH

CH3

C

NH2

รหัสวิชา ว40233

O

CH3

O

โพรพาโนน

O

R

OH

CH3 C H

R C H

เอมีน

เอไมด

ตัวอยางสารประกอบ
ชื่อ
สูตรโครงสราง
มีเทน
CH4
อีทีน
CH2=CH2

O
CH3 C CH3

เมทานามีน
เมทานาไมด

CH3-NH2
O
H C NH2

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
27

การจําแนกสารอินทรียโดยใชหมูฟงกชันเปนเกณฑ ไดดังนี้
สารอินทรีย
ไฮโดรคารบอน (Hydrocarbon)

อนุพันธของไฮโดรคารบอน

อะลิฟาติก
อะลิไซคลิก อะโรมาติก
aliphatic
alicyclic
aromatic
hydrocarbon hydrocarbon hydrocarbon
แอลเคน
ไซโคลแอลเคน
แอลคีน
ไซโคลแอลคีน
แอลไคน ไซโคลแอลไคน

มีธาตุ O
มีธาตุ N มีธาตุ O , N
แอลกอฮอล ฟนอล
เอมีน
เอไมด
แอลดีไฮด คีโตน
กรดคารบอกซิลิก
เอสเทอร
อีเทอร

แบบฝกหัด
1. ใหระบุวาสารประกอบตอไปนี้เปนสารประกอบประเภทใด มีหมูฟงกชันชื่ออะไร

สูตรโครงสราง
CH3CH=C(CH3)2

ประเภทสารประกอบ

หมูฟงกชัน

แอลคีน

พันธะคู

CH3CH2CHNH2
CH3

เอมีน

อะมิโน

CH3 O

อีเทอร

ออกซี

กรดคารบอกซิลิก

คารบอกซิล

คีโตน

คารบอนิล

COOH
CH3

CH3CH2COCH3

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
28

สูตรโครงสราง

ประเภทสารประกอบ

หมูฟงกชัน

กรดคารบอกซิลิก

คารบอกซิล

CH3CH2CH2CH(CH2)2CH3
OH
O
CH3 -CH2-C-O-CH3

แอลกอฮอล

ไฮดรอกซิล

เอสเทอร

แอลคอกซีคารบอนิล

CH3 CH2CONH2

เอไมด

เอไมด

แอลไคน

พันธะสาม

O
OH

บันทึกเพิ่มเติม

“จิตที่คิดจะใหยอมอยูเปนสุข สวนจิตทีคิดจะเอายอมอยูเปนทุกข”
่
“กุศลเกิดจากคนทําดี คนจะดีเกิดจากจิตใจที่ดี”

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
29

11.3 สารประกอบไฮโดรคารบอน
จุดประสงคการเรียนรู
1. บอกความหมายและจําแนกประเภทของสารประกอบไฮโดรคารบอนได
2. เขียนสูตรทั่วไป สูตรโมเลกุลและสูตรโครงสราง พรอมทั้งเรียกชื่อแอลเคน แอลคีน
แอลไคนและไซโคลแอลเคนและไซโคลแอลคีนได
4. อธิบายความแตกตางระหวางไอโซเมอรโครงสรางกับไอโซเมอรเรขาคณิต
5. อธิบายสมบัติและการเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบไฮโดรคารบอนที่มีจํานวนอะตอม
ของคารบอนเทากันแตชนิดของพันธะในโมเลกุลตางกัน พรอมทั้งบอกเหตุผลได
6. ระบุ ชนิด ของไอโซเมอรเ รขาคณิตของสารประกอบแอลคีน ไดว า เปน แบบซี สหรื อ
ทรานส
7. อธิ บายแนวโนมความสัมพัน ธระหวางจุดหลอมเหลวและจุ ดเดือดของแอลเคน
ไซโคลแอลเคน แอลคีนและแอลไคนกับจํานวนอะตอมของคารบอนได
8. บอกประโยชนหรืออันตรายของไฮโดรคารบอนชนิดตางๆ ได
9. ทํ า การทดลองเพื่ อ เปรี ย บเที ย บสมบั ติ แ ละปฏิ กิ ริ ย าบางประการของสารประกอบ
ไฮโดรคารบอนประเภทตาง ๆ พรอมทั้งเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได
สาระสําคัญ
สารประกอบไฮโดรคารบอน หมายถึงสารประกอบอินทรียที่ประกอบดวยธาตุคารบอน
และไฮโดรเจนเทานั้น แบงตามลักษณะโครงสรางโมเลกุล จะได 3 ประเภท คือ
1. อะลิ ฟ าติ ก ไฮโดรคาร บ อน (Aliphatic Hydrocarbon) หมายถึ ง สารประกอบ
ไฮโดรคารบอนที่มีคารบอนอะตอมตอกันเปนสายแบบโซเปด (open chain) อาจตอกันเปนสาย
ยาว ไมมีกิ่ง เรียกวาโซตรง (straight chain) หรือตอกันเปนกิ่งกับคารบอนในสายยาว เรียกวา
โซกิ่ง (branch chain) อะลิฟาติกไฮโดรคารบอนแบงเปน 3 ประเภทตามชนิดของพันธะเคมี คือ
แอลเคน (alkane) ซึ่งมีพันธะเดี่ยว แอลคีน (alkene) มีพันธะคู และแอลไคน (alkyne) มีพันธะสาม
2. อะลิไซคลิกไฮโดรคารบอน (Alicyclic Hydrocarbon) หรือไฮโดรคารบอนแบบวง
หมายถึงไฮโดรคารบอนที่มีคารบอนอะตอมตอกันเปนวง ซึ่งอาจตอกันเปนวงดวยคารบอนทั้งหมด
หรือดวยคารบอนบางสวนก็ได แบงเปน 3 ประเภท ตามชนิดของพันธะ คือ ไซโคลแอลเคน
(cycloalkane) ไซโคลแอลคีน (cycloalkene) และไซโคลแอลไคน (cycloalkyne)
3. อะโรมาติกไฮโดรคารบอน (Aromatic Hydrocarbon) หมายถึง ไฮโดรคารบอนที่มี
วงแหวนเบนซีนเปนโครงสรางหลัก
หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
30

แบ งประเภทของไฮโดรคารบอนตามชนิดของพันธะระหว าง คารบอน-คาร บอน ใน
โมเลกุลได 2 ประเภท คือ
1. สารประกอบไฮโดรคารบอนอิ่มตัว (Saturated Hydrocarbon) หมายถึง สารประกอบ
ไฮโดรคารบอนที่อะตอมคารบอนยึดเหนี่ ยวกับอะตอมคารบอนอื่น ๆ ด วยพันธะเดี่ยวทั้งหมด
โมเลกุลพวกนี้จะมีไฮโดรเจนมาเกาะที่คารบอนมากที่สุด จึงเรียกวาสารประกอบไฮโดรคารบอน
อิ่มตัว ไมสามารถรับไฮโดรเจนเพิ่มไดอีก ไดแก แอลเคน และไซโคลแอลเคน
2. สารประกอบไฮโดรคาร บ อนไม อิ่ ม ตั ว (Unsaturated Hydrocarbon) หมายถึ ง
สารประกอบไฮโดรคารบอนที่โมเลกุลมีพันธะคูหรือพันธะสามระหวางคารบอนกับคารบอนอยาง
นอย 1 พันธะ โมเลกุ ล เหล านี้จ ะมี ไฮโดรเจนมาเกาะที่ คารบ อนนอยกวาสารประกอบอิ่มตัว
สามารถนํามาเติมไฮโดรเจนใหกลายเปนสารประกอบอิ่มตัวได ไดแก แอลคีน แอลไคน
ไซโคลแอลคีน ไซโคลแอลไคน และอะโรมาติกไฮโดรคารบอน
11.3.1 สมบัติบางประการของสารประกอบไฮโดรคารบอน
1. เปนโมเลกุลโคเวเลนตไมมีขั้ว มีทั้งสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส
2. ไมละลายน้ําหรือละลายไดนอยมาก เนื่องจากเปนโมเลกุลไมมีขั้ว มีความหนาแนน
นอยกวาน้ํา
3. ละลายไดดีในตัวทําละลายไมมีขั้ว โดยเฉพาะตัวทําละลายอินทรีย
4. จุดเดือด จุดเหลอมเหลวคอนขางต่ํา เมื่อเทียบกับสารอื่น ๆ ที่มีมวลโมเลกุลใกลเคียงกัน
เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลเปนแรงแวนเดอรวาลส
5. ไมนําไฟฟาในทุกสถานะ
6. เกิดปฏิกิริยาเผาไหมไดงาย จัดเปนประเภทคายความรอน เผาไหมสมบูรณจะได CO2
และ H2O โดยไมมีเขมา แตถาเผาไหมไมสมบูรณจะเกิดเขมา
7. ในการเกิดปฏิกิริยา พวกสารประกอบไฮโดรคารบอนอิ่มตัวจะเกิดปฏิกิริยาแทนที่
(substitution reaction) พวกไมอิ่มตัวจะเกิดปฏิกิริยาการเติม (addition reaction)
การเผาไหมของสารประกอบไฮโดรคารบอน
1. เผาไหม อ ย า งสมบู ร ณ เมื่ อ ติ ด ไฟแล ว ให เ ปลวไฟสว า ง ไม มี ค วั น ไม มี เ ขม า
ผลิตภัณฑที่ได คือ CO2 และ H2O ไดแก การเผาไหมของไฮโดรคารบอนอิ่มตัว
2. เผาไหมไมสมบูรณ ติดไฟแลวใหเปลวไฟสวาง พรอมกับมีควันหรือเขมา ผลิตภัณฑ
ที่ ไ ด นอกจากเป น CO 2 และ H 2 O แล ว ยั ง ได CO และ C ด ว ย ได แ ก ก ารเผาไหม ข อง
ไฮโดรคารบอนไมอิ่มตัว ปริมาณเขมาจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อมีความไมอิ่มตัวมากขึ้น

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
31

การพิจารณาการเกิดเขมาจากการเผาไหม
1. พิจารณาจากชนิดของพันธะ ปริมาณเขมาเมื่อเผาไหม พันธะคู<พันธะสาม<อะโรมาติก
2. พิจารณาจากอัตราสวนระหวางระหวาง C:H ในโมเลกุล สารที่มี C:H นอยจะมีเขมา
นอย สารที่มี C:H มาก จะมีเขมามาก
แอลเคน

เชน

C6H14

แอลคีน

เชน

C6H12

แอลไคน

เชน

C6H10

อะโรมาติก

เชน

C6H6

C
H
C
H
C
H
C
H

6
14
= 6
12
= 6
10
=6
6

=

= 6:14 = 1:2.33
= 6:12 = 1:2
= 6:10 = 1:1.67
= 6:6 = 1:1 (มีเขมามากที่สุด)

การเผาไหมของสารประกอบไฮโดรคารบอนเกิดขึ้นอยางสมบูรณ เขียนสมการทั่วไป
ดังนี้
CXHY +

Y⎞
⎛
⎜x+ ⎟
4⎠
⎝

O2

xCO2 +

Y
H2O
2

การทดลองที่ 11 .3 สมบัติบางประการของสารประกอบไฮโดรคารบอน
วัตถุประสงค
1. ทําการทดลองเพื่อศึกษาสมบัติบางประการของสารประกอบไฮโดรคารบอนบางชนิดได
2. บอกสมบัติการละลายน้ํา การเผาไหม การฟอกจางสีโบรมีนและสารละลาย
โพแทสเซียมเปอรแมงกาเนตของเฮกเซน เฮกซีน และเบนซีนได
อุปกรณและสารเคมี
1. เฮกเซน
2. เฮกซีนหรือไซโคลเฮกซีน
3. สารละลาย KMnO4
4. น้ํากลั่น

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

5. หลอดทดลองขนาดเล็ก
6. จานหลุมโลหะ
7. ไมขีดไฟ
8. หลอดหยด

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
32

วิธีทดลอง
1. หยดเฮกเซนและน้ําอยางละ 5 หยด ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก เขยา สังเกตการ
ละลาย
2. หยดเฮกเซน ลงในจานหลุมโลหะ 5 หยด จุดไฟ สังเกตการลุกไหม
3. หยดเฮกเซน 5 หยด ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก แลวหยดสารละลายโพแทสเซียม
เปอรแมงกาเนตลงไป 2 หยด เขยา สังเกตการเปลี่ยนแปลง
4. ทําการทดลองเชนเดียวกับขอ 1 – 3 โดยใชเฮกซีนแทนเฮกเซน
5. ศึก ษาสมบัติของเฮกเซน เฮกซีน และเบนซีน โดยใชขอมูลที่ ไ ดจากการทดลอง
ประกอบกับขอมูลที่กําหนดให

เฮกเซน

เฮกซีน

เ บนซีน

การละลายน้ํา

เฮกเซน

เฮกเซน

เฮกเซน

เฮกซีน

การเผาไหม

เฮกซีน

เ บนซีน

ทําปฏิกิริยากับ Br2

เฮกซีน

เ บนซีน

เ บนซีน

ทําปฏิกิริยากับ KMnO4
รูป 11.2 ภาพสรุปวิธีทดลองสมบัตบางประการของสารประกอบไฮโดรคารบอน
ิ
ที่มา : เซียดฟา เสรีรัตนเกียรติ 2550

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
33

ผลการทดลอง

สาร

การละลายน้ํา

การเผา
ไหม

เฮกเซน ไมละลายแยก
เปน 2 ชั้นโดย
เฮกเซนอยูชน
ั้
บน น้ําอยูชน
ั้
ลาง

ติดไฟให
เปลวไฟ
สวาง ไม
มีควัน

เฮกซีน

ไมละลายแยก
เปน 2 ชั้นโดย
เฮกซีนอยูชั้น
บน น้ําอยูชน
ั้
ลาง

ติดไฟให
เปลวไฟ
สวางและ
มีเขมา

เบนซีน ไมละลายแยก
เปน 2 ชั้นโดย
เบนซีนอยูชั้น
บน น้ําอยูชน
ั้
ลาง

ติดไฟงาย
ใหเปลว
ไฟที่มี
ควันและ
เขมามาก

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

สมบัติที่ทดสอบ
การทําปฏิกิริยากับ Br2/CCl4 และ
การทําปฏิกิริยา
ทดสอบแกสทีเ่ กิดขึ้นดวย
กับสารละลาย
กระดาษลิตมัส
KMnO4
ในที่มืด
ในที่สวาง
สารละลาย
สารละลาย
สารละลาย
KMnO4 ไม
โบรมีนและ
โบรมีนเปลี่ยนสี
เปลี่ยนสี
กระดาษลิตมัส จากสีน้ําตาลแดง
ไมเปลี่ยนสี
เปนไมมีสี และ
กระดาษลิตมัสสี
น้ําเงินเปลี่ยนเปน
สีแดง
สารละลาย
สารละลาย
สารละลาย
KMnO4 เปลี่ยน โบรมีนเปลี่ยนสี โบรมีนเปลี่ยนสี
จากสีมวงเปน จากสีน้ําตาล
จากสีน้ําตาลแดง
ไมมีสีและมี
แดงเปนไมมีสี เปนไมมีสี และ
ตะกอนสีน้ําตาล และกระดาษ
กระดาษลิตมัสไม
ดําเกิดขึน
้
ลิตมัสไมเปลี่ยน เปลี่ยนสี
เล็กนอย
สี
สารละลาย
สารละลาย
สารละลาย
โบรมีนและ
โบรมีนและ
KMnO4 ไม
เปลี่ยนสี
กระดาษลิตมัส กระดาษลิตมัสไม
ไมเปลี่ยนสี
เปลี่ยนสี

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
34

สรุปผลการทดลอง
1. สารประกอบไฮโดรคารบอนทั้ง 3 ชนิด คือ เฮกเซน เฮกซีน และเบนซีน ไมละลายน้ํา
แสดงวาสารทั้ง 3 ชนิดเปนโมเลกุลโคเวเลนตไมมีขั้ว
2. สารประกอบไฮโดรคารบอนทั้ง 3 ชนิด แยกชั้นลอยอยูสวนบนของผิวน้ํา แสดงวา
สารประกอบไฮโดรคารบอนมีความหนาแนนนอยกวาน้ํา
3. การเผาไหมอยางสมบูรณของสารประกอบไฮโดรคารบอนเปนปฏิกิริยาคายความรอน
ไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซดและน้ํา แตการเผาไมของเฮกเซนไมมีเขมา สวนเฮกซีน
มีเขมาเล็กนอย และเบนซีนมีเขมามาก แสดงวา เฮกเซนเผาไหมไดสมบูรณ สวนเฮกซีนและ
เบนซีนเผาไหมไมสมบูรณ
4. จากปฏิกิริยาระหวางสารประกอบไฮโดรคารบอนทั้งสามชนิดกับสารละลายโบรมีนและ
สารละลายโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนตมีความแตกตางกัน จําแนกเปน 3 ประเภท คือ
4.1 เฮกเซนไมเกิดปฏิกิริยาฟอกจางสีสารละลายโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนต แต
เกิดปฏิกิริยาฟอกสีสารละลายโบรมีนไดในที่สวางเทานั้น แสดงวาตองมีแสงเปนตัวเรงปฏิกิริยา
จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาได และไดผลิตภัณฑที่เปนแกสมีสมบัติเปนกรด
4.2 เฮกซีนเกิดปฏิกิริยาฟอกจางสีสารละลายโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนต และฟอกจาง
สีสารละลายโบรมีนไดทั้งในที่มืดและสวาง
4.3 เบนซีนไมสามารถเกิดปฏิกิริยาฟอกจางสีสารละลายโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนต
และไมเกิดปฏิกิริยาฟอกจางสีสารละลายโบรมีนไดทั้งในที่มืดและสวาง
ตอบคําถามทายการทดลอง
1. เฮกเซน เฮกซีน และเบนซีนมีสมบัติเหมือนหรือตางกันอยางไร
ตอบ เฮกเซน เฮกซีน และเบนซีนมีสมบัติที่เหมือนกัน คือ เปนโมเลกุลโคเวเลนตไมมีขั้ว
ิ
ไมละลายน้ํา และสามารถติดไฟได สมบัติที่แตกตางกันคือ ลักษณะการเกิดปฏิกิรยา
2. สารประกอบไฮโดรคารบอนทั้ง 3 ชนิด เปนโมเลกุลมีขั้วหรือไม เพราะเหตุใด
ตอบ เปนโมเลกุลไมมีขั้ว เพราะไมสามารถละลายในน้ําซึ่งเปนโมเลกุลมีขั้วได
3. ความหนาแนนของเฮกเซน เฮกซีน และ เบนซีน เปนอยางไรเมื่อเปรียบเทียบกับน้ํา
ทราบไดอยางไร เพราะเหตุใด
ตอบ ความหนาแนนนอยกวาน้ํา ทราบจากสารทั้งสามลอยอยูเหนือผิวน้ํา เนื่องจากสารประกอบ
ไฮโดรคารบอนเปนโมเลกุลโคเวเลนตไมมีขั้ว แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลนอย โมเลกุลอยูหาง
กันจึงทําใหมีความหนาแนนนอย สวนน้ําเปนโมเลกุลโคเวเลนตมีขั้วและมีพันธะไฮโดรเจนยึด
เหนี่ยวระหวางโมเลกุล จึงทําใหโมเลกุลอยูชิดกันมากกวา ความหนาแนนจึงมากกวา
หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
35

4. สารชนิดใดเหมาะสมที่จะเปนเชื้อเพลิงมากที่สุด เพราะเหตุใด
ตอบ เฮกเซนเหมาะสมที่จะเปนเชื้อเพลิงมากที่สุด เพราะเผาไหมอยางสมบูรณ ไมมีเขมา
5. เฮกเซน เฮกซีน และเบนซีน ควรจัดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอนประเภทเดียวกัน
หรือไม เพราะเหตุใด
ตอบ ไมควรจัดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอนประเภทเดียวกัน เพราะมีสมบัติที่แตกตางกันใน
ดานการเกิดปฏิกิริยาเคมี อันเปนผลเนื่องจากสารทั้งสามมีสูตรโครงสรางแตกตางกัน
6. จงเขียนสูตรโครงสรางของเฮกเซน เฮกซีน และเบนซีน
ตอบ เฮกเซน CH3-CH2-CH2-CH2-CH2-CH3
H
เฮกซีน CH2=CH-CH2-CH2-CH2-CH3
HC C CH
HC CH
เบนซีน
C
H
แบบฝกหัด
1. จงเขียนสมการแสดงการเผาไหมอยางสมบูรณของสารตอไปนี้
1.1 2C6H14 + 19O2
12CO2 + 14H2O
1.2 C3H8 + 5O2
3CO2 + 4H2O
1.3 C3H4 + 4O2
3CO2 + 2H2O
12CO2 + 6H2O
1.4 2C6H6 + 15O2
1.5 2 C5H10 + 15O2
10CO2 + 10 H2O
2. จากขอ 1 ถาใชสารดังกลาวอยางละ 0.5 โมล จะตองใช O2 กี่โมล จึงจะเกิดปฏิกิริยาเผาไหม
อยางสมบูรณ
2.1 C6H14
ใช O2 4.75 โมล
ใช O2 2.50 โมล
2.2 C3H8
2.3 C3H4
ใช O2 2.00 โมล
2.4 C6H6
ใช O2 3.75 โมล
2.5 C5H10
ใช O2 3.75 โมล
3. จากสูตรโครงสรางตอไปนี้ จงเรียงลําดับปริมาณของเขมาที่เกิดขึ้นจากมากไปหานอย เมื่อนําไป
เผาในสภาวะปกติ
ข. CH3-C ≡ C-CH2-CH3
ก. CH3-CH=CH-CH2-CH3
ค.
ตอบ ค > ข > ก
หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
36

4. จงทํานายวาสารประกอบไฮโดรคารบอนจํานวน 1 โมล แตละคูตอไปนี้ชนิดใดเผาไหมแลวให
เขมามากกวากัน
ก. C3H8 กับ C3H6
ตอบ C3H6
ตอบ C6H5- CH3
ข. C6H5- CH3 กับ C6H14
ค. C4H10 กับ C5H10
ตอบ C5H10
ง. C6H6 กับ C6H10
ตอบ C6H6
5. กําหนดตารางแสดงสมบัติของสาร A B C และ D ดังตอไปนี้
สมบัติ

สาร

การละลายน้ํา
การเผาไหม
A
ละลาย
ไมหลอมเหลว ไมติดไฟ
B
ไมละลาย
ติดไฟ มีเขมา
C
ละลาย
หลอมเหลว ไมติดไฟ
D
ไมละลาย
ติดไฟ ไมมีควันและเขมา
ก. สารชนิดใดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน เพราะเหตุใด
ตอบ สาร B และ D เพราะไมละลายน้ําและสามารถติดไฟได
ข. สารชนิดใดทําปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนในที่สวาง และสารละลายโพแทสเซียม
เปอรมังกาเนตได
ตอบ สาร B

บันทึกเพิ่มเติม

“เมื่อมีหนาที่อยางไรแลว จะตองมีความรับผิดชอบและพยายามทําหนาที่ของตนใหดที่สุด”
ี
หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
37

11.3.2 ประเภทของสารประกอบไฮโดรคารบอน
11.3.2.1 แอลเคนและไซโคลแอลเคน (Alkane and Cycloalkane)
แอลเคน เปนสารประกอบไฮโดรคารบอนแบบโซเปด ประเภทอิ่มตัว มีชื่ออีกอยางหนึ่ง
วา “พาราฟน ไฮโดรคารบอน” หรือเรียกสั้น ๆ วา พาราฟน มีทั้งที่เกิดในธรรมชาติ เชน ใน
น้ํามันดิน น้ํามันปโตรเลียม และแกสธรรมชาติ นอกจากนี้ยังสามารถสังเคราะหขึ้นมาได
สูตรทั่วไปของแอลเคน คือ CnH2n+2
โมเลกุลที่เล็กที่สุดของแอลเคน คือ มีเทน (CH4) มีรูปรางและมุมพันธะ ดังนี้
~109.5o

รูป 11.3 รูปรางและมุมพันธะของมีเทน
ที่มา:เซียดฟา เสรีรัตนเกียรติ 2550
การเรียกชื่อแอลเคน
การเรียกชื่อแอลเคนตามระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied
Chemistry)
แอลเคนที่มีโครงสรางเปนโซตรง (Straight Chain)
เรี ย กชื่อ ตามจํ า นวนอะตอมของคารบ อน โดยใช จํ า นวนนั บ ในภาษากรีก ระบุ จํ า นวน
อะตอมของคารบอน แลวลงทายดวย เ-น (-ane)
1 = meth – มี - เมท 6 = hex - เฮกซ 2 = eth – อี - เอท 7 = hept - เฮปท 3 = prop – โพรพ 8 = oct - ออกท 4 = but – บิวท 9 = non - โนน 5 = pent - เพนท 10 = dec - เดค –
แอลเคนที่มีโครงสรางเปนโซกิ่ง (branched chain)
โซกิ่ง คือ หมูแอลคิล (alkyl group) หมายถึงหมูที่เกิดจากการลดจํานวนอะตอมของ
ไฮโดรเจนในแอลเคน ลง 1 อะตอม มีสัญลักษณ เปน -R สูตรทั่วไปเปน CnH2n+1 การเรียกชื่อ
เหมือนแอลเคน แตลงทายดวย - yl

หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย

รหัสวิชา ว40233

ครูอังสุนีย มังคละคีรี
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1

More Related Content

What's hot

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 

What's hot (20)

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Viewers also liked

เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ratchaneeseangkla
 
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยโจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยPin Hatairut
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ K.s. Mam
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีTanchanok Pps
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์Tanchanok Pps
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1Coco Tan
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Tanchanok Pps
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นMaruko Supertinger
 
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047Tanchanok Pps
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด Tanchanok Pps
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Tanchanok Pps
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะMaruko Supertinger
 
ตารางธาต
ตารางธาตตารางธาต
ตารางธาตK.s. Mam
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์K.s. Mam
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 

Viewers also liked (20)

เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลยโจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
โจทย์สารอินทรีย์พร้อมเฉลย
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
 
Fibers
FibersFibers
Fibers
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
 
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
 
Nomenclature
NomenclatureNomenclature
Nomenclature
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
 
ตารางธาต
ตารางธาตตารางธาต
ตารางธาต
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1

ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11Maruko Supertinger
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11kruaoipcccr
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาnam_supanida
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์nn ning
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1 (20)

Organicpds
OrganicpdsOrganicpds
Organicpds
 
Chemistry
ChemistryChemistry
Chemistry
 
Chemistry
Chemistry Chemistry
Chemistry
 
Bond
BondBond
Bond
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตา
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
08
0808
08
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
Punmanee study 6
Punmanee study 6Punmanee study 6
Punmanee study 6
 
สาร
สารสาร
สาร
 

More from Tanchanok Pps

นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์Tanchanok Pps
 
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดีPortfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดีTanchanok Pps
 
Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan
Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan
Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan Tanchanok Pps
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Tanchanok Pps
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration Tanchanok Pps
 
รวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sad
รวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sadรวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sad
รวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sadTanchanok Pps
 

More from Tanchanok Pps (9)

OPEC muge102
OPEC muge102OPEC muge102
OPEC muge102
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์
 
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดีPortfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
 
Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan
Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan
Additional Vocabulary [Medical] Kru P'Nan
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 
Sat.vocab
Sat.vocabSat.vocab
Sat.vocab
 
รวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sad
รวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sadรวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sad
รวมเล่ม ติว Sat ไม่ให้ sad
 

เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1

  • 1. คูมือเอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาเคมี รหัสวิชา ว40233 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย 11.1 พันธะของคารบอน จุดประสงคการเรียนรู 1.อธิบายการเกิดพันธะของธาตุคารบอนและธาตุชนิดอืนในสารประกอบอินทรียได ่ 2. อธิบายเหตุผลที่ทําใหมีสารประกอบอินทรียเปนจํานวนมากได 3. เขียนสูตรโครงสรางแบบตาง ๆ ไดแก ลิวอิส แบบยอ แบบผสม และแบบใชเสนและ มุมของสารประกอบอินทรียชนิดตาง ๆ ได  สาระสําคัญ นักวิทยาศาสตรแบงสารประกอบตามแหลงกําเนิดเปน 2 ประเภท คือ 1. สารอินทรีย (Organaic compound) หมายถึงสารที่มีคารบอนเปนองคประกอบหลัก ทั้ง ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและจากการสังเคราะห ยกเวนสารจําพวก - สารประกอบออกไซด เชน คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนอกไซด - เกลือคารบอเนต ไฮโดรเจนคารบอเนต เชนโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต แคลเซียม บอเนต - เกลือคารไบด เชน แคลเซียมคารไบด -เกลือไซยาไนด เชน แอมโมเนียมไซยาไนด -สารประกอบคารบอนบางชนิด เชน คารบอนไดซัลไฟด คารบอนเตตระคลอไรด คารบอนิลคลอไรดหรือฟอสจีน - สารที่ประกอบดวยธาตุคารบอนเพียงชนิดเดียว เชนเพชร แกรไฟต ฟุลเลอรีน 2. สารอนินทรีย (Inorganic compound) หมายถึงสารประกอบอื่น ๆ ทีไมใชสารอินทรีย ่ เกิดจากสิ่งไมมีชีวิต (สินแร) ประกอบดวยธาตุจํานวนมาก หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 2. 2 ตาราง 11.1 แสดงการเปรียบเทียบระหวางสารอินทรียและสารอนินทรีย สมบัติ 1. แหลงกําเนิด 2.ธาตุที่เปนองคประกอบ 3. ชนิดของพันธะเคมี สารอินทรีย สวนใหญไดจากพืชและสัตว สวนใหญเปนธาตุ C และ H ธาตุอื่น ๆ เชน O , N , S , P , Cl , Br , I มีเปนสวนนอย พันธะโคเวเลนต สารอนินทรีย ไดจากธรรมชาติ เชน หิน แร ธาตุทุกชนิด มีทั้งพันธะโคเวเลนตและพันธะ ไอออนิก(สวนมากไอออนิก) 4. โครงสราง สารบางชนิดมีสูตรโมเลกุล สารชนิดหนึ่ง ๆ มีสูตร เหมือนกัน แตอาจมีสมบัติและ โครงสรางเฉพาะ สูตรโครงสรางแตกตางกัน 5. การละลายน้ํา สวนมากไมละลายน้ํา ยกเวน สวนมากละลายน้ําไดดี พวกโมเลกุลมีขั้วขนาดเล็ก ๆ เชน แอลกอฮอล กรดอินทรีย 6. การนําไฟฟา ไมนําไฟฟาหรือนําไฟฟาได สวนใหญพวกที่ละลายน้ําจะนํา ของสารละลาย (ในน้ํา) นอยมาก ไฟฟาไดดีโดยเฉพาะ สารประกอบไอออนิก 7. การละลายในตัวทําละลาย สวนมากละลายไดดี สวนมากไมละลาย อินทรีย 8. จุดหลอมเหลว จุดเดือด สวนมากคอนขางต่ํา สวนมากคอนขางสูง 9. การเผาไหม ติดไฟงายอาจจะมีเขมา ถาเกิด ติดไฟยาก ตองใชความรอนสูง การเผาไหมทสมบูรณ จะได มากและเมื่อติดไฟแลวจะมีกาก ี่ CO2 และ H2O เทานั้น ของแข็งเหลืออยู 10. อัตราการเกิดปฏิกิริยา เกิดคอนขางชา เพราะเปน เกิดเร็ว สวนมากเปนปฏิกิริยา ปฏิกิริยาระหวางโมเลกุล ระหวางไอออน 11. ตัวเรงปฏิกิริยา สวนมากตองใช สวนมากไมตองใช  หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 3. 3 พันธะของคารบอน คารบอนสามารถสรางพันธะกับธาตุอื่น ๆ และสรางพันธะกับคารบอนอะตอมดวยกัน คารบอนสามารถสรางพันธะรอบอะตอมได 4 พันธะ เพราะมีเวเลนซอิเล็กตรอน = 4 จึงสามารถ ใชอิเล็กตรอนรวมกับอะตอมอื่น ๆ อีก 4 อิเล็กตรอน พันธะรอบอะตอมคารบอนเปนไปได ดังนี้ C C C C คําถาม 1. พันธะระหวางธาตุคารบอนกับธาตุคารบอนมีกี่ประเภท อะไรบาง ตอบ พันธะระหวางธาตุคารบอนกับธาตุคารบอนมี 3 ประเภท คือ พันธะเดียว พันธะคูและ ่  พันธะสาม 2. ธาตุคารบอนสรางพันธะกับธาตุอื่น ๆ นอกจาก ธาตุคารบอนหรือไม อยางไร ตอบ ธาตุคารบอนสามารถสรางพันธะโคเวเลนตกับธาตุอื่น ๆได คือ กับธาตุหมู 7 และไฮโดรเจน สรางพันธะเดี่ยว เชน C – H C – Cl กับธาตุหมู 6 สรางพันธะเดียว หรือพันธะคู เชน C – O C = O ่ กับธาตุหมู 5 สรางพันธะเดียว พันธะคู พันธะสาม เชน C – N C = N C ≡ N ่ 3. ธาตุที่เปนองคประกอบในสารประกอบอินทรียมีเพียงไมกี่ชนิด เหตุใดสารประกอบอินทรียจึงมี จํานวนมากมาย ตอบ เพราะธาตุคารบอนที่เปนองคประกอบหลักสามารถสรางพันธะกับธาตุคารบอนดวยกันได และยังสามารถสรางพันธะกับธาตุอื่น ๆได 11.1.1 การเขียนสูตรโครงสรางของสารประกอบอินทรีย สูตรโครงสรางของสารอินทรียแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. สารอินทรียที่มีสูตรโครงสรางแบบโซเปด ภายในโมเลกุลมีอะตอมของคารบอนตอกัน เปนโซตรงหรือโซกิ่ง พันธะระหวางอะตอมของคารบอนอาจเปนพันธะเดี่ยว พันธะคู พันธะสาม หรืออาจมีพันธะมากกวา 1 ชนิดก็ได 2. สารอินทรียที่มีโครงสรางแบบโซปดหรือแบบวง ภายในโมเลกุลมีอะตอมคารบอน ตอกันเปนวง(เปนรูปเหลี่ยมตาง ๆ) การเขียนสูตรโครงสรางของสารประกอบอินทรียสามารถเขียนไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับ ความเหมาะสมในการใชและสภาพโมเลกุล ดังนี้ หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 4. 4 1. สูตรโครงสรางลิวอิส (Extended Structural Formula) หรือสูตรโครงสรางแบบเสน เปนสูตรโครงสรางแบบสมบูรณ แสดงรายละเอียดของตําแหนงและชนิดพันธะทั้งหมดในโมเลกุล เหมาะสําหรับการเขียนสูตรโครงสรางของสารประกกอบอินทรียที่มีขนาดเล็ก ตัวอยาง สูตรโครงสรางโซตรง H H H H H O H–C= C–H H–C–C–C–C–O–H H H H สูตรโครงสรางโซกิ่ง H C H H C H H N H H H C H H C C H C C C H H H C H H H C H H H H H H C H H สูตรโครงสรางแบบวง O H H C H C C C C H HH H C H H H 2. สูตรโครงสรางแบบผสม หรือยอบางสวน (Partially Extended Structural Formula) แสดงเฉพาะพันธะระหวางคารบอนกับคารบอน สวนพันธะระหวางคารบอนกับธาตุอื่นอาจจะ แสดงหรือเขียนติดกับคารบอนนั้นก็ได ตัวอยาง H H H–C=C–H เขียนเปน CH2 = CH2 H H H O O H–C–C–C–C–O–H เขียนเปน CH3 - CH2 - CH2 – C - OH H H H หรือ CH3 - CH2 -CH2 – COOH H H C H C H H H C C C C H H H C H H H หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย H H C H CH3 H เขียนเปน รหัสวิชา ว40233 C CH CH3 CH2 CH CH3 CH3 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 5. 5 H H H H H C C H C C C H H H H H2C H2C เขียนเปน H2 C CH2 CH2 3. สู ต รโครงสร า งอย า งย อ (Condensed Structural Formula) หลั ก การเขี ย นสู ต ร โครงสรางอยางยอ 3.1 เขียน C ตอเนื่องกันโดยไมตองแสดงพันธะแบบเสน(ยกเวนพันธะคูและพันธะสาม) 3.2 อะตอมของธาตุอื่นที่เกิดพันธะกับ C อะตอมใด ใหเขียนไวติดกับ C อะตอมนั้น โดยไมแสดงพันธะ 3.3 ถาโครงสรางมีลักษณะซ้ํา ๆ กัน ใหใชวงเล็บแทนการเขียนทั้งหมด 3.4 ถาเปนโครงสรางแบบวง จะละไมเขียนแสดงอะตอมของ C ในวง และ H ที่เกาะ ในวง แตอะตอมของธาตุอื่นจะเขียนไว ตัวอยาง CH3 - CH2 - CH2 - CH2 – CH = CH2 เขียนเปน CH3CH2CH2CH2CH=CH2 หรือ CH3(CH2)3CH=CH2 O เขียนเปน (CH3)2CH CH2CONH2 CH3 – CH - CH2 – C – NH2 CH3 หรือ CH3CHCH2CONH2 CH3 H2C H2C O O CH2 CH2 เขียนเปน 4. สูตรโครงสรางแบบเสนและแบบมุม (Line-angle Drawing Structural Formula) 4.1 เขียนโดยใชเสนตรงแทนพันธะระหวางคารบอน 4.2 ถามีจํานวนคารบอนตอกันมากกวา 2 อะตอม ใหใชเสนตอกันแบบซิกแซกแทน สายโซของคารบอน ที่ปลายเสนตรงและแตละมุมของสายโซ แทนอะตอมของคารบอนตออยูกับ ไฮโดรเจนในจํานวนที่ทําใหคารบอนมีเวเลนซอิเล็กตรอนครบ 8 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 6. 6 4.3 ถาในโมเลกุลมีหมูอะตอมแยกออกมาจากสายโซของคารบอน ใหลากเสนตอออก จากสายโซ และใหจุดตัดของเสนแทนอะตอมของคารบอน ตัวอยาง CH2 = CH – CH2 –CH3 เขียนเปน CH3 CH3 C CH3 เขียนเปน CH3 CH2 CH3 CH3 CH CH CH CH3 C C CH2 เขียนเปน CH3 CH CH2 CH3 CH2 เขียนเปน CH3 O CH2 OH เขียนเปน การเขี ย นสู ต รโครงสร า งแบบต า ง ๆนั้ น เป น การแสดงการจั ด เรี ย งตั ว ของอะตอมที่ ประกอบเปนโมเลกุลในลักษณะ 2 มิติ แตในความเปนจริงอะตอมของธาตุในโมเลกุลมีการจัดเรียง ตัวในลักษณะ 3 มิติ มีมุมพันธะที่แตกตางกัน พันธะรอบอะตอมคารบอนตองจัดเรียงตัวใหหาง ที่สุด โดยโมเลกุลที่สรางพันธะเดี่ยวทั้งหมด เชน CH4 มุมพันธะประมาณ 109.5o รูปรางโมเลกุล เปนทรงสี่หนา สรางพันธะคู 1 ตําแหนง เชน C2H4 มุมพันธะประมาณ 120o รูปรางโมเลกุลเปน สามเหลี่ยมแบนราบ สรางพันธะสาม 1 พันธะ เชน C2H2 มุมพันธะเปน 180o รูปรางโมเลกุลเปน เสนตรง ดังตาราง 11.2 CH2 CH CH2 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย CH2 COOH รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 7. 7 ตาราง 11.2 ตัวอยางสูตรโมเลกุล สูตรโครงสรางลิวอิส มุมพันธะ และแบบจําลองโมเลกุล 3 มิติ ของสารประกอบอินทรียบางชนิด สูตรโมเลกุล โครงสรางลิวอิส CH4 H H C มุมพันธะ แบบจําลอง 3มิติ(ภาพถาย) ~109.5o H H H C2H4 H C ~120o C H ~120o H ~120o C2H2 H C C H H H H H C C C H C3H8 H H H C6H6 H ~109.5o H C H 180o C C C C H ~120o H C H ที่มา:เซียดฟา เสรีรัตนเกียรติ 2550 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 8. 8 แบบฝกหัด 1. จงเขียนสูตรโครงสรางลิวอิส แบบยอ และแบบเสนและมุมของสารประกอบตอไปนี้ สูตรโครงสรางลิวอิส สูตรโครงสรางแบบยอ , เสนและมุม H H H H H H–C–C–C–C=C–H H H H–C–H H 2. H H H H H–C–C–O–C–C–H H H H H 3. H H–C–H H H H H H H H – C – C – C – C – C – C – C –H H H H H H H H–C–H H 4. H H H H H H H H H H–C– C–C–C–N–C–C– C=C–H H H H H H H (CH3)2CHCH2CH=CH2 1. 5. H H H–C–H H–C–H H H O H H H–C– C–C–C–C–C– C–H H H H H H H หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 CH3 CH2O CH2 CH3 O (CH3)3C(CH2)4CH3 CH3(CH2)3NH(CH2)2CH=CH2 N (CH3)2CH CH2CO CH2CH(CH3)2 O ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 9. 9 6. สูตรโครงสรางลิวอิส H H H–C–HH–C–H H H H H H–C– C C–C–C= C–H H H H H–C–H H–C–H H 7. H C C C C H H H H 8. H H C C H H H O C C C H C C C C H H H C H สูตรโครงสรางแบบยอ , เสนและมุม CH3 CH2C(CH3)2CH(CH3) CH2CH=CH2 H C H H H C C C C CH(CH3)2 O C H C H O H 9. H H H3 C H H C C C C H H C C H 10. C C COOH O O O H OH CH2CH3 H H H C HH H C C C C H C C H H OH H H หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย OH OH รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 10. 10 2. จงเขียนสูตรโครงสรางแบบผสม และแบบเสนและมุม จากสูตรโครงสรางอยางยอตอไปนี้ แบบยอ 1.(CH3)3C(CH2)3 CH3 2.(CH3)4C 3.CH3(CH2)2COCH2CH3 4.(CH3)3C CH2C≡C(CH2)2 CH3 5. COOCH2C(CH3)3 6.CH3CH2C(CH3)2 CH2CONH2 แบบผสม CH3 CH3-C-CH2-CH2-CH2-CH3 CH3 CH3 CH3 – C – CH3 CH3 O CH3-CH2-CH2-C-CH2-CH3 CH3 CH3-C-CH2-C≡C-CH2-CH2-CH3 CH3 CH2 CH2 O CH3 CH2 CH-C-O-CH2-C-CH3 CH3 CH3 O CH3-CH2-C-CH2-C-NH2 CH3 7. OH CH3CH=C(CH2CH3)CH(OH)CH2Br CH3 –CH=C-CH-CH2Br CH2- CH3 8. OH COOH หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย แบบเสนและมุม HC HC H C C H C C รหัสวิชา ว40233 OH COOH O O O O NH2 OH Br OH OH O ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 11. 11 แบบยอ 9. 10. O CH2CH3 COOCH2CH3 แบบผสม H2 C O H2C CH CH 3 H2C CH2 H2 COO-CH2-CH3 HC C CH HC CH2 C H2 แบบเสนและมุม O O O บันทึกเพิ่มเติม ขอคิดเตือนใจ “...วิถีชีวิตมนุษยนั้น จะใหมีแตความปกติสุขอยางเดียวไมได จะตองมีทุกข มีภัย มีอุปสรรคผาน เขามาดวยเสมอ ยากจะหลีกเลี่ยงพน ขอสําคัญอยูที่ทุก ๆ คนจะตองเตรียมกายเตรียมใจ และ เตรียมการไวใหพรอมทุกเวลา เพื่อเผชิญและแกไขความไมปกติเดือดรอนทั้งนั้น ดวยความไม ประมาท ดวยเหตุผล ดวยหลักวิชา และดวยสามัคคีธรรม จึงจะผอนหนักใหเปนเบา และกลับราย ใหเปนดี...” พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปใหม พุทธศักราช 2528 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 12. 12 11.1.2 ไอโซเมอริซึม (Isomerism) จุดประสงคการเรียนรู 1.เขียนไอโซเมอรโครงสรางของสารประกอบอินทรียได 2. ทําการทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการจัดเรียงอะตอมของคารบอนในสารประกอบ อินทรียได สาระสําคัญ การที่สารอินทรียซึ่งเกิดจากธาตุเพียง 4 – 5 ชนิดมารวมกัน มีจํานวนมากมายรวมกันแลว มากกวาสารอนินทรียทั้งหมด เนื่องจากธาตุคารบอนสามารถเกิดพันธะรวมกับธาตุคารบอนดวย กันเองได โดยสามารถตอกันเปนสายยาวและสายมีสาขา และสารอินทรียที่มีจํานวนคารบอน เทากันยังสามารถเขียนโครงสรางไดหลายแบบที่เรียกวาไอโซเมอร ซึ่งเปนอีกสาเหตุหนึ่งที่ทําให สารอินทรียมีจํานวนมากมาย ตาราง11.3 สมบัติบางประการของสารอินทรียที่มีสูตรโมเลกุล C4H10 ๐ โครงสรางของสารประกอบ จุดหลอมเหลว ( C) CH3 -CH2-CH2-CH3 CH3 –CH-CH3 CH3 -138.3 -159.4 ๐ จุดเดือด ( C) -0.5 -11.7 ความหนาแนนที่20๐C (g/cm3) 0.573 0.551 ที่มา : หนังสือแบบเรียนสาระการเรียนรูพนฐานและเพิ่มเติม เคมี เลม 5 สถาบันสงเสริมการสอน ื้ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2549 หนา 11 ไอโซเมอริซึม หมายถึงปรากฏการณที่สารอินทรียมีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แตมีสูตร โครงสรางตางกัน ทําใหมีสมบัติบางประการแตกตางกัน ซึ่งอาจจะเปนสารประเภทเดียวกันหรือ ตางชนิดกันก็ได ไอโซเมอร หมายถึงสารอินทรียที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แตมีสตรโครงสรางตางกัน ู หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 13. 13 การทดลองที่ 11.1 การจัดตัวของคารบอนในสารประกอบไฮโดรคารบอน วัตถุประสงค 1. ตอแบบจําลองแสดงโครงสรางของสารประกอบอินทรียแบบตาง ๆตามจํานวนอะตอม  ของคารบอนและไฮโดรเจนที่กําหนดใหได 2. เขียนโครงสรางลิวอิสของแตละไอโซเมอรได 3. อธิบายการเกิดไอโซเมอรและผลของการเกิดไอโซเมอรได อุปกรณและสารเคมี 1. ชุดแบบจําลองโมเลกุล วิธีทดลอง ตอนที่ 1 1. ใชแบบจําลองอะตอมลูกกลมสีดําแทนคารบอนอะตอม สีขาวแทนไฮโดรเจนอะตอม และใชกานพลาสติกแทนพันธะ 2. นําลูกกลมสีดําจํานวน 5 ลูกตอกันดวยกานพลาสติกใหไดโครงสรางเปนแบบโซตรง แลวตอลูกกลมสีขาวเขากับปลายที่เหลือของคารบอน บันทึกผลการทดลองโดยเขียนเปนสูตร โครงสรางแบบเสน 3. เปลี่ยนโครงสรางโมเลกุลในขอ 2 เปนแบบโซกิ่ง โดยใชลูกกลมและกานพลาสติกเทา เดิม บันทึกผลโดยเขียนเปนสูตรโครงสรางแบบเสน หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 14. 14 ผลการทดลอง เมื่อนําลูกกลมพลาสติกตามจํานวนที่กําหนดใหมาตอกัน จะไดแบบจําลองโครงสราง โมเลกุล ดังนี้ แบบที่ แบบจําลองโมเลกุล 3 มิติ (ภาพถาย) สูตรโครงสรางลิวอิส H H H H H H C C C C C H H H H H H 1 H H H H H C C C C H H H H H C H H H H C H H H H C C C H H H H C H H 2 3 คําถาม 1. เมื่อคารบอน 5 อะตอม สรางพันธะเดียวทั้งหมดแบบโซเปด จะตองใชไฮโดรเจนกี่อะตอมจึง ่ จะเปนไปตามกฎออกเตต และมีสูตรโมเลกุลเปนอยางไร ตอบ ใชไฮโดรเจน 12 อะตอม มีสูตรโมเลกุลเปน C5H12 2. จากขอ 1 ไดสูตรโครงสรางที่ไมซ้ํากันกีแบบ ่ ตอบ มี 3 แบบ 3.สารที่มีสูตรโมเลกุลตามขอ 1 มีโครงสรางแบบวงหรือไม ตอบ ไมมีสูตรโครงสรางแบบวง หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 15. 15 ตอนที่ 2 1. นําลูกกลมสีดํา 5 ลูกมาตอกันเปนแบบโซตรง โดยใหมีพันธะคูระหวางคารบอน อะตอม 1 พันธะ แลวตอลูกกลมสีขาวเขากับปลายกานพลาสติกที่เหลือ บันทึกผลโดยเขียนเปน สูตรโครงสรางแบบเสน 2. เปลี่ยนตําแหนงของพันธะคูใหอยูระหวางคารบอนอะตอมคูอื่น ๆ ที่ไมซ้ํากัน บันทึกผล โดยเขียนเปนสูตรโครงสรางแบบเสน 3. ทําการทดลองเชนเดียวกับขอ 1 และ 2 แตตอเปนแบบโซกิ่ง โดยใชลูกกลมและกาน พลาสติกเทาเดิม ผลการทดลอง เมื่อนําลูกกลมพลาสติกตามจํานวนที่กําหนดใหมาตอกัน จะไดแบบจําลองโครงสราง โมเลกุล ดังนี้ แบบที่ แบบจําลองโมเลกุล 3 มิติ (ภาพถาย) H H H H H H C C C C C H H H H 1 2 H H C H H C H C H C H H C H H H H H H H C C C C H H H C H H 3 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย สูตรโครงสรางลิวอิส รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 16. 16 แบบที่ แบบจําลองโมเลกุล 3 มิติ (ภาพถาย) สูตรโครงสรางลิวอิส H H C H 4 H H C C H H C H H 5 H H C C H H H H H C C C H H C H H คําถาม 1. เมื่อคารบอน 5 อะตอม สรางพันธะคู 1 พันธะ และมีโครงสรางแบบโซเปด จะตองใชไฮโดรเจน กี่อะตอมจึงจะเปนไปตามกฎออกเตต สูตรโมเลกุลเปนอยางไร ตอบ ใชไฮโดรเจน 10 อะตอม มีสูตรโมเลกุลเปน C5H10 2. มีสูตรโครงสรางแบบโซเปดไมซ้ํากันไดกี่แบบ ตอบ 5 แบบ 3. สารที่มีสูตรโมเลกุลดังกลาว มีสูตรโครงสรางแบบวงหรือไม ถามี ใหเขียนสูตรโครงสราง ตอบ มีสูตรโครงสรางแบบวง 5 สูตรโครงสราง โดยคารบอนสรางพันธะเดียวทั้งหมด ดังนี้ ่ H2C H2 C H2C CH2 CH2 H2 C H2C H 2C C CH3 CH3 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย CH3 CH2 H2C CH H2 C CH3 CH H2C CH CH3 CH3 HC H2C CH2 รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 17. 17 สรุปผลการทดลอง 1. เมื่อตอคารบอน 5 อะตอมดวยพันธะเดี่ยว จะสามารถตอกับไฮโดรเจน 12 อะตอม ไดสูตรโครงสรางที่เปนโซเปดตางกัน 3 แบบ หรือ 3 ไอโซเมอร เกิดจากการเปลี่ยนตําแหนงของ คารบอนจากโซตรงเปนโซกิ่ง 2. เมื่อตอคารบอน 5 อะตอมโดยใหมีพันธะคู 1 ตําแหนง จะสามารถตอกับไฮโดรเจน 10 อะตอม ไดสูตรโครงสรางที่เปนโซเปดตางกัน 5 แบบ หรือ 5 ไอโซเมอร เกิดจากการเปลี่ยน ตําแหนงพันธะคูและตําแหนงของโซกิ่ง 3. ปรากฏการณที่สารมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแตสูตรโครงสรางตางกัน เรียกวา ไอโซเมอริซึม และเรียกสารมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแตสูตรโครงสรางตางกันวาไอโซเมอร ความรูเพิ่มเติม วิธีเขียนไอโซเมอร 1. พิจารณากอนวาสารประกอบนั้นจัดเปนสารประเภทใดไดบาง เชน ถามีเฉพาะคารบอน กับไฮโดรเจน แสดงวาเปนสารไฮโดรคารบอน ถามีธาตุคารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน อาจเปนแอลกอฮอล อีเทอร คีโตน แอลดีไฮด กรดอินทรีย หรือเอสเทอรก็ได 2. เขียนไอโซเมอรของสารแตละชนิด แลวจึงนับจํานวนไอโซเมอรทั้งหมด 3. สารประกอบไฮโดรคารบอนที่คารบอนเกาะกันเปนโซเปด ใหเขียนไอโซเมอรจาก คารบอนอะตอมที่ ตอกันเป นโซตรงยาวที่สุดกอน แลว จึงลดความยาวของคารบอนลงครั้งละ 1 อะตอม นํามาเขียนเปนโซกิ่ง โดยเขียนคารบอนโซกิ่งตรงตําแหนงคารบอนอะตอมที่สองกอน (ในสายยาว) แลวจึงเลื่อนกิ่งไปที่ตําแหนงคารบอนถัดไปเรื่อย ๆ พรอมทั้งคอยตรวจดูโครงสรางที่ ซ้ํากันดวย (สลับขาง พลิกซายขวา หมุน) ในแตละครั้งใหพิจารณาไอโซเมอรที่เปนไปได แลวนํา ทั้งหมดมารวมกัน 4. ถาคารบอนเกาะกันโดยมีพันธะคูหรือพันธะสามหรือหมูฟงกชัน การเปลี่ยนตําแหนง ของพันธะ หรือหมูฟงกชัน จะทําใหไดสารที่เปนไอโซเมอรกัน 5. ถาคารบอนตอกันเปนวง ตองเริ่มจากวงที่เล็กสุดกอน คือ เริ่มจากคารบอน 3 อะตอม กอน พิจารณาวาถา C 3 อะตอมตอเปนวงจะจัดเรียงไดกี่ไอโซเมอร แลวจึงเพิ่ม C เปน 4 , 5 ไป เรื่อย ๆ จนไดวงที่ใหญที่สุดตามที่โจทยกําหนด แลวจึงเอามารวมกัน หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 18. 18 ขอสังเกต 1. การพิจารณาวาสารคูใดเปนไอโซเมอรกันหรือไม ใหดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1.1 ใหพิจารณาในขั้นแรกกอนวาประกอบดวยธาตุอยางเดียวกันหรือไม ถาประกอบ ดวยธาตุตางชนิดกันจะไมใชไอโซเมอร ถาประกอบดวยธาตุชนิดเดียวกันใหพิจารณาขั้นตอไป 1.2 พิจารณาสูตรโมเลกุลของสารดังกลาว ถาสูตรโมเลกุลตางกันจะไมใชไอโซเมอร ถาสูตรโมเลกุลเหมือนกัน ใหพิจารณาขั้นตอไป 1.3 พิจารณาโครงสรางของโมเลกุล ถาสูตรโครงสรางเหมือนกัน จะเปนสารชนิด เดียวกัน ไมใชไอโซเมอร ถาสูตรโครงสรางตางกัน จึงเปนไอโซเมอร 2. สารประกอบที่สามารถเปนไอโซเมอรกันได เมื่อมีจํานวนอะตอมของคารบอนเทากัน ไดแก - แอลกอฮอล กับ อีเทอร สูตรทั่วไป CnH2n+2O - กรดอินทรีย กับ เอสเทอร สูตรทั่วไป CnH2nO2 - แอลดีไฮด กับ คีโตน สูตรทั่วไป CnH2nO - แอลคีน กับไซโคลแอลเคน สูตรทั่วไป CnH2n - แอลไคน กับไซโคลแอลคีนหรือไดอีน สูตรทั่วไป CnH2n-2 ประเภทของไอโซเมอร ไอโซเมอรแบงเปนประเภทใหญได 2 ประเภท คือ structural isomer และ stereoisomer ก. structural isomer เปนไอโซเมอรในแงโครงสราง หมายถึงสารอินทรียที่มีสูตรโมเลกุล เหมือนกัน แตมีสูตรโมเลกุลตางกัน แบงเปนประเภทยอย ๆ ดังนี้ 1. skeleton isomer หมายถึงไอโซเมอรที่มีการจัดเรียงโครงสรางหลักของคารบอน อะตอมตางกัน เชน CH3-CH2-CH2-CH2-CH3 สูตรโมเลกุล C5H12 CH3-CH-CH2-CH3 สูตรโมเลกุล C5H12 CH3 CH3 CH3 – C - CH3 สูตรโมเลกุล C5H12 CH3 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 19. 19 2. position isomer หมายถึงไอโซเมอรที่เกิดจากหมูฟงกชันมาตอกับอะตอมคารบอน ของโครงสรางหลักในตําแหนงที่ตางกัน (สูตรโมเลกุลเหมือนกัน มีหมูฟงกชันชนิดเดียวกัน แต ตําแหนงของหมูฟงกชันที่มาตออยูกับ C แตกตางกัน เปนสารประเภทเดียวกัน) เชน สูตรโมเลกุล C3H8O CH3-CH2-CH2-OH CH3-CH-CH3 สูตรโมเลกุล C3H8O OH 3. functional isomer หมายถึงไอโซเมอรที่มีหมูฟงกชนตางกัน ไอโซเมอรประเภทนี้ ั เปนสารอินทรียตางชนิดกัน CH3-CH2-CH2-OH สูตรโมเลกุล C3H8O เปนแอลกอฮอล CH3-CH2-O-CH3 สูตรโมเลกุล C3H8O เปนอีเทอร 4. metamer isomer เปนไอโซเมอรที่มีลักษณะคลายกับ position isomer เชน CH3-CH2-O-CH2-CH3 สูตรโมเลกุล C4H10O สูตรโมเลกุล C4H10O CH3-O-CH2-CH2-CH3 ข. stereo isomer เปนไอโซเมอรในแงการจัดเรียงอะตอมในโมเลกุลเปนสามมิติ จึงทําให มีสูตรโครงสรางที่ตางกัน แบงเปน ประเภทตาง ๆ เชน ไอโซเมอรชนิดโครงรูป(conformation isomer) ไอโซเมอรเชิงเรขาคณิต (geometrical isomer ) ไอโซเมอรเชิงทัศนศาสตร(optical isomer) ไอโซเมอรเชิงเรขาคณิต(geometrical isomer ) หรือ cis–trans isomer เปนไอโซเมอร ที่เกิดกับสารประกอบแอลคีน หรือสารอินทรียที่คารบอน – คารบอน มีพันธะคู (C = C) อะตอม หรื อ กลุ ม อะตอมหรื อ หมู ฟ ง ก ชั น ที่ ม าเกาะพั น ธะคู จ ะจั ด เรี ย งตั ว ตามแบบเรขาคณิ ต ที่ ต า งกั น ไอโซเมอรประเภทนี้เมื่อเขียนสูตรโครงสรางทั่ว ๆ ไปจะเหมือนกัน เชน CH3 CH3 C=C เปน cis – isomer เรียกวา cis – 2 - butene H H H CH3 C=C เปน trans – isomer เรียกวา trans – 2 - butene H CH3 cis- ใชกับไอโซเมอรที่มีกลุมอะตอมเหมือนกันอยูดานเดียวกันของระนาบ สวน transใช กับ ไอโซเมอรที่ ก ลุ ม อะตอมเหมื อนกัน อยู ต รงขา มกั น การที่ ทั้ ง สองมี สู ต รโครงสร า งเชิ ง เรขาคณิตไมเเหมือนกับเนื่องจากมีพันธะคูซึ่งไมสามารถหมุนไดอยางอิสระ ถาหมุน C ตัวที่หนึ่ง ไป C ตัวที่สองจะหมุนตามไปดวยเทากัน ดังนั้นจึงไมสามารถจัดลักษณะการเรียงอะตอมของสาร หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 20. 20 ทั้งสองใหเหมือนกัน หรือไมสามารถนํามาซอนกันสนิทเปนรูปเดียวกันได จึงจัดเปนไอโซเมอร (แตถาเปนพันธะเดี่ยว ไมเปนไอโซเมอร เนื่องจาก C ที่ยึดกันดวยพันธะเดี่ยวสามารถที่จะหมุนได รอบตัวเอง 360๐ จึงสามารถที่จะปรับรูปรางใหเหมือนกันเปนสารตัวเดียวกันได แบบฝกหัด 1. จงเขียนไอโซเมอรทั้งหมดของสารไฮโดรคารบอนที่มีคารบอน 6 อะตอม เกาะกันดวยพันธะ เดี่ยวทั้งหมด 1.1 โซตรง มี 1 ไอโซเมอร 1.2 โซกิ่ง มี 4 ไอโซเมอร 1.3 โซปด (แบบวง) มี 12 ไอโซเมอร 1.4 สูตรโครงสรางในขอ 1.1 1.2 และ 1.3 เปนไอโซเมอรกันทั้งหมดหรือไม ตอบ ไมทั้งหมด 1.1 และ 1.2 เปนไอโซเมอรกัน เพราะมีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน คือ C6H14 สวน 1.3 ไมเปนไอโซเมอรกับ 1.1 และ 1.2 เพราะมีสูตรโมเลกุลตางกัน คือ C6H12 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 21. 21 2. จงเขียนไอโซเมอรทั้งหมดของสารไฮโดรคารบอนที่มีคารบอน 6 อะตอม เกาะกันดวยพันธะคู 1 ตําแหนง และมีโครงสรางเปนโซเปด 2.1 โซตรง มี 3 ไอโซเมอร 2.2 โซกิ่ง มี 10 ไอโซเมอร รวมทั้งหมด 13 ไอโซเมอร 3. สารคูใดเปนไอโซเมอรกัน ใสเครื่องหมาย หนาขอที่เปนไอโซเมอร เครื่องหมาย หนาขอ ที่ไมเปนไอโซเมอร , -CH3 1. CH3 -C ≡ C-C=C=CH2 CH3 2. CH3 -CH2-CH- CH2-CH3 , CH3 -CH2-CH-CH3 CH3 CH2-CH3 3. -CH2- , -CH2-CH3 4. , 5. CH3 O CH3 , CH3 CH2CH=C CH2 CH3 CH3 CH3 CH2 COOH 6. 7. CH3 CH=CH(CH2)2C(CH3)3 , , (CH3)3C(CH2)2CH=CH CH3 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 22. 22 O 8. CH3 CH2 CO(CH2)2 CH3 9. CH3(CH2)3CHO 10. CH3COOH CH3 11. , , , CH2 CH3 CH CH3 CH3 (CH3 CH2)2CO HCOO CH3 CH2 , CH2 CH CH2 CH3 CH3 CH2=CH 12. CH3 CH=CH CH3 13. CH3 CH , CH3 CH3 CH3 CH2 CH2 CH3 , CH2 CH2 CH2 CH3 CH2 CH2 14. CH3 CH2 CH = CH CH2 CH3 , CH3(CH2)3CH = CH2 15. (CH3)3N , CH3NH CH2 CH3 บันทึกเพิ่มเติม วิธีเรียนหนังสือใหเกง “ตาดู หูฟง สมองคิด จิตใจจดจอ ไมเขาใจใหถาม กลับถึงบานทบทวนเสมอ”  หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 23. 23 11.2 หมูฟงกชัน จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายความหมายของหมูฟงกชันได 2. เรียกชื่อหมูฟงกของสารประกอบอินทรียชนิดตาง ๆได  3. จําแนกประเภทของสารประกอบอินทรีย โดยใชหมูฟงกชันและชนิดของธาตุที่เปน องคประกอบเปนเกณฑ พรอมทั้งยกตัวอยางได 4. ทําการทดลองและอธิบายเกี่ยวกับสมบัติและปฏิกิริยาบางประการของเอทานอลและ กรดแอซิติก รวมทั้งเขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได สาระสําคัญ การทดลอง 11.2 สมบัติบางประการของเอทานอลและกรดแอซิติก วัตถุประสงค 1. ทําการทดลองเพื่อศึกษาสมบัติและปฏิกริยาของเอทานอลและกรดแอซิติกได ิ 2. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได อุปกรณและสารเคมี อุปกรณ 1. หลอดทดลองขนาดเล็ก 4 หลอด 4. หลอดนําแกสและสายยาง 1 ชุด 2. หลอดทดลองขนาดกลาง 4 หลอด 5. หลอดหยด 3 อัน 3. จุกยางเจาะรู 1 รู 6. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 2 ใบ สารเคมี 1. น้ํากลั่น 5. สารละลาย NaHCO3 0.5 mol/dm3 2. เอทานอล 6. สารละลาย Ca(OH)2 อิ่มตัว 3. กรดแอซิติกเขมขน 7. กระดาษลิตมัสสีน้ําเงินและสีแดง 4. โลหะโซเดียม วิธีการทดลอง 1. ใสเอทานอล 10 หยด ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก เติมน้ํา 10 หยด เขยาและสังเกต การละลาย ตอจากนั้นทดสอบดวยกระดาษลิตมัสทั้งสีแดงและสีน้ําเงิน หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 24. 24 2. ใชคีมคีบโลหะโซเดียมที่ตัดเตรียมไวแลวขนาดเทาเมล็ดถั่วเขียว 1 ชิ้น ซับน้ํามันให แหง แลวใสลงในหลอดทดลองขนาดเล็กที่มีเอทานอลอยูประมาณ 0.5 cm3 สังเกตการ เปลี่ยนแปลง 3. เติมสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต 0.5 mol/dm3 2 cm3 ลงในหลอดทดลอง ขนาดกลางที่มีเอทานอล 2 cm3 บรรจุอยู ปดดวยจุกที่มีหลอดนําแกสตอลงในหลอดทดลองที่มี สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซดอยู 2 cm3 สังเกตการเปลี่ยนแปลง 4. ทําการทดลองตามขอ 1- 3 ซ้ํา โดยใชกรดแอซิติกแทนเอทานอล น้ํา น้ํา เอทานอล กรดแอซิติก โลหะโซเดียม น้ําปูนใส น้ําปูนใส เอทานอล + แคลเซียมไฮดรอกไซด กรดแอซิติก + แคลเซียมไฮดรอกไซด รูป 11.1 ภาพสรุปวิธีการทดลองสมบัติบางประการของเอทานอลและกรดแอซิติก ที่มา : เซียดฟา เสรีรัตนเกียรติ 2550 ผลการทดลอง สาร การเปลี่ยนแปลง การละลายน้ํา การเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส ปฏิกิริยากับโลหะโซเดียม ปฏิกิริยากับ NaHCO3 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย เอทานอล ละลาย ไมเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส เกิดฟองแกส ไมเปลี่ยนแปลง รหัสวิชา ว40233 กรดแอซิติก ละลาย เปลี่ยนสีน้ําเงินเปนสีแดง เกิดฟองแกส เกิดฟองแกส สารละลาย Ca(OH)2 ขุน ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 25. 25 สรุปผลการทดลอง 1. เอทานอลและกรดแอซิ ติ ก ละลายในน้ํ า ได แสดงว า สารทั้ ง สองชนิ ด เป น โมเลกุ ล โคเวเลนตมีขั้ว 2. เอทานอลไมเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส แตกรดแอซิติกเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ําเงิน เปนสีแดง แสดงวาเอทานอลไมแสดงสมบัติความเปนกรด-เบส สวนแอซิติกแสดงสมบัติเปนกรด 3. ทั้งเอทานอลและแอซิติกทําปฏิกิริยากับโลหะโซเดียมไดฟองแกสเกิดขึ้น แตกรด แอซิติกทําปฏิกิริยากับโลหะโซดียมไดรุนแรงกวา 4. เอทานอลไมทําปฏิกิริยากับ NaHCO3 แตกรดแอซิติกทําปฏิกิริยากับ NaHCO3 ไดแกส CO2 ทําใหสารละลาย Ca(OH)2 ขุน แสดงวากรดแอซิติกใหโปรตอนไดดีกวาเอทานอล 5. กลุมอะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะของเอทานอล คือ หมู – OH สวนกลุมอะตอมที่แสดง สมบัติเฉพาะของกรดแอซิติก คือ หมู – COOH จึงทําใหสารทั้งสองชนิดแสดงสมบัติไดตางกัน คําถามหลังการทดลอง 1.เอทานอลและกรดแอซิติกมีสมบัติเหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร เพราะเหตุใด ตอบ ทั้งเอทานอลและกรดแอซิติกสามารถละลายน้ําได แสดงวาเปนโมเลกุลโคเวเลนตมีขั้ว แต เอทานอลมีสมบัติเปนกลาง สวนแอซิติกมีสมบัติเปนกรด เนื่องจากเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสี น้ํ า เงิ น เป น สี แ ดง เอทานอลทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ โลหะโซเดี ย มได เ ช น เดี ย วกั บ แอซิ ติ ก แต แ อซิ ติ ก เกิดปฏิกิริยาไดดีกวา เอทานอลไมสามารถทําปฏิกิริยากับโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต แตแอซิติก สามารถเกิด ปฏิกิ ริย าได แ ก สคาร บอนไดออกไซด ที่เ ปน เช น นี้ เพราะเอทานอลและแอซิติก มี โครงสรางที่แตกตางกัน 2. เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาระหวางเอทานอลกับโลหะโซเดียม และกรดแอซิติกกับโลหะ โซเดียม ตอบ 2 CH3CH2OH + 2Na 2 CH3 CH2ONa + H2 2 CH3COOH + 2Na 2 CH3COONa + H2 3. เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาระหวาง กรดแอซิติกกับโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต CH3COONa + H2O + CO2 ตอบ CH3COOH + NaHCO3 4. หมูฟงกชัน คืออะไร หมูฟงกชันของเอทานอลและกรดแอซิติก คืออะไร  ตอบ หมูฟงกชัน คือ กลุมอะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะของสารประกอบอินทรีย หมูฟงกชันของ เอทานอล คือ หมูไฮดรอกซิล (-OH) แอซิติก คือ หมูคารบอกซิล (-COOH) หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 26. 26 5. จากผลการทดลองที่ได สามารถนําไปใชประโยชนไดอยางไร ตอบ ใชสมบัติและปฏิกิริยาของแอลกอฮอลและกรดอินทรียที่ไดในการทดสอบหรือตรวจสอบเพื่อ จัดจําแนกวาสารใดจัดเปนสารใดจัดเปนแอลกอฮอลหรือกรดอินทรีย ตาราง 11.4 แสดงหมูฟงกชนและประเภทของสารประกอบอินทรียที่มีหมูฟงกชันบางชนิด  ั หมูฟงกชัน C=C C≡C ชื่อหมู ฟงกชน ั พันธะคู ระหวาง C พันธะสาม ระหวาง C ประเภทสาร ประกอบ แอลเคน CnH2n+2 แอลคีน CnH2n แอลไคน CnH2n-2 แอลกอฮอล R-OH ฟนอล Ar-OH R-O-R/ -OH ไฮดรอกซิล -O- ออกซี อีเทอร คารบอกซิล กรดอินทรีย หรือกรดคาร บอกซิลิก O C OH O R C O O C H O - NH2 O C แอลคอกซีคารบอนิล คารบอก ซาลดีไฮด เอสเทอร แอลดีไอด คารบอนิล C R สูตรทั่วไป NH2 คีโตน อะมิโน O R C OH O R C O R/ O หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย เอไมด อีไทน CH≡CH เอทานอล ฟนอล CH3-CH2-OH เมทอกซีมีเทน (ไดเมทิลอีเทอร) กรดเอทาโนอิก (กรดแอซิตก) ิ CH3-O-CH3 เมทิลเอทาโนเอต (เมทิลแอซิเตต) เอทานาล O R C R/ R-NH2 O C O CH3 C OH CH3 C NH2 รหัสวิชา ว40233 O CH3 O โพรพาโนน O R OH CH3 C H R C H เอมีน เอไมด ตัวอยางสารประกอบ ชื่อ สูตรโครงสราง มีเทน CH4 อีทีน CH2=CH2 O CH3 C CH3 เมทานามีน เมทานาไมด CH3-NH2 O H C NH2 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 27. 27 การจําแนกสารอินทรียโดยใชหมูฟงกชันเปนเกณฑ ไดดังนี้ สารอินทรีย ไฮโดรคารบอน (Hydrocarbon) อนุพันธของไฮโดรคารบอน อะลิฟาติก อะลิไซคลิก อะโรมาติก aliphatic alicyclic aromatic hydrocarbon hydrocarbon hydrocarbon แอลเคน ไซโคลแอลเคน แอลคีน ไซโคลแอลคีน แอลไคน ไซโคลแอลไคน มีธาตุ O มีธาตุ N มีธาตุ O , N แอลกอฮอล ฟนอล เอมีน เอไมด แอลดีไฮด คีโตน กรดคารบอกซิลิก เอสเทอร อีเทอร แบบฝกหัด 1. ใหระบุวาสารประกอบตอไปนี้เปนสารประกอบประเภทใด มีหมูฟงกชันชื่ออะไร  สูตรโครงสราง CH3CH=C(CH3)2 ประเภทสารประกอบ หมูฟงกชัน แอลคีน พันธะคู CH3CH2CHNH2 CH3 เอมีน อะมิโน CH3 O อีเทอร ออกซี กรดคารบอกซิลิก คารบอกซิล คีโตน คารบอนิล COOH CH3 CH3CH2COCH3 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 28. 28 สูตรโครงสราง ประเภทสารประกอบ หมูฟงกชัน กรดคารบอกซิลิก คารบอกซิล CH3CH2CH2CH(CH2)2CH3 OH O CH3 -CH2-C-O-CH3 แอลกอฮอล ไฮดรอกซิล เอสเทอร แอลคอกซีคารบอนิล CH3 CH2CONH2 เอไมด เอไมด แอลไคน พันธะสาม O OH บันทึกเพิ่มเติม “จิตที่คิดจะใหยอมอยูเปนสุข สวนจิตทีคิดจะเอายอมอยูเปนทุกข” ่ “กุศลเกิดจากคนทําดี คนจะดีเกิดจากจิตใจที่ดี” หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 29. 29 11.3 สารประกอบไฮโดรคารบอน จุดประสงคการเรียนรู 1. บอกความหมายและจําแนกประเภทของสารประกอบไฮโดรคารบอนได 2. เขียนสูตรทั่วไป สูตรโมเลกุลและสูตรโครงสราง พรอมทั้งเรียกชื่อแอลเคน แอลคีน แอลไคนและไซโคลแอลเคนและไซโคลแอลคีนได 4. อธิบายความแตกตางระหวางไอโซเมอรโครงสรางกับไอโซเมอรเรขาคณิต 5. อธิบายสมบัติและการเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบไฮโดรคารบอนที่มีจํานวนอะตอม ของคารบอนเทากันแตชนิดของพันธะในโมเลกุลตางกัน พรอมทั้งบอกเหตุผลได 6. ระบุ ชนิด ของไอโซเมอรเ รขาคณิตของสารประกอบแอลคีน ไดว า เปน แบบซี สหรื อ ทรานส 7. อธิ บายแนวโนมความสัมพัน ธระหวางจุดหลอมเหลวและจุ ดเดือดของแอลเคน ไซโคลแอลเคน แอลคีนและแอลไคนกับจํานวนอะตอมของคารบอนได 8. บอกประโยชนหรืออันตรายของไฮโดรคารบอนชนิดตางๆ ได 9. ทํ า การทดลองเพื่ อ เปรี ย บเที ย บสมบั ติ แ ละปฏิ กิ ริ ย าบางประการของสารประกอบ ไฮโดรคารบอนประเภทตาง ๆ พรอมทั้งเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได สาระสําคัญ สารประกอบไฮโดรคารบอน หมายถึงสารประกอบอินทรียที่ประกอบดวยธาตุคารบอน และไฮโดรเจนเทานั้น แบงตามลักษณะโครงสรางโมเลกุล จะได 3 ประเภท คือ 1. อะลิ ฟ าติ ก ไฮโดรคาร บ อน (Aliphatic Hydrocarbon) หมายถึ ง สารประกอบ ไฮโดรคารบอนที่มีคารบอนอะตอมตอกันเปนสายแบบโซเปด (open chain) อาจตอกันเปนสาย ยาว ไมมีกิ่ง เรียกวาโซตรง (straight chain) หรือตอกันเปนกิ่งกับคารบอนในสายยาว เรียกวา โซกิ่ง (branch chain) อะลิฟาติกไฮโดรคารบอนแบงเปน 3 ประเภทตามชนิดของพันธะเคมี คือ แอลเคน (alkane) ซึ่งมีพันธะเดี่ยว แอลคีน (alkene) มีพันธะคู และแอลไคน (alkyne) มีพันธะสาม 2. อะลิไซคลิกไฮโดรคารบอน (Alicyclic Hydrocarbon) หรือไฮโดรคารบอนแบบวง หมายถึงไฮโดรคารบอนที่มีคารบอนอะตอมตอกันเปนวง ซึ่งอาจตอกันเปนวงดวยคารบอนทั้งหมด หรือดวยคารบอนบางสวนก็ได แบงเปน 3 ประเภท ตามชนิดของพันธะ คือ ไซโคลแอลเคน (cycloalkane) ไซโคลแอลคีน (cycloalkene) และไซโคลแอลไคน (cycloalkyne) 3. อะโรมาติกไฮโดรคารบอน (Aromatic Hydrocarbon) หมายถึง ไฮโดรคารบอนที่มี วงแหวนเบนซีนเปนโครงสรางหลัก หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 30. 30 แบ งประเภทของไฮโดรคารบอนตามชนิดของพันธะระหว าง คารบอน-คาร บอน ใน โมเลกุลได 2 ประเภท คือ 1. สารประกอบไฮโดรคารบอนอิ่มตัว (Saturated Hydrocarbon) หมายถึง สารประกอบ ไฮโดรคารบอนที่อะตอมคารบอนยึดเหนี่ ยวกับอะตอมคารบอนอื่น ๆ ด วยพันธะเดี่ยวทั้งหมด โมเลกุลพวกนี้จะมีไฮโดรเจนมาเกาะที่คารบอนมากที่สุด จึงเรียกวาสารประกอบไฮโดรคารบอน อิ่มตัว ไมสามารถรับไฮโดรเจนเพิ่มไดอีก ไดแก แอลเคน และไซโคลแอลเคน 2. สารประกอบไฮโดรคาร บ อนไม อิ่ ม ตั ว (Unsaturated Hydrocarbon) หมายถึ ง สารประกอบไฮโดรคารบอนที่โมเลกุลมีพันธะคูหรือพันธะสามระหวางคารบอนกับคารบอนอยาง นอย 1 พันธะ โมเลกุ ล เหล านี้จ ะมี ไฮโดรเจนมาเกาะที่ คารบ อนนอยกวาสารประกอบอิ่มตัว สามารถนํามาเติมไฮโดรเจนใหกลายเปนสารประกอบอิ่มตัวได ไดแก แอลคีน แอลไคน ไซโคลแอลคีน ไซโคลแอลไคน และอะโรมาติกไฮโดรคารบอน 11.3.1 สมบัติบางประการของสารประกอบไฮโดรคารบอน 1. เปนโมเลกุลโคเวเลนตไมมีขั้ว มีทั้งสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส 2. ไมละลายน้ําหรือละลายไดนอยมาก เนื่องจากเปนโมเลกุลไมมีขั้ว มีความหนาแนน นอยกวาน้ํา 3. ละลายไดดีในตัวทําละลายไมมีขั้ว โดยเฉพาะตัวทําละลายอินทรีย 4. จุดเดือด จุดเหลอมเหลวคอนขางต่ํา เมื่อเทียบกับสารอื่น ๆ ที่มีมวลโมเลกุลใกลเคียงกัน เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลเปนแรงแวนเดอรวาลส 5. ไมนําไฟฟาในทุกสถานะ 6. เกิดปฏิกิริยาเผาไหมไดงาย จัดเปนประเภทคายความรอน เผาไหมสมบูรณจะได CO2 และ H2O โดยไมมีเขมา แตถาเผาไหมไมสมบูรณจะเกิดเขมา 7. ในการเกิดปฏิกิริยา พวกสารประกอบไฮโดรคารบอนอิ่มตัวจะเกิดปฏิกิริยาแทนที่ (substitution reaction) พวกไมอิ่มตัวจะเกิดปฏิกิริยาการเติม (addition reaction) การเผาไหมของสารประกอบไฮโดรคารบอน 1. เผาไหม อ ย า งสมบู ร ณ เมื่ อ ติ ด ไฟแล ว ให เ ปลวไฟสว า ง ไม มี ค วั น ไม มี เ ขม า ผลิตภัณฑที่ได คือ CO2 และ H2O ไดแก การเผาไหมของไฮโดรคารบอนอิ่มตัว 2. เผาไหมไมสมบูรณ ติดไฟแลวใหเปลวไฟสวาง พรอมกับมีควันหรือเขมา ผลิตภัณฑ ที่ ไ ด นอกจากเป น CO 2 และ H 2 O แล ว ยั ง ได CO และ C ด ว ย ได แ ก ก ารเผาไหม ข อง ไฮโดรคารบอนไมอิ่มตัว ปริมาณเขมาจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อมีความไมอิ่มตัวมากขึ้น หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 31. 31 การพิจารณาการเกิดเขมาจากการเผาไหม 1. พิจารณาจากชนิดของพันธะ ปริมาณเขมาเมื่อเผาไหม พันธะคู<พันธะสาม<อะโรมาติก 2. พิจารณาจากอัตราสวนระหวางระหวาง C:H ในโมเลกุล สารที่มี C:H นอยจะมีเขมา นอย สารที่มี C:H มาก จะมีเขมามาก แอลเคน เชน C6H14 แอลคีน เชน C6H12 แอลไคน เชน C6H10 อะโรมาติก เชน C6H6 C H C H C H C H 6 14 = 6 12 = 6 10 =6 6 = = 6:14 = 1:2.33 = 6:12 = 1:2 = 6:10 = 1:1.67 = 6:6 = 1:1 (มีเขมามากที่สุด) การเผาไหมของสารประกอบไฮโดรคารบอนเกิดขึ้นอยางสมบูรณ เขียนสมการทั่วไป ดังนี้ CXHY + Y⎞ ⎛ ⎜x+ ⎟ 4⎠ ⎝ O2 xCO2 + Y H2O 2 การทดลองที่ 11 .3 สมบัติบางประการของสารประกอบไฮโดรคารบอน วัตถุประสงค 1. ทําการทดลองเพื่อศึกษาสมบัติบางประการของสารประกอบไฮโดรคารบอนบางชนิดได 2. บอกสมบัติการละลายน้ํา การเผาไหม การฟอกจางสีโบรมีนและสารละลาย โพแทสเซียมเปอรแมงกาเนตของเฮกเซน เฮกซีน และเบนซีนได อุปกรณและสารเคมี 1. เฮกเซน 2. เฮกซีนหรือไซโคลเฮกซีน 3. สารละลาย KMnO4 4. น้ํากลั่น หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย 5. หลอดทดลองขนาดเล็ก 6. จานหลุมโลหะ 7. ไมขีดไฟ 8. หลอดหยด รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 32. 32 วิธีทดลอง 1. หยดเฮกเซนและน้ําอยางละ 5 หยด ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก เขยา สังเกตการ ละลาย 2. หยดเฮกเซน ลงในจานหลุมโลหะ 5 หยด จุดไฟ สังเกตการลุกไหม 3. หยดเฮกเซน 5 หยด ลงในหลอดทดลองขนาดเล็ก แลวหยดสารละลายโพแทสเซียม เปอรแมงกาเนตลงไป 2 หยด เขยา สังเกตการเปลี่ยนแปลง 4. ทําการทดลองเชนเดียวกับขอ 1 – 3 โดยใชเฮกซีนแทนเฮกเซน 5. ศึก ษาสมบัติของเฮกเซน เฮกซีน และเบนซีน โดยใชขอมูลที่ ไ ดจากการทดลอง ประกอบกับขอมูลที่กําหนดให เฮกเซน เฮกซีน เ บนซีน การละลายน้ํา เฮกเซน เฮกเซน เฮกเซน เฮกซีน การเผาไหม เฮกซีน เ บนซีน ทําปฏิกิริยากับ Br2 เฮกซีน เ บนซีน เ บนซีน ทําปฏิกิริยากับ KMnO4 รูป 11.2 ภาพสรุปวิธีทดลองสมบัตบางประการของสารประกอบไฮโดรคารบอน ิ ที่มา : เซียดฟา เสรีรัตนเกียรติ 2550 หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 33. 33 ผลการทดลอง สาร การละลายน้ํา การเผา ไหม เฮกเซน ไมละลายแยก เปน 2 ชั้นโดย เฮกเซนอยูชน ั้ บน น้ําอยูชน ั้ ลาง ติดไฟให เปลวไฟ สวาง ไม มีควัน เฮกซีน ไมละลายแยก เปน 2 ชั้นโดย เฮกซีนอยูชั้น บน น้ําอยูชน ั้ ลาง ติดไฟให เปลวไฟ สวางและ มีเขมา เบนซีน ไมละลายแยก เปน 2 ชั้นโดย เบนซีนอยูชั้น บน น้ําอยูชน ั้ ลาง ติดไฟงาย ใหเปลว ไฟที่มี ควันและ เขมามาก หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย สมบัติที่ทดสอบ การทําปฏิกิริยากับ Br2/CCl4 และ การทําปฏิกิริยา ทดสอบแกสทีเ่ กิดขึ้นดวย กับสารละลาย กระดาษลิตมัส KMnO4 ในที่มืด ในที่สวาง สารละลาย สารละลาย สารละลาย KMnO4 ไม โบรมีนและ โบรมีนเปลี่ยนสี เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัส จากสีน้ําตาลแดง ไมเปลี่ยนสี เปนไมมีสี และ กระดาษลิตมัสสี น้ําเงินเปลี่ยนเปน สีแดง สารละลาย สารละลาย สารละลาย KMnO4 เปลี่ยน โบรมีนเปลี่ยนสี โบรมีนเปลี่ยนสี จากสีมวงเปน จากสีน้ําตาล จากสีน้ําตาลแดง ไมมีสีและมี แดงเปนไมมีสี เปนไมมีสี และ ตะกอนสีน้ําตาล และกระดาษ กระดาษลิตมัสไม ดําเกิดขึน ้ ลิตมัสไมเปลี่ยน เปลี่ยนสี เล็กนอย สี สารละลาย สารละลาย สารละลาย โบรมีนและ โบรมีนและ KMnO4 ไม เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัส กระดาษลิตมัสไม ไมเปลี่ยนสี เปลี่ยนสี รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 34. 34 สรุปผลการทดลอง 1. สารประกอบไฮโดรคารบอนทั้ง 3 ชนิด คือ เฮกเซน เฮกซีน และเบนซีน ไมละลายน้ํา แสดงวาสารทั้ง 3 ชนิดเปนโมเลกุลโคเวเลนตไมมีขั้ว 2. สารประกอบไฮโดรคารบอนทั้ง 3 ชนิด แยกชั้นลอยอยูสวนบนของผิวน้ํา แสดงวา สารประกอบไฮโดรคารบอนมีความหนาแนนนอยกวาน้ํา 3. การเผาไหมอยางสมบูรณของสารประกอบไฮโดรคารบอนเปนปฏิกิริยาคายความรอน ไดผลิตภัณฑเปนแกสคารบอนไดออกไซดและน้ํา แตการเผาไมของเฮกเซนไมมีเขมา สวนเฮกซีน มีเขมาเล็กนอย และเบนซีนมีเขมามาก แสดงวา เฮกเซนเผาไหมไดสมบูรณ สวนเฮกซีนและ เบนซีนเผาไหมไมสมบูรณ 4. จากปฏิกิริยาระหวางสารประกอบไฮโดรคารบอนทั้งสามชนิดกับสารละลายโบรมีนและ สารละลายโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนตมีความแตกตางกัน จําแนกเปน 3 ประเภท คือ 4.1 เฮกเซนไมเกิดปฏิกิริยาฟอกจางสีสารละลายโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนต แต เกิดปฏิกิริยาฟอกสีสารละลายโบรมีนไดในที่สวางเทานั้น แสดงวาตองมีแสงเปนตัวเรงปฏิกิริยา จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาได และไดผลิตภัณฑที่เปนแกสมีสมบัติเปนกรด 4.2 เฮกซีนเกิดปฏิกิริยาฟอกจางสีสารละลายโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนต และฟอกจาง สีสารละลายโบรมีนไดทั้งในที่มืดและสวาง 4.3 เบนซีนไมสามารถเกิดปฏิกิริยาฟอกจางสีสารละลายโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนต และไมเกิดปฏิกิริยาฟอกจางสีสารละลายโบรมีนไดทั้งในที่มืดและสวาง ตอบคําถามทายการทดลอง 1. เฮกเซน เฮกซีน และเบนซีนมีสมบัติเหมือนหรือตางกันอยางไร ตอบ เฮกเซน เฮกซีน และเบนซีนมีสมบัติที่เหมือนกัน คือ เปนโมเลกุลโคเวเลนตไมมีขั้ว ิ ไมละลายน้ํา และสามารถติดไฟได สมบัติที่แตกตางกันคือ ลักษณะการเกิดปฏิกิรยา 2. สารประกอบไฮโดรคารบอนทั้ง 3 ชนิด เปนโมเลกุลมีขั้วหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ เปนโมเลกุลไมมีขั้ว เพราะไมสามารถละลายในน้ําซึ่งเปนโมเลกุลมีขั้วได 3. ความหนาแนนของเฮกเซน เฮกซีน และ เบนซีน เปนอยางไรเมื่อเปรียบเทียบกับน้ํา ทราบไดอยางไร เพราะเหตุใด ตอบ ความหนาแนนนอยกวาน้ํา ทราบจากสารทั้งสามลอยอยูเหนือผิวน้ํา เนื่องจากสารประกอบ ไฮโดรคารบอนเปนโมเลกุลโคเวเลนตไมมีขั้ว แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลนอย โมเลกุลอยูหาง กันจึงทําใหมีความหนาแนนนอย สวนน้ําเปนโมเลกุลโคเวเลนตมีขั้วและมีพันธะไฮโดรเจนยึด เหนี่ยวระหวางโมเลกุล จึงทําใหโมเลกุลอยูชิดกันมากกวา ความหนาแนนจึงมากกวา หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 35. 35 4. สารชนิดใดเหมาะสมที่จะเปนเชื้อเพลิงมากที่สุด เพราะเหตุใด ตอบ เฮกเซนเหมาะสมที่จะเปนเชื้อเพลิงมากที่สุด เพราะเผาไหมอยางสมบูรณ ไมมีเขมา 5. เฮกเซน เฮกซีน และเบนซีน ควรจัดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอนประเภทเดียวกัน หรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมควรจัดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอนประเภทเดียวกัน เพราะมีสมบัติที่แตกตางกันใน ดานการเกิดปฏิกิริยาเคมี อันเปนผลเนื่องจากสารทั้งสามมีสูตรโครงสรางแตกตางกัน 6. จงเขียนสูตรโครงสรางของเฮกเซน เฮกซีน และเบนซีน ตอบ เฮกเซน CH3-CH2-CH2-CH2-CH2-CH3 H เฮกซีน CH2=CH-CH2-CH2-CH2-CH3 HC C CH HC CH เบนซีน C H แบบฝกหัด 1. จงเขียนสมการแสดงการเผาไหมอยางสมบูรณของสารตอไปนี้ 1.1 2C6H14 + 19O2 12CO2 + 14H2O 1.2 C3H8 + 5O2 3CO2 + 4H2O 1.3 C3H4 + 4O2 3CO2 + 2H2O 12CO2 + 6H2O 1.4 2C6H6 + 15O2 1.5 2 C5H10 + 15O2 10CO2 + 10 H2O 2. จากขอ 1 ถาใชสารดังกลาวอยางละ 0.5 โมล จะตองใช O2 กี่โมล จึงจะเกิดปฏิกิริยาเผาไหม อยางสมบูรณ 2.1 C6H14 ใช O2 4.75 โมล ใช O2 2.50 โมล 2.2 C3H8 2.3 C3H4 ใช O2 2.00 โมล 2.4 C6H6 ใช O2 3.75 โมล 2.5 C5H10 ใช O2 3.75 โมล 3. จากสูตรโครงสรางตอไปนี้ จงเรียงลําดับปริมาณของเขมาที่เกิดขึ้นจากมากไปหานอย เมื่อนําไป เผาในสภาวะปกติ ข. CH3-C ≡ C-CH2-CH3 ก. CH3-CH=CH-CH2-CH3 ค. ตอบ ค > ข > ก หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 36. 36 4. จงทํานายวาสารประกอบไฮโดรคารบอนจํานวน 1 โมล แตละคูตอไปนี้ชนิดใดเผาไหมแลวให เขมามากกวากัน ก. C3H8 กับ C3H6 ตอบ C3H6 ตอบ C6H5- CH3 ข. C6H5- CH3 กับ C6H14 ค. C4H10 กับ C5H10 ตอบ C5H10 ง. C6H6 กับ C6H10 ตอบ C6H6 5. กําหนดตารางแสดงสมบัติของสาร A B C และ D ดังตอไปนี้ สมบัติ สาร การละลายน้ํา การเผาไหม A ละลาย ไมหลอมเหลว ไมติดไฟ B ไมละลาย ติดไฟ มีเขมา C ละลาย หลอมเหลว ไมติดไฟ D ไมละลาย ติดไฟ ไมมีควันและเขมา ก. สารชนิดใดเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน เพราะเหตุใด ตอบ สาร B และ D เพราะไมละลายน้ําและสามารถติดไฟได ข. สารชนิดใดทําปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนในที่สวาง และสารละลายโพแทสเซียม เปอรมังกาเนตได ตอบ สาร B บันทึกเพิ่มเติม “เมื่อมีหนาที่อยางไรแลว จะตองมีความรับผิดชอบและพยายามทําหนาที่ของตนใหดที่สุด” ี หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี
  • 37. 37 11.3.2 ประเภทของสารประกอบไฮโดรคารบอน 11.3.2.1 แอลเคนและไซโคลแอลเคน (Alkane and Cycloalkane) แอลเคน เปนสารประกอบไฮโดรคารบอนแบบโซเปด ประเภทอิ่มตัว มีชื่ออีกอยางหนึ่ง วา “พาราฟน ไฮโดรคารบอน” หรือเรียกสั้น ๆ วา พาราฟน มีทั้งที่เกิดในธรรมชาติ เชน ใน น้ํามันดิน น้ํามันปโตรเลียม และแกสธรรมชาติ นอกจากนี้ยังสามารถสังเคราะหขึ้นมาได สูตรทั่วไปของแอลเคน คือ CnH2n+2 โมเลกุลที่เล็กที่สุดของแอลเคน คือ มีเทน (CH4) มีรูปรางและมุมพันธะ ดังนี้ ~109.5o รูป 11.3 รูปรางและมุมพันธะของมีเทน ที่มา:เซียดฟา เสรีรัตนเกียรติ 2550 การเรียกชื่อแอลเคน การเรียกชื่อแอลเคนตามระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) แอลเคนที่มีโครงสรางเปนโซตรง (Straight Chain) เรี ย กชื่อ ตามจํ า นวนอะตอมของคารบ อน โดยใช จํ า นวนนั บ ในภาษากรีก ระบุ จํ า นวน อะตอมของคารบอน แลวลงทายดวย เ-น (-ane) 1 = meth – มี - เมท 6 = hex - เฮกซ 2 = eth – อี - เอท 7 = hept - เฮปท 3 = prop – โพรพ 8 = oct - ออกท 4 = but – บิวท 9 = non - โนน 5 = pent - เพนท 10 = dec - เดค – แอลเคนที่มีโครงสรางเปนโซกิ่ง (branched chain) โซกิ่ง คือ หมูแอลคิล (alkyl group) หมายถึงหมูที่เกิดจากการลดจํานวนอะตอมของ ไฮโดรเจนในแอลเคน ลง 1 อะตอม มีสัญลักษณ เปน -R สูตรทั่วไปเปน CnH2n+1 การเรียกชื่อ เหมือนแอลเคน แตลงทายดวย - yl หนวยการเรียนรูที่ 11 เคมีอินทรีย รหัสวิชา ว40233 ครูอังสุนีย มังคละคีรี