SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
รูปแบบการสัมมนา
การสัมมนา มีรูปแบบและวิธีการปฏิบัติหลายรูป แต่ที่เป็น
ที่นิยมมี ดังนี้
๑. การอภิปรายแบบคณะ Panel Discussion
๒. การอภิปรายแบบซิมโพเซียม Symposium
๓. การอภิปรายแบบเสียงกระซิบ Buzz Discussion
๔. การอภิปรายแบบระดมสมอง Brain Storming
๕. การอภิปรายแบบฟอรัม Forum
๖. การอภิปรายแบบบทบาทสมมุติ Role Playing
๗. การอภิปรายแบบตอบกลับ Circular Response
๘. การอภิปรายแบบโต๊ะกลม Round Table
๑. การอภิปรายแบบคณะ Panel Discussion
เทคนิคการสัมมนาแบบคณะเป็นการอภิปรายหัวข้อ
ตามที่ได้กำาหนดไว้ จากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำานวนประมาณ
๓-๘ คน โดยผู้อภิปรายแต่ละคน เสนอข้อมูล ความรู้ ข้อเท็จ
จริงและความคิดเห็นของตนเองแก่ผู้ฟัง การอภิปรายแบบ
คณะ มึวัตถุประสงค์ที่จะให้ผู้เข้าสัมมนา ได้รับความรู้ความ
คิดเห็นที่แตกต่างกัน เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนาได้รับความรู้
และประสบการณ์กว้างขวางยิ่งขึ้น ดังนั้นวิทยากรที่มาสัมมนา
จึงจำาเป็นต้องมีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องนั้น ๆ อย่างลึก
ซึ้งและดีเยี่ยม
วิธีการดำาเนินการอภิปราย
อภิชยา นิเวศน์, อ้างใน
http://www.gotoknow.org/posts/155839 (บันทึก ๑๒ สิงหาคม
๒๕๕๗).
๑. พิธีกรดำาเนินการการตามกำาหนดการ โดยเชิญ
ประธานเปิดการสัมมนา หลังจากนั้นพิธีกรแนะนำาหัวข้อที่จะ
ดำาเนินการสัมมนาและผู้ร่วมดำาเนินการอภิปรายทุกคน
๒. เริ่มดำาเนินการอภิปราย โดยเปิดโอกาสให้ผู้อภิปราย
แสดงความคิดเห็นของตนอย่างอิสระ หลังจากนั้นพิธีกรอาจ
จัดช่วงเวลาสำาหรับแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้อภิปราย
ด้วยกันเอง โดยพิธีกรเป็นผู้สรุปในแต่ละตอน
๓. การจัดสถานที่การสัมมนา ควรจัดเวทียกพื้นและมี
โต๊ะสำาหรับการวางเอกสารและวัสดุต่าง ๆ ให้แก่ผู้อภิปราย
โดยจัดเป็นลักษณะแถวเดี่ยวหรือรูปโค้งเล็กน้อย
๒. การอภิปรายแบบซิมโพเซียม Symposium
การอภิปรายแบบนี้เหมาะกับการประชุมทางวิชาการ
ซึ่งจะประกอบด้วยผู้เชียวชาญซึ่งอาจจะเป็นวิทยากรประมาณ
๒-๖ คน การอภิปรายแบบนี้จะมีลักษณะของความเป็น
ทางการค่อนข้างมาก ฉะนั้นผู้อภิปรายจึงต้องมีการเตรียมตัว
ล่วงหน้ามาอย่างดี ซึ่งผู้อภิปรายจะเตรียมความรู้ในส่วนของ
ตนที่รับผิดชอบตอนใดตอนหนึ่งที่ตนได้รับมอบหมายซึ่งการ
บรรยายในการอภิปรายแบบนี้วิทยากรจะไม่ก้าวก่ายหรือซำ้า
ซ้อนกับ หัวข้อของวิทยากรท่านอื่น โดยวิทยากรแต่ละท่าน
ต้องเสนอแนวคิดที่ตรงประเด็นเป้าหมายให้มากที่สุด โดย
แต่ละท่านจะใช้เวลาประมาณ ๑๐-๑๕ นาที
วิธีการดำาเนินการอภิปราย
๑. พิธีกรเชิญประธานเปิดการอภิปราย จากนั้นแนะนำา
หัวข้อที่บรรยายและแนะนำาพิธีกรภูมิหลังของวิทยากรแต่ละ
ท่าน
๒. เริ่มการบรรยายโดยพิธีกรหรือประธานจะเป็นผู้เชื่อม
โยงการบรรยายของวิทยากร แต่ละท่านและสรุปบางตอนที่มี
เนื้อหาประทับใจเป็นพิเศษและคอยประสานงานให้การ
2
บรรยายดำาเนินไปตามหัวข้อ และวัตถุประสงค์ที่วางไว้ หรือ
พิธีกรอาจจะหาเลขานุการมาเพื่อช่วยในการเตรียมการและ
ประสานงานด้านต่าง ๆ เพื่อทำาให้เกิดความคล่องตัว
๓. การจัดที่นั่งสำาหรับผู้บรรยาย ควรจัดให้สูงกว่าผู้ฟัง
เพื่อให้ผู้ฟังมองเห็นผู้บรรยายอย่างชัดเจน
๓. การอภิปรายแบบเสียงกระซิบ Buzz Discussion
การอภิปรายแบบนี้ผู้ที่นำามาใช้คนแรกคือ
Mr.Donald Phillips การอภิปรายแบบนี้เป็นลักษณะของ
การประชุมที่เปิดโอกาสให้สมาชิกซึ่งประกอบด้วย ประธาน
เลขานุการ และสมาชิกที่เข้าร่วมประชุม ได้แสดงความคิด
เห็นในระยะเวลาสั้น ๆ โดยแบ่งสมาชิกออกเป็นกลุ่มย่อยกลุ่ม
ละ ๕-๖ คน เพื่ออภิปรายปัญหาต่าง ๆ ที่ได้กำาหนดขึ้นโดย
แต่ละกลุ่มจะใช้เวลาในการอภิปรายประมาณ ๕-๖ นาที
สาเหตุที่กำาหนดให้สมาชิกในกลุ่มมีจำานวนไม่มากเนื่องจาก
ต้องการให้ทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
อย่างเต็มที่ ไม่กระดากอายในการแสดงความคิดเห็น และ
ปราศจากการวิจารณ์หรือตัดสินว่าความคิดนั้นถูกหรือผิด
วิธีการดำาเนินการอภิปราย
๑. ผู้อภิปรายแนะนำาหลักการในการประชุมกลุ่มย่อย
การแบ่งกลุ่มและให้แต่ละกลุ่มนำาหัวข้อไปพิจารณาอภิปราย
และสรุปผลการอภิปราย
๒. สมาชิกของแต่ละกลุ่มเลือก ประธาน และเลขานุการ
สำาหรับการดำาเนินการอภิปราย
๓. ประธานนำาการอภิปรายในแต่ละกลุ่ม โดยเปิดโอกาส
ให้สมาชิกของกลุ่มได้แสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง
เลขานุการเป็นผู้บันทึกผลการอภิปราย
3
๔. ประธานหรือเลขานุการ หรือตัวแทนกลุ่มสรุป และนำา
ความคิดหรือผลการอภิปรายของแต่ละกลุ่มเสนอต่อที่ประชุม
ใหญ่ในช่วงของการเสนอผลการประชุม
๔. การอภิปรายแบบระดมสมอง Brain Storming
ผู้ที่นำาวิธีการอภิปรายแบบระดมสมองมาใช้เป็น
ท่านแรก คือ Mr.Alex Osborn การอภิปรายแบบนี้เป็นการ
กระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมอภิปรายเกิดความคิดสร้างสรรค์ ฉะนั้น
เมื่อถึงตอนการดำาเนินการอภิปรายที่สำาคัญ จะต้องเปิดโอกาส
ให้สมาชิกทุกคนแสดงความคิดเห็น และมีเสรีภาพในการ
แสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง ทั้งนี้เพื่อเป็นการระดม
พลังสมองของแต่ละคนในการแก้ปัญหานั้น โดยปราศจาก
การสกัดกั้นทางความคิด ใครจะแสดงความคิดเห็นก่อนหลัง
ได้ตามโอกาส สำาหรับในช่วงแรกของการสัมมนาจะไม่มีการ
วิเคราะห์ วิจารณ์ หรือตีความคิดเห็น หรือแม้แต่ข้อเสนอแนะ
ของสมาชิกโดยเด็ดขาด แต่จะใช้เวลาช่วงหลังของการ
สัมมนาจะปล่อยให้สมาชิกทุกคนได้แสดงความคิดเห็นและ
ต้องทำาอย่างทั่วถึงซึ่งจะใช้เวลานานพอสมควร ซึ่งตลอด
เวลาของการแสดงความคิดเห็นเลขานุการจะต้องบันทึกไว้
ทั้งหมด โดยการบันทึกดังกล่าวสมาชิกทุกคนต้องเห็นร่วมกัน
และรับทราบร่วมกัน
วิธีการดำาเนินการอภิปราย
๑. ประธานเสนอหัวข้อหรือปัญหาให้ที่ประชุมรับทราบ
๒. ประธานอธิบายความมุ่งหมายและสาระสำาคัญของ
หัวข้อประชุมให้สมาชิกทราบ และตลอดทั้งความคาดหวังที่จะ
ได้รับรับจากการประชุม
๓. กำาหนดระยะเวลาในแสดงความคิดเห็นตามความ
เหมาะสม
4
๔. เปิดโอกาสให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นอย่างมีอิสร
เสรี
๕. สรุปประเมินค่าความสำาคัญข้อเสนอแนะ หรือความ
คิดเห็นในอันที่จะนำาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ
๖. สิ่งสำาคัญประธานควรจัดและควบคุมให้จำานวน
สมาชิกของกลุ่มมีจำานวนที่เหมาะสม คือประมาณ ๘-๒๐ คน
๗. ในการจัดสถานที่สามารถจัดได้หลายรูปแบบแต่ควร
จัดที่นั่งให้สามารถเอื้ออำานวยให้สมาชิกทุกคนมองเห็นหน้า
กัน และได้ยินข้อเสนอแนะหรือความคิดเห็นได้อย่างชัดเจน
๕. การอภิปรายแบบฟอรัม Forum
การอภิปรายแบบนี้ประกอบด้วยผู้ดำาเนินการ
อภิปรายและผู้อภิปราย ซึ่งผู้อภิปรายหรือผู้ที่ได้รับเชิญมา
บรรยายในเรื่องนั้น ๆ จะประกอบด้วยผู้อภิปรายคนเดียวหรือ
หลายคนก็ได้ ถ้ามีผู้อภิปรายคนเดียวเมื่อบรรยายจบก็จะเปิด
โอกาสให้ผู้ฟังซักถามปัญหาได้ตามเวลาที่จัดไว้ การอภิปราย
แบบ Forum เหมาะที่จะนำามาใช้ในการอภิปรายหรือเสนอ
แนะปัญหาของบ้านเมือง เช่น การประชุมระดับหมู่บ้าน ระดับ
อำาเภอ หรือระดับจังหวัด หรือการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งใน
ทางการเมือง เราลองมาดูความหมายของคำาว่า Forum
๑. การอภิปรายแบบ Forum จะเป็นการที่ผู้ฟังมีส่วน
ร่วมในการซักถามปัญหาหลังการอภิปราย หรือปาฐกถา ซึ่ง
รูปแบบของการจัดขึ้นอยู่กับชนิดของการประชุม เช่นการ
ประชุมแบบ Panel Forum ,Symposium Forum ฯลฯ
๒. การอภิปรายที่ผู้ฟังมีส่วนร่วมด้วยตั้งแต่เริ่มการประชุม
เรียกว่า Open Froum การอภิปรายแบบนี้มีผู้อภิปรายเพียง
คนเดียว เมื่อผู้บรรยายจบแล้วผู้ฟังจะตั้งคำาถาม หรือแสดง
ความคิดเห็น เช่น การรายงานตัวของผู้เข้ารับตำาแหน่งใหม่
กับผู้บังคับบัญชา เป็นต้น
5
๓. การอภิปราย ณ ที่สาธารณะที่จัดขึ้นเป็นประจำา เพื่อ
แก้ปัญหาส่วนรวม เช่น Commuity Forum หรือการ
รณรงค์หาเสียงของสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สรุป ว่าการประชุมสัมมนาแบบ Forum ควรมีผู้ดำาเนิน
การอภิปรายที่มีความรู้ ความสามารถและเข้าใจถึงปัญหา
อย่างลึกซึ้งเป็นผู้ดำาเนินการอภิปราย เพื่อจะได้บรรลุ
วัตถุประสงค์อย่างสูงสุด
๖. การอภิปรายแบบบทบาทสมมุติ Role Playing
การอภิปรายแบบนี้ผู้ประชุมได้มีโอกาสแสดง
บทบาทสมมุติ ตามสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งเหมือน
สภาพความเป็นจริง แต่จะเน้นลักษณะของปัญหาที่ต้องเผชิญ
และขบวนการแก้ปัญหาในลักษณะต่าง ๆ ส่วนโครงเรื่องนั้นผู้
จัดประชุมจะเป็นผู้กำาหนด แต่จะให้ผู้เข้าร่วมประชุมแสดง
ความรู้สึกออกมาตามบทบาทที่ได้สมมุติไว้ซึ่งการประชุมแบบ
นี้จะเปิดโอกาสให้สมาชิกสัมผัสประสบการณ์ใหม่ ๆ และยัง
เป็นการพัฒนาทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ด้วย
วิธีการดำาเนินการ
๑. ประธานและเลขานุการต้องทราบและเข้าใจ
ปัญหาอย่างชัดเจน โดยประธานและเลขานุการเป็นผู้ทำา
หน้าที่ประสานงานอย่างใกล้ชิดระหว่างสมาชิกที่เข้าร่วม
ประชุม
๒. ประธานจะเลือกผู้ที่จะแสดงในแต่ละบทบาทที่ได้
รับการสมมุติขึ้น ซึ่งควรใช้วิธีการจับสลากและการเลือกตัว
บุคคลไม่ควรบอกให้สมาชิกทราบล่วงหน้า ซึ่งในการแสดง
บทบาทสมมุตินี้ควรให้สมาชิกมีเวลาเตรียมตัวเพียงเล็กน้อย
เท่านั้น
๓. ประธานควรเปิดโอกาสให้สมาชิกแสดงบทบาท
ของตนอย่างเต็มที่
6
๔. ประธานจะดำาเนินการอภิปรายหลังจากที่การ
แสดงจบ โดยการอภิปรายควรเน้นผลที่ได้รับจากการแสดง
ในแต่ละบทบาท
๗. การอภิปรายแบบตอบกลับ Circular Response
MR.LONDERMEN เป็นผู้คิดค้นและเป็นผู้นำามาใช้
เป็นคนแรก การประชุมแบบนี้ควรใช้กลับกลุ่มสมาชิก
ประมาณ ๘-๑๕ คน โดยจัดที่นั่งเป็นรูปวงกลม การประชุมจะ
เริ่มจากประธานกลุ่มเปิดการประชุม จากนั้นประธานจะเป็นผู้
เสนอปัญหาเพื่อให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นการแสดงความ
คิดเห็นของสมาชิกควรเรียงลำาดับทีละคน โดยเริ่มจากคนที่
อยู่ทางด้านขวามือของประธานและเรียงไปตามลำาดับ
วิธีดำาเนินการ
๑. ประธานกล่าวเปิดการประชุมและเสนอปัญหาให้ที่
ประชุมรับทราบและนำาอภิปราย
๒. จากนั้นสมาชิกทางด้านขามือของประธานดำาเนิน
การอภิปรายต่อเมือจบแล้วสมาชิกคนถัดไปอภิปรายและแสดง
ความคิดเห็นของตน จากนั้นการอภิปรายจะดำาเนินต่อเนื่อง
ไปโดยเรียงไปทางขวามือตามลำาดับจนครบโดยจะไม่มีการ
ข้ามสมาชิกท่านใดท่านหนึ่งไป
๓. ถ้าในการอภิปรายในครั้งนั้นหัวข้อเรื่องประเด็น
นั้น ๆ ยังหาข้อยุติไม่ได้หรือสมาชิกต้องการอภิปรายต่อที่
ประชุมจะต้องเปิดเวียนการอภิปรายจนกว่าจะหาข้อมูลยุติ
๔. ในการจัดรูปแบบการอภิปรายจะจัดแบบใดก็ได้
โดยเลขานุการควรนั่งทางซ้ายมือของประธาน และ
เลขานุการจะเป็นผู้จดบันทึก ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ของ
สมาชิกทุกคน
๘. การอภิปรายแบบโต๊ะกลม Round Table
7
การจัดอภิปรายแบบนี้เป็นการจัดให้สมาชิกทุกคน
เห็นหน้ากันเป็นการประชุมที่ เป็นกันเองมากๆ ประธานจะทำา
หน้าที่ในการดำาเนินการประชุม จะมีเลขาเป็นผู้จดบันทึกการ
ประชุม ถ้าสมาชิกท่านใดต้องการแสดงความคิดเห็น สามารถ
ยกมือขึ้นขอพูดได้เลย การประชุมแบบนี้แตกต่างจากแบบ
ตอบกลับคือสมาชิกไม่ต้องเรียงลำาดับจากขวามือของประธาน
และการแสดงความคิดเห็นสามารถแสดงได้อย่างกว้างขวาง
และใช้เวลาตามที่สมาชิกต้องการ
วิธีการดำาเนินการ
๑. ประธานกล่าวเปิดการประชุมเสนอปัญหา
๒. เมื่อสมาชิกรับทราบปัญหาหรือหัวข้อของการ
อภิปรายแล้วถ้าท่านใดต้องการแสดงความคิดเห็นก็ให้ยกมือ
เพื่อขอพูดโดยไม่ต้องเรียงลำาดับ
๓. ถ้าหัวข้อเรื่องหรือประเด็นนั้นยังหาข้อยุติไม่ได้
หรือสมาชิกต้องการอภิปราย ต่อที่ประชุมก็จะเปิดโอกาสให้
อภิปรายต่อจนกว่าจะหาข้อยุติได้
๔. สิ่งสำาคัญประธานต้องกระตุ้นให้สมาชิกได้แสดง
ความคิดเห็น และต้องช่วยสรุปข้อยุติให้ได้
๕. สำาหรับเลขาจะเป็นผู้บันทึกข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ
ของสมาชิกทุกคนและสรุปผลการประชุมเพื่อนำาเสนอต่อ
ประธานและสมาชิกต่อไป
8

More Related Content

What's hot

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 

What's hot (20)

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 

รูปแบบการสัมมนา

  • 1. รูปแบบการสัมมนา การสัมมนา มีรูปแบบและวิธีการปฏิบัติหลายรูป แต่ที่เป็น ที่นิยมมี ดังนี้ ๑. การอภิปรายแบบคณะ Panel Discussion ๒. การอภิปรายแบบซิมโพเซียม Symposium ๓. การอภิปรายแบบเสียงกระซิบ Buzz Discussion ๔. การอภิปรายแบบระดมสมอง Brain Storming ๕. การอภิปรายแบบฟอรัม Forum ๖. การอภิปรายแบบบทบาทสมมุติ Role Playing ๗. การอภิปรายแบบตอบกลับ Circular Response ๘. การอภิปรายแบบโต๊ะกลม Round Table ๑. การอภิปรายแบบคณะ Panel Discussion เทคนิคการสัมมนาแบบคณะเป็นการอภิปรายหัวข้อ ตามที่ได้กำาหนดไว้ จากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำานวนประมาณ ๓-๘ คน โดยผู้อภิปรายแต่ละคน เสนอข้อมูล ความรู้ ข้อเท็จ จริงและความคิดเห็นของตนเองแก่ผู้ฟัง การอภิปรายแบบ คณะ มึวัตถุประสงค์ที่จะให้ผู้เข้าสัมมนา ได้รับความรู้ความ คิดเห็นที่แตกต่างกัน เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนาได้รับความรู้ และประสบการณ์กว้างขวางยิ่งขึ้น ดังนั้นวิทยากรที่มาสัมมนา จึงจำาเป็นต้องมีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องนั้น ๆ อย่างลึก ซึ้งและดีเยี่ยม วิธีการดำาเนินการอภิปราย อภิชยา นิเวศน์, อ้างใน http://www.gotoknow.org/posts/155839 (บันทึก ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗).
  • 2. ๑. พิธีกรดำาเนินการการตามกำาหนดการ โดยเชิญ ประธานเปิดการสัมมนา หลังจากนั้นพิธีกรแนะนำาหัวข้อที่จะ ดำาเนินการสัมมนาและผู้ร่วมดำาเนินการอภิปรายทุกคน ๒. เริ่มดำาเนินการอภิปราย โดยเปิดโอกาสให้ผู้อภิปราย แสดงความคิดเห็นของตนอย่างอิสระ หลังจากนั้นพิธีกรอาจ จัดช่วงเวลาสำาหรับแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้อภิปราย ด้วยกันเอง โดยพิธีกรเป็นผู้สรุปในแต่ละตอน ๓. การจัดสถานที่การสัมมนา ควรจัดเวทียกพื้นและมี โต๊ะสำาหรับการวางเอกสารและวัสดุต่าง ๆ ให้แก่ผู้อภิปราย โดยจัดเป็นลักษณะแถวเดี่ยวหรือรูปโค้งเล็กน้อย ๒. การอภิปรายแบบซิมโพเซียม Symposium การอภิปรายแบบนี้เหมาะกับการประชุมทางวิชาการ ซึ่งจะประกอบด้วยผู้เชียวชาญซึ่งอาจจะเป็นวิทยากรประมาณ ๒-๖ คน การอภิปรายแบบนี้จะมีลักษณะของความเป็น ทางการค่อนข้างมาก ฉะนั้นผู้อภิปรายจึงต้องมีการเตรียมตัว ล่วงหน้ามาอย่างดี ซึ่งผู้อภิปรายจะเตรียมความรู้ในส่วนของ ตนที่รับผิดชอบตอนใดตอนหนึ่งที่ตนได้รับมอบหมายซึ่งการ บรรยายในการอภิปรายแบบนี้วิทยากรจะไม่ก้าวก่ายหรือซำ้า ซ้อนกับ หัวข้อของวิทยากรท่านอื่น โดยวิทยากรแต่ละท่าน ต้องเสนอแนวคิดที่ตรงประเด็นเป้าหมายให้มากที่สุด โดย แต่ละท่านจะใช้เวลาประมาณ ๑๐-๑๕ นาที วิธีการดำาเนินการอภิปราย ๑. พิธีกรเชิญประธานเปิดการอภิปราย จากนั้นแนะนำา หัวข้อที่บรรยายและแนะนำาพิธีกรภูมิหลังของวิทยากรแต่ละ ท่าน ๒. เริ่มการบรรยายโดยพิธีกรหรือประธานจะเป็นผู้เชื่อม โยงการบรรยายของวิทยากร แต่ละท่านและสรุปบางตอนที่มี เนื้อหาประทับใจเป็นพิเศษและคอยประสานงานให้การ 2
  • 3. บรรยายดำาเนินไปตามหัวข้อ และวัตถุประสงค์ที่วางไว้ หรือ พิธีกรอาจจะหาเลขานุการมาเพื่อช่วยในการเตรียมการและ ประสานงานด้านต่าง ๆ เพื่อทำาให้เกิดความคล่องตัว ๓. การจัดที่นั่งสำาหรับผู้บรรยาย ควรจัดให้สูงกว่าผู้ฟัง เพื่อให้ผู้ฟังมองเห็นผู้บรรยายอย่างชัดเจน ๓. การอภิปรายแบบเสียงกระซิบ Buzz Discussion การอภิปรายแบบนี้ผู้ที่นำามาใช้คนแรกคือ Mr.Donald Phillips การอภิปรายแบบนี้เป็นลักษณะของ การประชุมที่เปิดโอกาสให้สมาชิกซึ่งประกอบด้วย ประธาน เลขานุการ และสมาชิกที่เข้าร่วมประชุม ได้แสดงความคิด เห็นในระยะเวลาสั้น ๆ โดยแบ่งสมาชิกออกเป็นกลุ่มย่อยกลุ่ม ละ ๕-๖ คน เพื่ออภิปรายปัญหาต่าง ๆ ที่ได้กำาหนดขึ้นโดย แต่ละกลุ่มจะใช้เวลาในการอภิปรายประมาณ ๕-๖ นาที สาเหตุที่กำาหนดให้สมาชิกในกลุ่มมีจำานวนไม่มากเนื่องจาก ต้องการให้ทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น อย่างเต็มที่ ไม่กระดากอายในการแสดงความคิดเห็น และ ปราศจากการวิจารณ์หรือตัดสินว่าความคิดนั้นถูกหรือผิด วิธีการดำาเนินการอภิปราย ๑. ผู้อภิปรายแนะนำาหลักการในการประชุมกลุ่มย่อย การแบ่งกลุ่มและให้แต่ละกลุ่มนำาหัวข้อไปพิจารณาอภิปราย และสรุปผลการอภิปราย ๒. สมาชิกของแต่ละกลุ่มเลือก ประธาน และเลขานุการ สำาหรับการดำาเนินการอภิปราย ๓. ประธานนำาการอภิปรายในแต่ละกลุ่ม โดยเปิดโอกาส ให้สมาชิกของกลุ่มได้แสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง เลขานุการเป็นผู้บันทึกผลการอภิปราย 3
  • 4. ๔. ประธานหรือเลขานุการ หรือตัวแทนกลุ่มสรุป และนำา ความคิดหรือผลการอภิปรายของแต่ละกลุ่มเสนอต่อที่ประชุม ใหญ่ในช่วงของการเสนอผลการประชุม ๔. การอภิปรายแบบระดมสมอง Brain Storming ผู้ที่นำาวิธีการอภิปรายแบบระดมสมองมาใช้เป็น ท่านแรก คือ Mr.Alex Osborn การอภิปรายแบบนี้เป็นการ กระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมอภิปรายเกิดความคิดสร้างสรรค์ ฉะนั้น เมื่อถึงตอนการดำาเนินการอภิปรายที่สำาคัญ จะต้องเปิดโอกาส ให้สมาชิกทุกคนแสดงความคิดเห็น และมีเสรีภาพในการ แสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง ทั้งนี้เพื่อเป็นการระดม พลังสมองของแต่ละคนในการแก้ปัญหานั้น โดยปราศจาก การสกัดกั้นทางความคิด ใครจะแสดงความคิดเห็นก่อนหลัง ได้ตามโอกาส สำาหรับในช่วงแรกของการสัมมนาจะไม่มีการ วิเคราะห์ วิจารณ์ หรือตีความคิดเห็น หรือแม้แต่ข้อเสนอแนะ ของสมาชิกโดยเด็ดขาด แต่จะใช้เวลาช่วงหลังของการ สัมมนาจะปล่อยให้สมาชิกทุกคนได้แสดงความคิดเห็นและ ต้องทำาอย่างทั่วถึงซึ่งจะใช้เวลานานพอสมควร ซึ่งตลอด เวลาของการแสดงความคิดเห็นเลขานุการจะต้องบันทึกไว้ ทั้งหมด โดยการบันทึกดังกล่าวสมาชิกทุกคนต้องเห็นร่วมกัน และรับทราบร่วมกัน วิธีการดำาเนินการอภิปราย ๑. ประธานเสนอหัวข้อหรือปัญหาให้ที่ประชุมรับทราบ ๒. ประธานอธิบายความมุ่งหมายและสาระสำาคัญของ หัวข้อประชุมให้สมาชิกทราบ และตลอดทั้งความคาดหวังที่จะ ได้รับรับจากการประชุม ๓. กำาหนดระยะเวลาในแสดงความคิดเห็นตามความ เหมาะสม 4
  • 5. ๔. เปิดโอกาสให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นอย่างมีอิสร เสรี ๕. สรุปประเมินค่าความสำาคัญข้อเสนอแนะ หรือความ คิดเห็นในอันที่จะนำาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ๖. สิ่งสำาคัญประธานควรจัดและควบคุมให้จำานวน สมาชิกของกลุ่มมีจำานวนที่เหมาะสม คือประมาณ ๘-๒๐ คน ๗. ในการจัดสถานที่สามารถจัดได้หลายรูปแบบแต่ควร จัดที่นั่งให้สามารถเอื้ออำานวยให้สมาชิกทุกคนมองเห็นหน้า กัน และได้ยินข้อเสนอแนะหรือความคิดเห็นได้อย่างชัดเจน ๕. การอภิปรายแบบฟอรัม Forum การอภิปรายแบบนี้ประกอบด้วยผู้ดำาเนินการ อภิปรายและผู้อภิปราย ซึ่งผู้อภิปรายหรือผู้ที่ได้รับเชิญมา บรรยายในเรื่องนั้น ๆ จะประกอบด้วยผู้อภิปรายคนเดียวหรือ หลายคนก็ได้ ถ้ามีผู้อภิปรายคนเดียวเมื่อบรรยายจบก็จะเปิด โอกาสให้ผู้ฟังซักถามปัญหาได้ตามเวลาที่จัดไว้ การอภิปราย แบบ Forum เหมาะที่จะนำามาใช้ในการอภิปรายหรือเสนอ แนะปัญหาของบ้านเมือง เช่น การประชุมระดับหมู่บ้าน ระดับ อำาเภอ หรือระดับจังหวัด หรือการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งใน ทางการเมือง เราลองมาดูความหมายของคำาว่า Forum ๑. การอภิปรายแบบ Forum จะเป็นการที่ผู้ฟังมีส่วน ร่วมในการซักถามปัญหาหลังการอภิปราย หรือปาฐกถา ซึ่ง รูปแบบของการจัดขึ้นอยู่กับชนิดของการประชุม เช่นการ ประชุมแบบ Panel Forum ,Symposium Forum ฯลฯ ๒. การอภิปรายที่ผู้ฟังมีส่วนร่วมด้วยตั้งแต่เริ่มการประชุม เรียกว่า Open Froum การอภิปรายแบบนี้มีผู้อภิปรายเพียง คนเดียว เมื่อผู้บรรยายจบแล้วผู้ฟังจะตั้งคำาถาม หรือแสดง ความคิดเห็น เช่น การรายงานตัวของผู้เข้ารับตำาแหน่งใหม่ กับผู้บังคับบัญชา เป็นต้น 5
  • 6. ๓. การอภิปราย ณ ที่สาธารณะที่จัดขึ้นเป็นประจำา เพื่อ แก้ปัญหาส่วนรวม เช่น Commuity Forum หรือการ รณรงค์หาเสียงของสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สรุป ว่าการประชุมสัมมนาแบบ Forum ควรมีผู้ดำาเนิน การอภิปรายที่มีความรู้ ความสามารถและเข้าใจถึงปัญหา อย่างลึกซึ้งเป็นผู้ดำาเนินการอภิปราย เพื่อจะได้บรรลุ วัตถุประสงค์อย่างสูงสุด ๖. การอภิปรายแบบบทบาทสมมุติ Role Playing การอภิปรายแบบนี้ผู้ประชุมได้มีโอกาสแสดง บทบาทสมมุติ ตามสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งเหมือน สภาพความเป็นจริง แต่จะเน้นลักษณะของปัญหาที่ต้องเผชิญ และขบวนการแก้ปัญหาในลักษณะต่าง ๆ ส่วนโครงเรื่องนั้นผู้ จัดประชุมจะเป็นผู้กำาหนด แต่จะให้ผู้เข้าร่วมประชุมแสดง ความรู้สึกออกมาตามบทบาทที่ได้สมมุติไว้ซึ่งการประชุมแบบ นี้จะเปิดโอกาสให้สมาชิกสัมผัสประสบการณ์ใหม่ ๆ และยัง เป็นการพัฒนาทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ด้วย วิธีการดำาเนินการ ๑. ประธานและเลขานุการต้องทราบและเข้าใจ ปัญหาอย่างชัดเจน โดยประธานและเลขานุการเป็นผู้ทำา หน้าที่ประสานงานอย่างใกล้ชิดระหว่างสมาชิกที่เข้าร่วม ประชุม ๒. ประธานจะเลือกผู้ที่จะแสดงในแต่ละบทบาทที่ได้ รับการสมมุติขึ้น ซึ่งควรใช้วิธีการจับสลากและการเลือกตัว บุคคลไม่ควรบอกให้สมาชิกทราบล่วงหน้า ซึ่งในการแสดง บทบาทสมมุตินี้ควรให้สมาชิกมีเวลาเตรียมตัวเพียงเล็กน้อย เท่านั้น ๓. ประธานควรเปิดโอกาสให้สมาชิกแสดงบทบาท ของตนอย่างเต็มที่ 6
  • 7. ๔. ประธานจะดำาเนินการอภิปรายหลังจากที่การ แสดงจบ โดยการอภิปรายควรเน้นผลที่ได้รับจากการแสดง ในแต่ละบทบาท ๗. การอภิปรายแบบตอบกลับ Circular Response MR.LONDERMEN เป็นผู้คิดค้นและเป็นผู้นำามาใช้ เป็นคนแรก การประชุมแบบนี้ควรใช้กลับกลุ่มสมาชิก ประมาณ ๘-๑๕ คน โดยจัดที่นั่งเป็นรูปวงกลม การประชุมจะ เริ่มจากประธานกลุ่มเปิดการประชุม จากนั้นประธานจะเป็นผู้ เสนอปัญหาเพื่อให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นการแสดงความ คิดเห็นของสมาชิกควรเรียงลำาดับทีละคน โดยเริ่มจากคนที่ อยู่ทางด้านขวามือของประธานและเรียงไปตามลำาดับ วิธีดำาเนินการ ๑. ประธานกล่าวเปิดการประชุมและเสนอปัญหาให้ที่ ประชุมรับทราบและนำาอภิปราย ๒. จากนั้นสมาชิกทางด้านขามือของประธานดำาเนิน การอภิปรายต่อเมือจบแล้วสมาชิกคนถัดไปอภิปรายและแสดง ความคิดเห็นของตน จากนั้นการอภิปรายจะดำาเนินต่อเนื่อง ไปโดยเรียงไปทางขวามือตามลำาดับจนครบโดยจะไม่มีการ ข้ามสมาชิกท่านใดท่านหนึ่งไป ๓. ถ้าในการอภิปรายในครั้งนั้นหัวข้อเรื่องประเด็น นั้น ๆ ยังหาข้อยุติไม่ได้หรือสมาชิกต้องการอภิปรายต่อที่ ประชุมจะต้องเปิดเวียนการอภิปรายจนกว่าจะหาข้อมูลยุติ ๔. ในการจัดรูปแบบการอภิปรายจะจัดแบบใดก็ได้ โดยเลขานุการควรนั่งทางซ้ายมือของประธาน และ เลขานุการจะเป็นผู้จดบันทึก ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ของ สมาชิกทุกคน ๘. การอภิปรายแบบโต๊ะกลม Round Table 7
  • 8. การจัดอภิปรายแบบนี้เป็นการจัดให้สมาชิกทุกคน เห็นหน้ากันเป็นการประชุมที่ เป็นกันเองมากๆ ประธานจะทำา หน้าที่ในการดำาเนินการประชุม จะมีเลขาเป็นผู้จดบันทึกการ ประชุม ถ้าสมาชิกท่านใดต้องการแสดงความคิดเห็น สามารถ ยกมือขึ้นขอพูดได้เลย การประชุมแบบนี้แตกต่างจากแบบ ตอบกลับคือสมาชิกไม่ต้องเรียงลำาดับจากขวามือของประธาน และการแสดงความคิดเห็นสามารถแสดงได้อย่างกว้างขวาง และใช้เวลาตามที่สมาชิกต้องการ วิธีการดำาเนินการ ๑. ประธานกล่าวเปิดการประชุมเสนอปัญหา ๒. เมื่อสมาชิกรับทราบปัญหาหรือหัวข้อของการ อภิปรายแล้วถ้าท่านใดต้องการแสดงความคิดเห็นก็ให้ยกมือ เพื่อขอพูดโดยไม่ต้องเรียงลำาดับ ๓. ถ้าหัวข้อเรื่องหรือประเด็นนั้นยังหาข้อยุติไม่ได้ หรือสมาชิกต้องการอภิปราย ต่อที่ประชุมก็จะเปิดโอกาสให้ อภิปรายต่อจนกว่าจะหาข้อยุติได้ ๔. สิ่งสำาคัญประธานต้องกระตุ้นให้สมาชิกได้แสดง ความคิดเห็น และต้องช่วยสรุปข้อยุติให้ได้ ๕. สำาหรับเลขาจะเป็นผู้บันทึกข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ของสมาชิกทุกคนและสรุปผลการประชุมเพื่อนำาเสนอต่อ ประธานและสมาชิกต่อไป 8