SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อ านวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า 
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com ภาษากาย ( Body Language )
หัวข้อบรรยาย 
ประเภทของภาษา 
ความหมายของภาษากาย 
องค์ประกอบของการสื่อสาร 
ประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษากาย 
ประเภทของอวัจนภาษา 
ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อโกหก” 
ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อวิตกกังวล/เครียด” 
ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ 
ภาษากายที่ถูกใช้บ่อยๆ 
มือส่งภาษาได้อย่างไร 
เทคนิคการอ่านภาษากาย
ภาษา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 
1.ภาษาคาพูด หรือ วัจนภาษา) (Verbal communication) 
2. ภาษากาย หรือ อวัจนภาษา) (Non -verbal communication) 12
ความหมายของภาษากาย (Body Language) 
 เป็นภาษาที่ไม่ใช่คาพูด เป็นภาษาที่ออกมาจากจิตใต้สานึก เป็นส่วนที่จะถอดออกมา โดยตรงจากความรู้สึกของสมองส่วนลึก ซึ่งไม่ได้ผ่านการปรุงแต่งแต่จะแสดงออก มาเลย 
 ภาษากาย (อวัจนภาษา) คือ การใช้พฤติกรรมทางร่างกายเพื่อการสื่อสาร ซึ่งเป็นภาษา อีกประเภทหนึ่งที่ใช้เพื่อแสดงความหมาย 
 ภาษากาย ท่าทาง การสบตา หรือการใช้ปริภาษาซึ่งเป็นน้าเสียงที่ใช้ประกอบถ้อยคา แสดงอารมณ์ของผู้พูดและวัตถุภาษา(ของใช้เครื่องประดับ เสื้อผ้า กระเป๋า ฯลฯ) 
 เป็นการศึกษาการเคลื่อนไหวของร่างกายทั้งหมดทุกส่วน “ สิ่งสาคัญไม่ใช่ข้อความที่คุณพูด แต่เป็นหน้าตาท่าทางขณะพูด”
องค์ประกอบของการสื่อสาร 
•ดร.อัลเบิร์ต เมห์ราเบียน ศาสตราจารย์ ด้านจิตวิทยาของมหาวิทยาลัย 
แคลิฟอร์เนีย ลอสแองเจลิสได้วิจัยในเรื่องการสื่อสารไว้ว่า สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการ สื่อสารมี 3องค์ประกอบ ได้แก่ 
•จากวิจัยดังกล่าว พบว่าอิทธิพลที่ส่งผลให้มีประสิทธิภาพของการสื่อสารที่มากสุด คือ "ภาษากาย" “ ร่างกายไม่เคยโกหก”
ประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษากาย 
สามารถเข้าใจผู้ที่ติดต่อด้วยโดยการรับรู้ถึงอารมณ์และความคิดของคนที่ติดต่อได้ 
สามารถที่จะวิเคราะห์ท่าทางที่ถูกต้อง ท่าทางที่ดี และ นามาประยุกต์ หรือ ปรับใช้ในการ ทางาน หรือ การติดต่อทางธุรกิจของคุณเอง ซึ่งจะทาให้ภาพลักษณ์ บุคลิกภาพของคุณดู ดี และ มีศักยภาพในการติดต่อกับผู้อื่นสูง 
ทาให้สามารถทางานติดต่อกับผู้อื่นได้อย่างมั่นใจ หากสามารถสื่อออกไปได้อย่างถูกต้อง 
ภาษากายเมื่อถูกใช้อย่างเหมาะสมจะช่วยให้สามารถสื่อสารได้มากกว่าคาพูด จะทาให้การ สื่อสารในระดับต่อไปได้ง่ายและบรรลุความเข้าใจโดยไม่จาเป็นต้องที่จะหาคาพูดที่ เหมาะสมในการแสดงความรู้สึกและอารมณ์
“ การรู้จักสังเกตแม้เพียงสิ่งเล็กๆ อาจช่วยนาเรา 
ไปสู่การตัดสินใจที่ยิ่งใหญ่ 
เช่นเดียวกับการอ่านใจคน ยิ่งเราสังเกตเห็นมากเท่าใด 
เราก็จะเข้าใจผู้คนและคาดเดาอนาคตที่จะเกิดขึ้นได้มากเท่านั้น ” 
ข้อความจากหนังสือ “อ่านคนทะลุใจ” 
"ในยามที่ใจเคลื่อนไหวแปรเปลี่ยน จะปรากฏร่องรอยให้เห็นทางสีหน้า ขอเพียงเห็นร่องรอยเพียงเล็กน้อย ก็จะหยั่งรู้ใจคนผู้นั้นได้" 
สิ่งที่ทาให้ใจเคลื่อนไหวคือ "เวลา" ยิ่งปล่อยให้เนิ่นนาน ความฟุ้งซ่านย่อมมาก ความกังวลย่อมตามมา การควบคุม พฤติกรรมโดยผ่านสติย่อมลดลง ความเป็นตัวตนก็ย่อมปรากฏมากขึ้น ซึ่งเป็น เรื่องปกติของมนุษย์ 
ขงจื่อกล่าวไว้ว่า
ประเภทของ อวัจนภาษา 1. การแสดงออกทางสายตา 2. กิริยาท่าทาง 
3. น้าเสียง 4. การใช้สิ่งของหรือวัตถุ ประกอบการสื่อสาร 5. เนื้อที่/ระยะห่าง 6. กาลเวลา เช่น ไปตรงเวลานัดหมาย 7. การสัมผัส เช่น การจับมือ 8. การแสดงออกทาง ใบหน้า 9. การเคลื่อนไหว ของศรีษะ 
10. การเคลื่อนไหวของมือ
ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อโกหก” 2. การนามือมาถูหรือแตะจมูกอย่างรวดเร็ว 
ที่มาของการแตะหรือถูจมูก คือ จากงานวิจัยพบว่าเมื่อเราโกหกนั้น จะมีสารเคมีชนิดหนึ่งหลั่งออกมา ทาให้ผนังหรือเนื้อเยื่อภายใน จมูกมีอาการพองขึ้น ทาให้เกิดอาการระคายเคือง 1. การเอามือปิดปากหรือเอานิ้วมือมาแตะปากทันที 
การเอามือปิดปากเพื่อพยายามปิดกั้นถ้อยคาที่ไม่จริง 
หากเด็ก 5 ขวบพูดโกหก ก็มีแนวโน้มที่เขาจะรีบปิดปากตัวเอง ด้วย มือหนึ่งข้างหรือทั้งสองข้าง 
บางครั้งอาจเป็นแค่นิ้วหรือกาปั้นที่แตะปาก แต่ความหมายไม่ต่างกัน
ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อโกหก” (ต่อ) 
4. การดึงปกคอเสื้อ มีงานวิจัยค้นพบว่า บริเวณลาคอก็เป็นอีก จุดหนึ่งที่มีการระคายเคืองเมื่อเราโกหก เนื่องจากความดันโลหิตที่สูงขึ้น เมื่อเราโกหก ทาให้เกิดเหงื่อออกบริเวณลาคอ ดังนั้น การดึงบริเวณปกคอเสื้อจึงเป็นปฏิกิริยาหนึ่งที่อาจจะเกิดขึ้น 3. การถูตา 
เป็นปฏิกิริยาที่ผู้พูดใช้เพื่อไม่ต้องมองหน้า หรือสบตาผู้ที่ กาลังโกหกอยู่ 
บางคนอาจจะไม่ใช้มือถูตา แต่จะมองไปทางอื่นแทน
ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อโกหก” (ต่อ) 5. ไม่สบสายตาผู้ที่สนทนาด้วย กว่า 90% ของผู้ที่โกหกมักจะไม่ยอมมองหน้าคนที่กาลังพูดด้วยและ หลีกเลี่ยงการมองตาระหว่างกัน 
6. การกะพริบตาถี่ๆ ผิดจากปกติ 
คนที่รู้สึกกดดัน เช่นคนที่กาลังโกหก มีแนวโน้มที่จะกะพริบตาถี่ ซึ่งเป็น 
ความพยายามของสมองที่จะปิดกั้นสายตาของเขาจากคุณ และระบาย 
พลังงานทิ้งหลังจากความกดดันจากการพูดโกหก ตารวจในต่างประเทศมักจะใช้อุปกรณ์ตรวจจับความเคลื่อนไหวของดวงตา (Eye tracking technology) ช่วยในการสอบปากคาผู้ต้องสงสัย
ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อวิตกกังวล/เครียด” 2. การกัดริมฝีปากหรือการเม้มปาก เป็นภาษากายที่บ่งบอกถึงความวิตกกังวล เมื่อผู้พูดกัดริมฝีปากบ่อย ขึ้นกว่าปกติขณะที่พูดถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แสดงถึงความกังวลที่ มากขึ้น มักจะพบได้บ่อยๆ ในคนที่โกหกหรือพยายามปิดบัง บางอย่าง 1. การกัดเล็บมือ บุคคลที่พูดไปกัดเล็บไป นายแพทย์ทางจิตวิทยาได้ ทาการวิจัยพบว่า ส่วนมากจะเกิดกับ 
คนที่มีความตรึงเครียด หรือ 
บุคคลที่มีลับลมคมในซ่อนอยู่ 
เป็นคนขาดความมั่นใจในตัวเอง 
ขี้อายและไม่กล้าเผชิญหน้ากับความเป็นจริง
4. มือสั่น บ่งบอกถึงความวิตกกังวล ความไม่มั่นใจอย่างเห็นได้ชัด 3. ยืนกระสับกระส่าย ลุกลี้ลุกลน เป็นอาการที่บ่งบอกให้เห็นอย่างชัดเจนว่าบุคคลคนนั้นไม่มีความ มั่นใจในตัวเอง กาลังวิตกกังวลกับบางสิ่งบางอย่างอยู่นั่นเอง 
5. การแตะผมบ่อยๆ หรือม้วนปอยผมเล่น แปลว่าผู้นั้นกาลังรู้สึกไม่แน่ใจหรือวิตกกังวล 
ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อวิตกกังวล/เครียด” (ต่อ) 6. การกระพริบตาบ่อยๆ 
 บ่งบอกถึงความเครียดที่เกิดขึ้นและอึดอัดเป็นอย่างมาก 
 ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นมากระหว่างการพูดถึงเรื่องความสัมพันธ์และ การถกเถียงในการประชุมต่างๆ
ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆ ไป 
1.เล่นหัวแม่มือ หากคู่สนทนานั่งเอามือประสานกัน และแกว่งนิ้วหัวแม่มือหรือเล่นกับมันไปมา นั่นหมายถึงจิตใจที่ล่องลอยไปที่อื่น หรือกาลังคิดเรื่องอื่นอยู่ หรือไม่มีสมาธิ เท่าไรนัก 
2. การใช้นิ้วเคาะโต๊ะ บ่งบอกถึงความรู้สึกที่รีบเร่ง หรือเบื่อหน่ายคู่สนทนา และอยากจะออก จากวงสนทนานี้โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ การกระทาเคาะนิ้วนี้เป็นการ แสดงออกทางกายที่บ่งบอกถึงการไม่มีความเกรงใจคู่สนทนาอย่างเห็น ได้ชัด
ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆไป (ต่อ) 3. การชี้นิ้วใส่ผู้อื่น เป็นภาษาสากลที่มีความหมายในแง่ลบและแสดงถึง การเผด็จการ ข่มขู่ผู้ฟัง บ่งบอกถึงความก้าวร้าวและอาการโกรธ เป็นสิ่งที่ ไม่ควรปฏิบัติกับผู้อื่น ผลสารวจของงานวิจัยหนึ่งที่จัดการทดลองกับ ผู้บรรยาย 8 คนที่ถูกกาหนดให้ใช้สัญญาณมือ 3 แบบนี้ระหว่างการบรรยายครั้งละ 10 นาที และมีการ บันทึกปฏิกิริยาของผู้ฟังในแต่ละครั้ง 
ในบางประเทศเช่น มาเลเซียและฟิลิปปินส์ การชี้นิ้วถือเป็นการดูถูก 
เพราะท่านี้ใช้กับสัตว์เท่านั้น คนมาเลเซียจะใช้นิ้วโป้งชี้คนหรือบอกทิศทาง
การใช้นิ้วที่เหมาะสม ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆ ไป (ต่อ) 
 พยายามฝึกท่าหงาย-คว่าฝ่ามือ เพื่อสร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลาย มากขึ้น และเกิดผลลัพธ์ในแง่บวกกับผู้อื่น 
 หากจรดนิ้วอื่นๆ เข้าหานิ้วโป้งคล้ายกับท่าโอเค และพูดโดยใช้ท่านี้ คุณจะเป็นคนที่ดูมีอานาจแต่ไม่ก้าวร้าว
ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆ ไป (ต่อ) 4. การกอดอก 
 เป็นการป้องกันตนเองจากบางสิ่งบางอย่างอยู่ 
 บ่งบอกว่าบุคคลคนนั้นรู้สึกกลัวหรือประหม่า 
 เขาจะไม่เปิดใจและคุณจะเข้าไม่ถึงใจเขา 
 เป็นสัญลักษณ์ของความเย่อหยิ่ง คือท่าทางที่ไม่อ่อนน้อม 
 เมื่อคุณเห็นใครสักคนทาท่ากอดอก บ่งบอกว่าพวกเขาไม่เห็นด้วยกับบางอย่าง ที่คุณอาจพูดออกไป แม้ว่าคนผู้นั้นจะบอกว่าเห็นด้วยกับคุณก็ตาม  ความจริงคือภาษากายจริงใจกว่าคาพูด 
ผู้สื่อสารต้องวิเคราะห์ว่าทาไมเขากอดอกและหาทางให้เขาเปลี่ยนมา ทาท่าที่ยอมรับฟังมากขึ้น เช่น วิธีการยื่นบางอย่างให้ผู้ฟังถือ หรือหา อะไรให้ทา เป็นต้นจะบีบให้พวกเขาเลิกกอดอกและแนวโน้มตัวมา ข้างหน้า ซึ่งเป็นท่าที่เปิดรับมากขึ้นและทาให้รู้สึกเปิดใจมากขึ้น
ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆ ไป (ต่อ) “ เมื่อคุณกอดอก ความน่าเชื่อถือก็ลดฮวบ ” งานวิจัยทาในสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับท่ากอดอก โดยให้ 
 อาสาสมัครกลุ่มที่ 1 ได้รับคาสั่งให้เข้าฟังการบรรยาย แต่ละคนห้ามนั่ง ไขว่ห้าง มือห้ามกอดอก และให้อยู่ในท่านั่งที่สบายๆ ผ่อนคลาย เมื่อสิ้นสุด การบรรยายจะถูกทดสอบความตั้งใจและความรู้ในเรื่องที่บรรยาย รวมถึง ความรู้สึกต่อผู้บรรยายด้วย 
 อาสาสมัครกลุ่มที่ 2 ได้รับคาสั่งให้กอดอกแน่นตลอดการบรรยาย ผลที่ออกมาคือ กลุ่มที่กอดอกเรียนรับรู้ข้อมูลได้น้อยกว่าอีกกลุ่มถึง 38% กลุ่มที่ 2 ยังมีความเห็นแย้ง กับการบรรยายและผู้บรรยายมากกว่า นอกจากนี้เขายังสนใจฟังสิ่งที่ผู้บรรยายพูดน้อยลงด้วย ผลเสียของการกอดอก
ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆ ไป (ต่อ) 
5.การล้วงแคะแกะเกาสิ่งต่างๆ 
มักจะเกิดเวลาที่คนรู้สึกไม่ปลอดภัย หรือ ไม่มั่นใจ มือมักอยู่ไม่สุข ทาให้ มองดูไม่ดี เสียบุคลิก 
วิธีแก้ : ให้วางแขนไว้บนโต๊ะ มือประสานกันไว้
ภาษากายที่ถูกใช้บ่อยๆ 
1.การสบสายตา (Eye contact) 
การสบสายตากับคนรอบข้างที่เรากาลังคุย หรือติดต่อด้วยเป็นพักๆ (ประมาณ 60- 70% ของเวลาทั้งหมด) และพยายามสบตาให้ครบทุกคน เพื่อแสดงถึงความ กระตือรือร้นและสนใจ แต่อย่าจ้องมองนานจนเกินงาม 
การสบสายตาไปยิ้มน้อยๆไป เป็นการแสดงความจริงใจ ความเป็นมิตรกับคนที่เรา ติดต่อด้วย 
การพูดแล้วไม่สบสายตา อาจจะหมายถึงไม่จริงใจ ไม่ให้ความสาคัญ หรือขาดความ มั่นใจ อาย ตื่นเต้น เขิน
ภาษากายที่ถูกใช้บ่อยๆ (ต่อ) 2. หากผู้ฟังนั่งพิงพนักเก้าอี้ ก้มหน้า และกอดอก ผู้พูดควรสังหรณ์ใจว่า การพูดของเขาเข้าไม่ถึงผู้ฟัง และควรต้องเปลี่ยนวิธีพูด เพื่อให้ผู้ฟังคล้อยตาม หรืออาจตีความหมายว่า บุคคลผู้นี้กาลัง รู้สึกติดลบ หรือไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอของคุณ 3. การเกาหรือดึงใบหู มักจะเป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเมื่อเราได้ ยินบางอย่างที่เราไม่เชื่อ หรือไม่เห็นด้วย หรือไม่อยากฟัง แต่เราไม่สามารถพูดออกไปได้ตรงๆ
ภาษากายที่ถูกใช้บ่อยๆ (ต่อ) 4. ท่ายกมือขึ้นแตะหน้า นิ้วชี้ชี้ขึ้นไปที่แก้ม ขณะที่นิ้วอื่นๆ ปิดปาก และนิ้วโป้งรองใต้คาง มักจะปรากฏเมื่อผู้ฟังกาลังใช้ความคิด ใคร่ครวญสิ่งที่ได้ยิน ขาที่ไขว้และแขนกอดอก (ป้องกันตัว) ขณะที่ศีรษะและคางก้มต่า (ปฏิเสธ/เป็นปฏิปักษ์) ภาษากายนี้แปล ได้ว่า “ผมไม่ชอบสิ่งที่คุณกาลังพูด” “ผมไม่เห็นด้วย” หรือ “ผมกาลังข่มกลั้นความรู้สึกในแง่ลบ” 5. การเกาคอ 
ท่านี้เป็นสัญญานของความคลางแคลงใจหรือไม่มั่นใจ และ เป็นท่าที่บ่งบอกว่า “ผมไม่แน่ใจว่าเห็นด้วย” 
ยกตัวอย่าง เมื่อคนหนึ่งพูดว่า “ผมเข้าใจความรู้สึกของ คุณ” แต่ทาท่าเกาคอ ซึ่งกลับบ่งบอกว่าเขาไม่เข้าใจเลย
มือส่งภาษาได้อย่างไร ถูฝ่ามือ 
เป็นวิธีสื่อความคาดหวังในเชิงบวก 
 ความเร็วของการถูฝ่ามือใช้สื่อความคิดของคนผู้นั้นว่าใครน่าจะได้ผลดี จากสถานการณ์นี้ 
 ตัวอย่าง : หากคุณต้องการซื้อบ้านและไปปรึกษานายหน้า หลังจากบรรยาย ลักษณะบ้านที่ต้องการแล้ว นายหน้าถูฝ่ามือไปมาอย่างรวดเร็วและพูดว่า ในกรณีนี้นายหน้าส่งสัญญาณว่าคุณน่าจะได้ประโยชน์ แต่หากเขาถูฝ่ามือช้ามากๆ ขณะที่บอกคุณ เขาจะดูเจ้าเล่ห์และคุณอาจรู้สึกว่า เขาหวังจะได้ประโยชน์เสียเอง “ผมมีบ้านที่เหมาะสาหรับคุณแล้ว”
มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) ถูนิ้วโป้งกับนิ้วชี้ 
 มักใช้เป็นสัญญาณถึงการคาดหวังเงินทอง 
 คนที่มักทาท่านี้คือคนขายของข้างถนนที่พูดว่า “ผมจะลดราคาให้คุณ 40%” หรือ คนที่พูดกับเพื่อนว่า “ขอยืมเงินสัก 500 บาทได้ไหม” 
มืออาชีพควรหลีกเลี่ยงท่านี้เมื่ออยู่กับลูกค้า เพราะจะทาให้เกิดความรู้สึกในแง่ลบ เกี่ยวกับเรื่องเงิน
มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) 
ท่าประสานมือ 
 ท่านี้อาจจะดูเหมือนมั่นใจ แต่ท่านี้แสดงความรู้สึกที่เก็บกด ว้าวุ่นใจหรือกาลัง สะกดกลั้นความรู้สึกในแง่ลบหรือ ความวิตกกังวล แม้จะยิ้มไปด้วยก็ตาม 
 ตาแหน่งมือเชื่อมโยงกับระดับความหงุดหงิดของคนผู้นั้น คนที่ประสานมือในตาแหน่งสูงหรือกลางเป็นคนที่รับมือได้ยากกว่า ผู้ที่ ระสานมือในตาแหน่งต่า ท่าประสานมือแบบหลักๆ มีอยู่ 3 แบบ ประสานมือชูไว้ตรงหน้า ประสานมือวางไว้บนโต๊ะหรือบนตัก ประสานมือห้อยไว้ตรงเป้ากางเกงขณะยืน 123
มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) วิธีแก้การประสานมือ 
• คุณต้องทาอะไรบางอย่างให้เขาคลายนิ้วที่ประสานอยู่กันอยู่ออก อาจโดยการยื่นเครื่องดื่มให้ หรือขอให้เขาถือบางสิ่ง มิฉะนั้นความรู้สึกในแง่ลบ จะไม่หายไป เช่นเดียวกับผู้ที่ทาท่ากอดอก
มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) ท่าประกบปลายนิ้ว 
เป็นท่าที่บ่งบอกความมั่นใจหรือความรู้สึกเชื่อมั่นในตัวเอง ลักษณะเป็นผู้นา ควรหลีกเลี่ยงท่านี้หากต้องการโน้มน้าวใจคนหรือทาให้อีกฝ่ายไว้วางใจ เพราะบางครั้งท่านี้อาจะถูกตีความว่า สื่อถึงความหลงตัวหรือเย่อหยิ่ง 
•มักจะเกิดขึ้นเมื่อผู้ทากาลัง ออกความเห็นหรือความคิดหรือ เป็นฝ่ายพูด ท่าประกบปลายนิ้วแบบสูง 
•มักจะใช้เมื่อผู้ทากาลังฟังมากกว่าพูด ท่าประกบปลายนิ้วแบบต่า
มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) ท่าจับมือไขว้หลัง 
• ท่านี้เป็นท่าปกติของผู้นา ราชวงศ์ ตารวจที่เดินตรวจการณ์ ในพื้นที่ ครูใหญ่ที่เดินไปรอบๆ สนามเด็กเล่นในโรงเรียน เจ้าหน้าที่ทหารรุ่นใหญ่ และใครก็ตามที่อยู่ในตาแหน่งบังคับบัญชา 
• อารมณ์ที่แฝงอยู่ในท่านี้คือความเหนือชั้น มั่นใจ และอานาจ ถือเป็นการกระทา จากจิตใต้สานึกที่ปราศจากความกลัว 
• หากทาท่านี้ตอนอยู่ในสถานการณ์ตึงเครียดสูง เช่น กาลังถูกนักข่าว หนังสือพิมพ์สัมภาษณ์ หรือ กาลังรอหมอฟัน มันจะทาให้คุณเริ่มรู้สึกมั่นใจและ อาจถึงขั้นควบคุมสถานการณ์ได้
มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) ท่าจับข้อมือไขว้หลัง 
• ท่านี้เป็นสัญญาณของความหงุดหงิดและความพยายามควบคุมตัวเอง มือข้างหนึ่งจับข้อมือหรือแขนอีกข้างไว้แน่นขณะไขว้หลัง ราวกับแขน ข้างหนึ่งพยายามกันไม่ให้อีก ข้างยื่นออกมาข้างหน้า 
• ยิ่งมือจับแขนสูงเท่าใด อารมณ์ของคนผู้นั้นก็น่าจะหงุดหงิดหรือโกรธ มากขึ้นเท่านั้น เหมือนคนผู้นี้แสดงความพยายามยิ่งขึ้นในการอาพราง ความวิตกกังวลหรือควบคุมตัวเองมากกว่าในภาพก่อน เพราะมือไต้ขึ้น ไปจับต้นแขน 
• ท่านี้มักพบเห็นได้หน้าห้องพิจารณาคดีเมื่อคู่กรณีเผชิญหน้ากัน ใน ห้องรับแขกของลูกค้าเมื่อพนักงานขายจากต่างบริษัทเผชิญหน้ากัน และ ในห้องที่คนไข้รอพบแพทย์
เทคนิคการอ่านภาษากายของ โจ นาวาโร่ (Joe Navarro) 
1. เป็นนักสังเกตรอบตัวที่เก่งกาจ 
-แบบทดสอบ : ลองหลับตาแล้วให้นึกว่ามีอุปกรณ์อะไรบ้างที่อยู่ในห้องนอนของเราออกมาให้ได้ 20 ชิ้น 
-ต้องสังเกตพฤติกรรมของคนนั้นทุกอย่าง ทุกจังหวะเวลา และทุกวินาทีว่าเขาแสดงอะไรออกมา เช่น สังเกตว่าคนนี้กาลังล้วงกระเป๋าสองนิ้ว คนนี้ล้วงกระเป๋าสี่นิ้ว คนนี้กาลังหยิบโทรศัพท์ออกมา เป็นต้น 
2. สังเกตบริบทแวดล้อม 
การที่เราจะเข้าใจภาษากายเราจะต้องดูบริบทแวดล้อมในตอนนั้นว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น โดยดู ภาษากายของเขาประกอบกันไปด้วย เช่น หากใครสักคนนั่งอยู่ที่ป้ายรถประจาทาง กอดอกแน่น ไขว่ห้าง ก้มหน้า และวันนั้นเป็นวันในฤดูหนาวที่อุณหภูมิติดลบ ก็เป็นไปได้สูงที่เขาทาท่าเช่นนั้นเพราะรู้สึกหนาว ไม่ใช่รู้สึกต่อต้าน
เทคนิคการอ่านภาษากายของ โจ นาวาโร่ (Joe Navarro) 
3. เรียนรู้ที่จะแยกแยะและถอดรหัสด้วยภาษากายที่เป็นสากล เราต้องแยกแยะให้ออกว่าอะไรเป็นภาษามาตรฐานสากล หรืออะไรเป็นภาษาตัวของเขาเอง เช่น คนส่วน ใหญ่เวลาที่เขาเม้มปาก จะหมายถึงว่าเวลาที่เขากาลังเจอปัญหาอะไรบางอย่างอยู่ ก็เลยพยายามเม้มปาก 
4. เรียนรู้ที่จะแยกแยะและถอดรหัสด้วยภาษากายเฉพาะบุคคล 
ภาษาตัวของบางคนซึ่งเป็นเฉพาะบุคคล เวลาที่ทาอะไรยากๆ ก็จะเม้มปากไปด้วย เป็นเพราะว่า 
เขากาลังจดจ่ออยู่ 
5. พยายามมองหาพฤติกรรมของคนๆ นั้นในยามปกติ 
เช่น ในยามปกติคนนี้เขาจะชอบกอดอก หรือชอบนั่งไขว่ห้าง วางมือบนตักตัวเอง เมื่ออยู่ในช่วงเวลาที่ ผิดปกติ พฤติกรรมของเขาจะเปลี่ยนไปจากเดิม
เทคนิคการอ่านภาษากายของ โจ นาวาโร่ (Joe Navarro) 
6. พยายามหาเบาะแสหลายๆ อย่าง มองพฤติกรรมที่เป็นกลุ่มก้อน 
ควรอ่านการกระทาต่างๆแบบเป็นกลุ่มและคานึงถึงบริบทด้วย หากสังเกตแล้วตีความท่าใดท่าหนึ่งโดดๆ โดยไม่สนใจท่าอื่นหรือสถานการณ์โดยรวม อาจทาให้ตีความผิดได้ ต้องมองหาหลายๆ ส่วนประกอบกัน เป็นกลุ่ม เช่น หากบางคนชอบแตะจมูก เพราะคนนั้นอาจเป็นภูมิแพ้หรือไข้หวัดก็ได้ ไม่ใช่กาลังปิดบัง บางอย่างอยู่ 
7. สิ่งสาคัญในการมองหาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมฉับพลัน 
ตัวอย่างกรณีที่คนหนึ่งได้รับโทรศัพท์ข่าวร้าย สีหน้าก็จะเปลี่ยนทันที 
8. เรียนรู้ที่จะตรวจจับสัญญาณ ที่ส่งออกมาแล้วอาจจะทาให้เราแปลผิด 
บางคนชอบจับคอตัวเองบ่อยๆ เพราะว่าเป็นโรคกระดูกคอเสื่อม ซึ่งอาจจะทาให้เราเข้าใจผิดได้
เทคนิคการอ่านภาษากายของ โจ นาวาโร่ (Joe Navarro) 
9. การแยกแยะระหว่างความสบายใจ และความอึดอัดใจ แตกต่างกันอย่างไร 
ในแต่ละคนจะมีลักษณะเฉพาะของตัวเอง เมื่อไหร่ที่แสดงสัญญาณของความสบายใจ หรือความอึดอัดใจออกมา มันจะเป็นรูปแบบที่เป็นกลุ่ม 
10. เวลาสังเกตผู้อื่น ให้ทาอย่างแนบเนียน 
เราต้องสังเกตอย่างนิ่งๆ ต้องไม่ทาให้อีกฝ่ายเขารู้ตัวว่าเรากาลังสังเกตเขาอยู่
ภาษากายกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม 
•ยุโรป : หนึ่ง 
• ออสเตรเลีย : อยากโดนหรือไง! (ยกขึ้น) 
•ทั่วไป : โบกรถ ดีโอเค 
• กรีซ : ช่างแม่ง! (ยื่นไปข้างหน้า) 
•ญี่ปุ่น : ผู้ชาย ห้า
ภาษากายกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม การหงายฝ่ามือและกระดิกนิ้วชี้เรียก 
• ถ้าสาวสวยกระดิกนิ้วเรียกในลักษณะนี้แล้วมักเป็นการเชิญชวนและยั่วยวนอีกฝ่าย ให้ตามไป หรือเป็นการส่งสัญญาณให้เข้ามาใกล้ๆ เพื่อกระซิบบอกความลับ บางอย่าง 
• แต่สาหรับชาวฟิลิปปินส์ ท่าทางนี้ใช้เรียกน้องหมาเท่านั้น

More Related Content

What's hot

การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจkingkarn somchit
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1วีระยศ เพชรภักดี
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศtumetr
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยPrachyanun Nilsook
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 

What's hot (20)

การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 

Similar to ภาษากาย (Body language)

ศิลปการพูด 5
ศิลปการพูด 5ศิลปการพูด 5
ศิลปการพูด 5Yota Bhikkhu
 
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptx
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptxWords That Work คำพูดที่ได้ผล.pptx
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptxmaruay songtanin
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินKhuanruthai Pomjun
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
กิจกรรม3
กิจกรรม3กิจกรรม3
กิจกรรม3Namfon Zokey
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5Yota Bhikkhu
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้tuphung
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้tuphung
 
จิตวิทยาการเรียนรู้แก้ไข
จิตวิทยาการเรียนรู้แก้ไขจิตวิทยาการเรียนรู้แก้ไข
จิตวิทยาการเรียนรู้แก้ไขtuphung
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้tuphung
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้tuphung
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้tuphung
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้tuphung
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้tuphung
 

Similar to ภาษากาย (Body language) (20)

Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
ศิลปการพูด 5
ศิลปการพูด 5ศิลปการพูด 5
ศิลปการพูด 5
 
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptx
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptxWords That Work คำพูดที่ได้ผล.pptx
Words That Work คำพูดที่ได้ผล.pptx
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
กิจกรรม3
กิจกรรม3กิจกรรม3
กิจกรรม3
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด 5
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้แก้ไข
จิตวิทยาการเรียนรู้แก้ไขจิตวิทยาการเรียนรู้แก้ไข
จิตวิทยาการเรียนรู้แก้ไข
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Context clues
Context cluesContext clues
Context clues
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ภาษากาย (Body language)

  • 1. โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อ านวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com ภาษากาย ( Body Language )
  • 2. หัวข้อบรรยาย ประเภทของภาษา ความหมายของภาษากาย องค์ประกอบของการสื่อสาร ประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษากาย ประเภทของอวัจนภาษา ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อโกหก” ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อวิตกกังวล/เครียด” ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ ภาษากายที่ถูกใช้บ่อยๆ มือส่งภาษาได้อย่างไร เทคนิคการอ่านภาษากาย
  • 3. ภาษา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1.ภาษาคาพูด หรือ วัจนภาษา) (Verbal communication) 2. ภาษากาย หรือ อวัจนภาษา) (Non -verbal communication) 12
  • 4. ความหมายของภาษากาย (Body Language)  เป็นภาษาที่ไม่ใช่คาพูด เป็นภาษาที่ออกมาจากจิตใต้สานึก เป็นส่วนที่จะถอดออกมา โดยตรงจากความรู้สึกของสมองส่วนลึก ซึ่งไม่ได้ผ่านการปรุงแต่งแต่จะแสดงออก มาเลย  ภาษากาย (อวัจนภาษา) คือ การใช้พฤติกรรมทางร่างกายเพื่อการสื่อสาร ซึ่งเป็นภาษา อีกประเภทหนึ่งที่ใช้เพื่อแสดงความหมาย  ภาษากาย ท่าทาง การสบตา หรือการใช้ปริภาษาซึ่งเป็นน้าเสียงที่ใช้ประกอบถ้อยคา แสดงอารมณ์ของผู้พูดและวัตถุภาษา(ของใช้เครื่องประดับ เสื้อผ้า กระเป๋า ฯลฯ)  เป็นการศึกษาการเคลื่อนไหวของร่างกายทั้งหมดทุกส่วน “ สิ่งสาคัญไม่ใช่ข้อความที่คุณพูด แต่เป็นหน้าตาท่าทางขณะพูด”
  • 5. องค์ประกอบของการสื่อสาร •ดร.อัลเบิร์ต เมห์ราเบียน ศาสตราจารย์ ด้านจิตวิทยาของมหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนีย ลอสแองเจลิสได้วิจัยในเรื่องการสื่อสารไว้ว่า สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการ สื่อสารมี 3องค์ประกอบ ได้แก่ •จากวิจัยดังกล่าว พบว่าอิทธิพลที่ส่งผลให้มีประสิทธิภาพของการสื่อสารที่มากสุด คือ "ภาษากาย" “ ร่างกายไม่เคยโกหก”
  • 6. ประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษากาย สามารถเข้าใจผู้ที่ติดต่อด้วยโดยการรับรู้ถึงอารมณ์และความคิดของคนที่ติดต่อได้ สามารถที่จะวิเคราะห์ท่าทางที่ถูกต้อง ท่าทางที่ดี และ นามาประยุกต์ หรือ ปรับใช้ในการ ทางาน หรือ การติดต่อทางธุรกิจของคุณเอง ซึ่งจะทาให้ภาพลักษณ์ บุคลิกภาพของคุณดู ดี และ มีศักยภาพในการติดต่อกับผู้อื่นสูง ทาให้สามารถทางานติดต่อกับผู้อื่นได้อย่างมั่นใจ หากสามารถสื่อออกไปได้อย่างถูกต้อง ภาษากายเมื่อถูกใช้อย่างเหมาะสมจะช่วยให้สามารถสื่อสารได้มากกว่าคาพูด จะทาให้การ สื่อสารในระดับต่อไปได้ง่ายและบรรลุความเข้าใจโดยไม่จาเป็นต้องที่จะหาคาพูดที่ เหมาะสมในการแสดงความรู้สึกและอารมณ์
  • 7. “ การรู้จักสังเกตแม้เพียงสิ่งเล็กๆ อาจช่วยนาเรา ไปสู่การตัดสินใจที่ยิ่งใหญ่ เช่นเดียวกับการอ่านใจคน ยิ่งเราสังเกตเห็นมากเท่าใด เราก็จะเข้าใจผู้คนและคาดเดาอนาคตที่จะเกิดขึ้นได้มากเท่านั้น ” ข้อความจากหนังสือ “อ่านคนทะลุใจ” "ในยามที่ใจเคลื่อนไหวแปรเปลี่ยน จะปรากฏร่องรอยให้เห็นทางสีหน้า ขอเพียงเห็นร่องรอยเพียงเล็กน้อย ก็จะหยั่งรู้ใจคนผู้นั้นได้" สิ่งที่ทาให้ใจเคลื่อนไหวคือ "เวลา" ยิ่งปล่อยให้เนิ่นนาน ความฟุ้งซ่านย่อมมาก ความกังวลย่อมตามมา การควบคุม พฤติกรรมโดยผ่านสติย่อมลดลง ความเป็นตัวตนก็ย่อมปรากฏมากขึ้น ซึ่งเป็น เรื่องปกติของมนุษย์ ขงจื่อกล่าวไว้ว่า
  • 8. ประเภทของ อวัจนภาษา 1. การแสดงออกทางสายตา 2. กิริยาท่าทาง 3. น้าเสียง 4. การใช้สิ่งของหรือวัตถุ ประกอบการสื่อสาร 5. เนื้อที่/ระยะห่าง 6. กาลเวลา เช่น ไปตรงเวลานัดหมาย 7. การสัมผัส เช่น การจับมือ 8. การแสดงออกทาง ใบหน้า 9. การเคลื่อนไหว ของศรีษะ 10. การเคลื่อนไหวของมือ
  • 9. ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อโกหก” 2. การนามือมาถูหรือแตะจมูกอย่างรวดเร็ว ที่มาของการแตะหรือถูจมูก คือ จากงานวิจัยพบว่าเมื่อเราโกหกนั้น จะมีสารเคมีชนิดหนึ่งหลั่งออกมา ทาให้ผนังหรือเนื้อเยื่อภายใน จมูกมีอาการพองขึ้น ทาให้เกิดอาการระคายเคือง 1. การเอามือปิดปากหรือเอานิ้วมือมาแตะปากทันที การเอามือปิดปากเพื่อพยายามปิดกั้นถ้อยคาที่ไม่จริง หากเด็ก 5 ขวบพูดโกหก ก็มีแนวโน้มที่เขาจะรีบปิดปากตัวเอง ด้วย มือหนึ่งข้างหรือทั้งสองข้าง บางครั้งอาจเป็นแค่นิ้วหรือกาปั้นที่แตะปาก แต่ความหมายไม่ต่างกัน
  • 10. ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อโกหก” (ต่อ) 4. การดึงปกคอเสื้อ มีงานวิจัยค้นพบว่า บริเวณลาคอก็เป็นอีก จุดหนึ่งที่มีการระคายเคืองเมื่อเราโกหก เนื่องจากความดันโลหิตที่สูงขึ้น เมื่อเราโกหก ทาให้เกิดเหงื่อออกบริเวณลาคอ ดังนั้น การดึงบริเวณปกคอเสื้อจึงเป็นปฏิกิริยาหนึ่งที่อาจจะเกิดขึ้น 3. การถูตา เป็นปฏิกิริยาที่ผู้พูดใช้เพื่อไม่ต้องมองหน้า หรือสบตาผู้ที่ กาลังโกหกอยู่ บางคนอาจจะไม่ใช้มือถูตา แต่จะมองไปทางอื่นแทน
  • 11. ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อโกหก” (ต่อ) 5. ไม่สบสายตาผู้ที่สนทนาด้วย กว่า 90% ของผู้ที่โกหกมักจะไม่ยอมมองหน้าคนที่กาลังพูดด้วยและ หลีกเลี่ยงการมองตาระหว่างกัน 6. การกะพริบตาถี่ๆ ผิดจากปกติ คนที่รู้สึกกดดัน เช่นคนที่กาลังโกหก มีแนวโน้มที่จะกะพริบตาถี่ ซึ่งเป็น ความพยายามของสมองที่จะปิดกั้นสายตาของเขาจากคุณ และระบาย พลังงานทิ้งหลังจากความกดดันจากการพูดโกหก ตารวจในต่างประเทศมักจะใช้อุปกรณ์ตรวจจับความเคลื่อนไหวของดวงตา (Eye tracking technology) ช่วยในการสอบปากคาผู้ต้องสงสัย
  • 12. ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อวิตกกังวล/เครียด” 2. การกัดริมฝีปากหรือการเม้มปาก เป็นภาษากายที่บ่งบอกถึงความวิตกกังวล เมื่อผู้พูดกัดริมฝีปากบ่อย ขึ้นกว่าปกติขณะที่พูดถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แสดงถึงความกังวลที่ มากขึ้น มักจะพบได้บ่อยๆ ในคนที่โกหกหรือพยายามปิดบัง บางอย่าง 1. การกัดเล็บมือ บุคคลที่พูดไปกัดเล็บไป นายแพทย์ทางจิตวิทยาได้ ทาการวิจัยพบว่า ส่วนมากจะเกิดกับ คนที่มีความตรึงเครียด หรือ บุคคลที่มีลับลมคมในซ่อนอยู่ เป็นคนขาดความมั่นใจในตัวเอง ขี้อายและไม่กล้าเผชิญหน้ากับความเป็นจริง
  • 13. 4. มือสั่น บ่งบอกถึงความวิตกกังวล ความไม่มั่นใจอย่างเห็นได้ชัด 3. ยืนกระสับกระส่าย ลุกลี้ลุกลน เป็นอาการที่บ่งบอกให้เห็นอย่างชัดเจนว่าบุคคลคนนั้นไม่มีความ มั่นใจในตัวเอง กาลังวิตกกังวลกับบางสิ่งบางอย่างอยู่นั่นเอง 5. การแตะผมบ่อยๆ หรือม้วนปอยผมเล่น แปลว่าผู้นั้นกาลังรู้สึกไม่แน่ใจหรือวิตกกังวล ภาษากายที่มักจะแสดงออกมา “เมื่อวิตกกังวล/เครียด” (ต่อ) 6. การกระพริบตาบ่อยๆ  บ่งบอกถึงความเครียดที่เกิดขึ้นและอึดอัดเป็นอย่างมาก  ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นมากระหว่างการพูดถึงเรื่องความสัมพันธ์และ การถกเถียงในการประชุมต่างๆ
  • 14. ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆ ไป 1.เล่นหัวแม่มือ หากคู่สนทนานั่งเอามือประสานกัน และแกว่งนิ้วหัวแม่มือหรือเล่นกับมันไปมา นั่นหมายถึงจิตใจที่ล่องลอยไปที่อื่น หรือกาลังคิดเรื่องอื่นอยู่ หรือไม่มีสมาธิ เท่าไรนัก 2. การใช้นิ้วเคาะโต๊ะ บ่งบอกถึงความรู้สึกที่รีบเร่ง หรือเบื่อหน่ายคู่สนทนา และอยากจะออก จากวงสนทนานี้โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ การกระทาเคาะนิ้วนี้เป็นการ แสดงออกทางกายที่บ่งบอกถึงการไม่มีความเกรงใจคู่สนทนาอย่างเห็น ได้ชัด
  • 15. ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆไป (ต่อ) 3. การชี้นิ้วใส่ผู้อื่น เป็นภาษาสากลที่มีความหมายในแง่ลบและแสดงถึง การเผด็จการ ข่มขู่ผู้ฟัง บ่งบอกถึงความก้าวร้าวและอาการโกรธ เป็นสิ่งที่ ไม่ควรปฏิบัติกับผู้อื่น ผลสารวจของงานวิจัยหนึ่งที่จัดการทดลองกับ ผู้บรรยาย 8 คนที่ถูกกาหนดให้ใช้สัญญาณมือ 3 แบบนี้ระหว่างการบรรยายครั้งละ 10 นาที และมีการ บันทึกปฏิกิริยาของผู้ฟังในแต่ละครั้ง ในบางประเทศเช่น มาเลเซียและฟิลิปปินส์ การชี้นิ้วถือเป็นการดูถูก เพราะท่านี้ใช้กับสัตว์เท่านั้น คนมาเลเซียจะใช้นิ้วโป้งชี้คนหรือบอกทิศทาง
  • 16. การใช้นิ้วที่เหมาะสม ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆ ไป (ต่อ)  พยายามฝึกท่าหงาย-คว่าฝ่ามือ เพื่อสร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลาย มากขึ้น และเกิดผลลัพธ์ในแง่บวกกับผู้อื่น  หากจรดนิ้วอื่นๆ เข้าหานิ้วโป้งคล้ายกับท่าโอเค และพูดโดยใช้ท่านี้ คุณจะเป็นคนที่ดูมีอานาจแต่ไม่ก้าวร้าว
  • 17. ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆ ไป (ต่อ) 4. การกอดอก  เป็นการป้องกันตนเองจากบางสิ่งบางอย่างอยู่  บ่งบอกว่าบุคคลคนนั้นรู้สึกกลัวหรือประหม่า  เขาจะไม่เปิดใจและคุณจะเข้าไม่ถึงใจเขา  เป็นสัญลักษณ์ของความเย่อหยิ่ง คือท่าทางที่ไม่อ่อนน้อม  เมื่อคุณเห็นใครสักคนทาท่ากอดอก บ่งบอกว่าพวกเขาไม่เห็นด้วยกับบางอย่าง ที่คุณอาจพูดออกไป แม้ว่าคนผู้นั้นจะบอกว่าเห็นด้วยกับคุณก็ตาม  ความจริงคือภาษากายจริงใจกว่าคาพูด ผู้สื่อสารต้องวิเคราะห์ว่าทาไมเขากอดอกและหาทางให้เขาเปลี่ยนมา ทาท่าที่ยอมรับฟังมากขึ้น เช่น วิธีการยื่นบางอย่างให้ผู้ฟังถือ หรือหา อะไรให้ทา เป็นต้นจะบีบให้พวกเขาเลิกกอดอกและแนวโน้มตัวมา ข้างหน้า ซึ่งเป็นท่าที่เปิดรับมากขึ้นและทาให้รู้สึกเปิดใจมากขึ้น
  • 18. ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆ ไป (ต่อ) “ เมื่อคุณกอดอก ความน่าเชื่อถือก็ลดฮวบ ” งานวิจัยทาในสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับท่ากอดอก โดยให้  อาสาสมัครกลุ่มที่ 1 ได้รับคาสั่งให้เข้าฟังการบรรยาย แต่ละคนห้ามนั่ง ไขว่ห้าง มือห้ามกอดอก และให้อยู่ในท่านั่งที่สบายๆ ผ่อนคลาย เมื่อสิ้นสุด การบรรยายจะถูกทดสอบความตั้งใจและความรู้ในเรื่องที่บรรยาย รวมถึง ความรู้สึกต่อผู้บรรยายด้วย  อาสาสมัครกลุ่มที่ 2 ได้รับคาสั่งให้กอดอกแน่นตลอดการบรรยาย ผลที่ออกมาคือ กลุ่มที่กอดอกเรียนรับรู้ข้อมูลได้น้อยกว่าอีกกลุ่มถึง 38% กลุ่มที่ 2 ยังมีความเห็นแย้ง กับการบรรยายและผู้บรรยายมากกว่า นอกจากนี้เขายังสนใจฟังสิ่งที่ผู้บรรยายพูดน้อยลงด้วย ผลเสียของการกอดอก
  • 19. ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่ติดต่อธุรกิจ หรือแม้แต่การสนทนาเรื่องทั่วๆ ไป (ต่อ) 5.การล้วงแคะแกะเกาสิ่งต่างๆ มักจะเกิดเวลาที่คนรู้สึกไม่ปลอดภัย หรือ ไม่มั่นใจ มือมักอยู่ไม่สุข ทาให้ มองดูไม่ดี เสียบุคลิก วิธีแก้ : ให้วางแขนไว้บนโต๊ะ มือประสานกันไว้
  • 20. ภาษากายที่ถูกใช้บ่อยๆ 1.การสบสายตา (Eye contact) การสบสายตากับคนรอบข้างที่เรากาลังคุย หรือติดต่อด้วยเป็นพักๆ (ประมาณ 60- 70% ของเวลาทั้งหมด) และพยายามสบตาให้ครบทุกคน เพื่อแสดงถึงความ กระตือรือร้นและสนใจ แต่อย่าจ้องมองนานจนเกินงาม การสบสายตาไปยิ้มน้อยๆไป เป็นการแสดงความจริงใจ ความเป็นมิตรกับคนที่เรา ติดต่อด้วย การพูดแล้วไม่สบสายตา อาจจะหมายถึงไม่จริงใจ ไม่ให้ความสาคัญ หรือขาดความ มั่นใจ อาย ตื่นเต้น เขิน
  • 21. ภาษากายที่ถูกใช้บ่อยๆ (ต่อ) 2. หากผู้ฟังนั่งพิงพนักเก้าอี้ ก้มหน้า และกอดอก ผู้พูดควรสังหรณ์ใจว่า การพูดของเขาเข้าไม่ถึงผู้ฟัง และควรต้องเปลี่ยนวิธีพูด เพื่อให้ผู้ฟังคล้อยตาม หรืออาจตีความหมายว่า บุคคลผู้นี้กาลัง รู้สึกติดลบ หรือไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอของคุณ 3. การเกาหรือดึงใบหู มักจะเป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเมื่อเราได้ ยินบางอย่างที่เราไม่เชื่อ หรือไม่เห็นด้วย หรือไม่อยากฟัง แต่เราไม่สามารถพูดออกไปได้ตรงๆ
  • 22. ภาษากายที่ถูกใช้บ่อยๆ (ต่อ) 4. ท่ายกมือขึ้นแตะหน้า นิ้วชี้ชี้ขึ้นไปที่แก้ม ขณะที่นิ้วอื่นๆ ปิดปาก และนิ้วโป้งรองใต้คาง มักจะปรากฏเมื่อผู้ฟังกาลังใช้ความคิด ใคร่ครวญสิ่งที่ได้ยิน ขาที่ไขว้และแขนกอดอก (ป้องกันตัว) ขณะที่ศีรษะและคางก้มต่า (ปฏิเสธ/เป็นปฏิปักษ์) ภาษากายนี้แปล ได้ว่า “ผมไม่ชอบสิ่งที่คุณกาลังพูด” “ผมไม่เห็นด้วย” หรือ “ผมกาลังข่มกลั้นความรู้สึกในแง่ลบ” 5. การเกาคอ ท่านี้เป็นสัญญานของความคลางแคลงใจหรือไม่มั่นใจ และ เป็นท่าที่บ่งบอกว่า “ผมไม่แน่ใจว่าเห็นด้วย” ยกตัวอย่าง เมื่อคนหนึ่งพูดว่า “ผมเข้าใจความรู้สึกของ คุณ” แต่ทาท่าเกาคอ ซึ่งกลับบ่งบอกว่าเขาไม่เข้าใจเลย
  • 23. มือส่งภาษาได้อย่างไร ถูฝ่ามือ เป็นวิธีสื่อความคาดหวังในเชิงบวก  ความเร็วของการถูฝ่ามือใช้สื่อความคิดของคนผู้นั้นว่าใครน่าจะได้ผลดี จากสถานการณ์นี้  ตัวอย่าง : หากคุณต้องการซื้อบ้านและไปปรึกษานายหน้า หลังจากบรรยาย ลักษณะบ้านที่ต้องการแล้ว นายหน้าถูฝ่ามือไปมาอย่างรวดเร็วและพูดว่า ในกรณีนี้นายหน้าส่งสัญญาณว่าคุณน่าจะได้ประโยชน์ แต่หากเขาถูฝ่ามือช้ามากๆ ขณะที่บอกคุณ เขาจะดูเจ้าเล่ห์และคุณอาจรู้สึกว่า เขาหวังจะได้ประโยชน์เสียเอง “ผมมีบ้านที่เหมาะสาหรับคุณแล้ว”
  • 24. มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) ถูนิ้วโป้งกับนิ้วชี้  มักใช้เป็นสัญญาณถึงการคาดหวังเงินทอง  คนที่มักทาท่านี้คือคนขายของข้างถนนที่พูดว่า “ผมจะลดราคาให้คุณ 40%” หรือ คนที่พูดกับเพื่อนว่า “ขอยืมเงินสัก 500 บาทได้ไหม” มืออาชีพควรหลีกเลี่ยงท่านี้เมื่ออยู่กับลูกค้า เพราะจะทาให้เกิดความรู้สึกในแง่ลบ เกี่ยวกับเรื่องเงิน
  • 25. มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) ท่าประสานมือ  ท่านี้อาจจะดูเหมือนมั่นใจ แต่ท่านี้แสดงความรู้สึกที่เก็บกด ว้าวุ่นใจหรือกาลัง สะกดกลั้นความรู้สึกในแง่ลบหรือ ความวิตกกังวล แม้จะยิ้มไปด้วยก็ตาม  ตาแหน่งมือเชื่อมโยงกับระดับความหงุดหงิดของคนผู้นั้น คนที่ประสานมือในตาแหน่งสูงหรือกลางเป็นคนที่รับมือได้ยากกว่า ผู้ที่ ระสานมือในตาแหน่งต่า ท่าประสานมือแบบหลักๆ มีอยู่ 3 แบบ ประสานมือชูไว้ตรงหน้า ประสานมือวางไว้บนโต๊ะหรือบนตัก ประสานมือห้อยไว้ตรงเป้ากางเกงขณะยืน 123
  • 26. มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) วิธีแก้การประสานมือ • คุณต้องทาอะไรบางอย่างให้เขาคลายนิ้วที่ประสานอยู่กันอยู่ออก อาจโดยการยื่นเครื่องดื่มให้ หรือขอให้เขาถือบางสิ่ง มิฉะนั้นความรู้สึกในแง่ลบ จะไม่หายไป เช่นเดียวกับผู้ที่ทาท่ากอดอก
  • 27. มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) ท่าประกบปลายนิ้ว เป็นท่าที่บ่งบอกความมั่นใจหรือความรู้สึกเชื่อมั่นในตัวเอง ลักษณะเป็นผู้นา ควรหลีกเลี่ยงท่านี้หากต้องการโน้มน้าวใจคนหรือทาให้อีกฝ่ายไว้วางใจ เพราะบางครั้งท่านี้อาจะถูกตีความว่า สื่อถึงความหลงตัวหรือเย่อหยิ่ง •มักจะเกิดขึ้นเมื่อผู้ทากาลัง ออกความเห็นหรือความคิดหรือ เป็นฝ่ายพูด ท่าประกบปลายนิ้วแบบสูง •มักจะใช้เมื่อผู้ทากาลังฟังมากกว่าพูด ท่าประกบปลายนิ้วแบบต่า
  • 28. มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) ท่าจับมือไขว้หลัง • ท่านี้เป็นท่าปกติของผู้นา ราชวงศ์ ตารวจที่เดินตรวจการณ์ ในพื้นที่ ครูใหญ่ที่เดินไปรอบๆ สนามเด็กเล่นในโรงเรียน เจ้าหน้าที่ทหารรุ่นใหญ่ และใครก็ตามที่อยู่ในตาแหน่งบังคับบัญชา • อารมณ์ที่แฝงอยู่ในท่านี้คือความเหนือชั้น มั่นใจ และอานาจ ถือเป็นการกระทา จากจิตใต้สานึกที่ปราศจากความกลัว • หากทาท่านี้ตอนอยู่ในสถานการณ์ตึงเครียดสูง เช่น กาลังถูกนักข่าว หนังสือพิมพ์สัมภาษณ์ หรือ กาลังรอหมอฟัน มันจะทาให้คุณเริ่มรู้สึกมั่นใจและ อาจถึงขั้นควบคุมสถานการณ์ได้
  • 29. มือส่งภาษาได้อย่างไร (ต่อ) ท่าจับข้อมือไขว้หลัง • ท่านี้เป็นสัญญาณของความหงุดหงิดและความพยายามควบคุมตัวเอง มือข้างหนึ่งจับข้อมือหรือแขนอีกข้างไว้แน่นขณะไขว้หลัง ราวกับแขน ข้างหนึ่งพยายามกันไม่ให้อีก ข้างยื่นออกมาข้างหน้า • ยิ่งมือจับแขนสูงเท่าใด อารมณ์ของคนผู้นั้นก็น่าจะหงุดหงิดหรือโกรธ มากขึ้นเท่านั้น เหมือนคนผู้นี้แสดงความพยายามยิ่งขึ้นในการอาพราง ความวิตกกังวลหรือควบคุมตัวเองมากกว่าในภาพก่อน เพราะมือไต้ขึ้น ไปจับต้นแขน • ท่านี้มักพบเห็นได้หน้าห้องพิจารณาคดีเมื่อคู่กรณีเผชิญหน้ากัน ใน ห้องรับแขกของลูกค้าเมื่อพนักงานขายจากต่างบริษัทเผชิญหน้ากัน และ ในห้องที่คนไข้รอพบแพทย์
  • 30. เทคนิคการอ่านภาษากายของ โจ นาวาโร่ (Joe Navarro) 1. เป็นนักสังเกตรอบตัวที่เก่งกาจ -แบบทดสอบ : ลองหลับตาแล้วให้นึกว่ามีอุปกรณ์อะไรบ้างที่อยู่ในห้องนอนของเราออกมาให้ได้ 20 ชิ้น -ต้องสังเกตพฤติกรรมของคนนั้นทุกอย่าง ทุกจังหวะเวลา และทุกวินาทีว่าเขาแสดงอะไรออกมา เช่น สังเกตว่าคนนี้กาลังล้วงกระเป๋าสองนิ้ว คนนี้ล้วงกระเป๋าสี่นิ้ว คนนี้กาลังหยิบโทรศัพท์ออกมา เป็นต้น 2. สังเกตบริบทแวดล้อม การที่เราจะเข้าใจภาษากายเราจะต้องดูบริบทแวดล้อมในตอนนั้นว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น โดยดู ภาษากายของเขาประกอบกันไปด้วย เช่น หากใครสักคนนั่งอยู่ที่ป้ายรถประจาทาง กอดอกแน่น ไขว่ห้าง ก้มหน้า และวันนั้นเป็นวันในฤดูหนาวที่อุณหภูมิติดลบ ก็เป็นไปได้สูงที่เขาทาท่าเช่นนั้นเพราะรู้สึกหนาว ไม่ใช่รู้สึกต่อต้าน
  • 31. เทคนิคการอ่านภาษากายของ โจ นาวาโร่ (Joe Navarro) 3. เรียนรู้ที่จะแยกแยะและถอดรหัสด้วยภาษากายที่เป็นสากล เราต้องแยกแยะให้ออกว่าอะไรเป็นภาษามาตรฐานสากล หรืออะไรเป็นภาษาตัวของเขาเอง เช่น คนส่วน ใหญ่เวลาที่เขาเม้มปาก จะหมายถึงว่าเวลาที่เขากาลังเจอปัญหาอะไรบางอย่างอยู่ ก็เลยพยายามเม้มปาก 4. เรียนรู้ที่จะแยกแยะและถอดรหัสด้วยภาษากายเฉพาะบุคคล ภาษาตัวของบางคนซึ่งเป็นเฉพาะบุคคล เวลาที่ทาอะไรยากๆ ก็จะเม้มปากไปด้วย เป็นเพราะว่า เขากาลังจดจ่ออยู่ 5. พยายามมองหาพฤติกรรมของคนๆ นั้นในยามปกติ เช่น ในยามปกติคนนี้เขาจะชอบกอดอก หรือชอบนั่งไขว่ห้าง วางมือบนตักตัวเอง เมื่ออยู่ในช่วงเวลาที่ ผิดปกติ พฤติกรรมของเขาจะเปลี่ยนไปจากเดิม
  • 32. เทคนิคการอ่านภาษากายของ โจ นาวาโร่ (Joe Navarro) 6. พยายามหาเบาะแสหลายๆ อย่าง มองพฤติกรรมที่เป็นกลุ่มก้อน ควรอ่านการกระทาต่างๆแบบเป็นกลุ่มและคานึงถึงบริบทด้วย หากสังเกตแล้วตีความท่าใดท่าหนึ่งโดดๆ โดยไม่สนใจท่าอื่นหรือสถานการณ์โดยรวม อาจทาให้ตีความผิดได้ ต้องมองหาหลายๆ ส่วนประกอบกัน เป็นกลุ่ม เช่น หากบางคนชอบแตะจมูก เพราะคนนั้นอาจเป็นภูมิแพ้หรือไข้หวัดก็ได้ ไม่ใช่กาลังปิดบัง บางอย่างอยู่ 7. สิ่งสาคัญในการมองหาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมฉับพลัน ตัวอย่างกรณีที่คนหนึ่งได้รับโทรศัพท์ข่าวร้าย สีหน้าก็จะเปลี่ยนทันที 8. เรียนรู้ที่จะตรวจจับสัญญาณ ที่ส่งออกมาแล้วอาจจะทาให้เราแปลผิด บางคนชอบจับคอตัวเองบ่อยๆ เพราะว่าเป็นโรคกระดูกคอเสื่อม ซึ่งอาจจะทาให้เราเข้าใจผิดได้
  • 33. เทคนิคการอ่านภาษากายของ โจ นาวาโร่ (Joe Navarro) 9. การแยกแยะระหว่างความสบายใจ และความอึดอัดใจ แตกต่างกันอย่างไร ในแต่ละคนจะมีลักษณะเฉพาะของตัวเอง เมื่อไหร่ที่แสดงสัญญาณของความสบายใจ หรือความอึดอัดใจออกมา มันจะเป็นรูปแบบที่เป็นกลุ่ม 10. เวลาสังเกตผู้อื่น ให้ทาอย่างแนบเนียน เราต้องสังเกตอย่างนิ่งๆ ต้องไม่ทาให้อีกฝ่ายเขารู้ตัวว่าเรากาลังสังเกตเขาอยู่
  • 34. ภาษากายกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม •ยุโรป : หนึ่ง • ออสเตรเลีย : อยากโดนหรือไง! (ยกขึ้น) •ทั่วไป : โบกรถ ดีโอเค • กรีซ : ช่างแม่ง! (ยื่นไปข้างหน้า) •ญี่ปุ่น : ผู้ชาย ห้า
  • 35. ภาษากายกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม การหงายฝ่ามือและกระดิกนิ้วชี้เรียก • ถ้าสาวสวยกระดิกนิ้วเรียกในลักษณะนี้แล้วมักเป็นการเชิญชวนและยั่วยวนอีกฝ่าย ให้ตามไป หรือเป็นการส่งสัญญาณให้เข้ามาใกล้ๆ เพื่อกระซิบบอกความลับ บางอย่าง • แต่สาหรับชาวฟิลิปปินส์ ท่าทางนี้ใช้เรียกน้องหมาเท่านั้น