SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
Download to read offline
Physics Online V            http://www.pec9.com              บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
                   ฟ สิ ก ส บทที่ 16 ไฟฟ า และแม เ หล็ ก (1)
    ตอนที่ 1 กระแสไฟฟา
                     


                             +                                          –
                             +                                          –
                             +                                          –
                             +                                          –
                             +                                          –
      ควรทราบ
          1) กระแสไฟฟา เปนเพยงกระแสสมมติ
                            ี             ุ
          2) กระแสไฟฟา ไมใชกระแสอิเลคตรอน
          3) กระแสไฟฟาจะไหลสวนทางกบอเิ ลคตรอน
                                      ั
             และกระแสไฟฟาจะไหลทางเดียวกับประจุบวก
            และกระแสไฟฟาจะมีทศทางกับสนามไฟฟา (E)
                                ิ

1(มช 40) กําหนดใหสนามไฟฟา (E) มีทิศทางดังรูป การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟา
   และ ทิศทางของกระแสไฟฟา ( I ) ทีเ่ กิดขึนจะเปนจริงดังรูปในขอใด
                                           ้                                    (ขอ 3)
                                                                                  
          1.                                      2.


          3.                                      4.



   เราสามารถคํานวณหาปริมาณกระแสไฟฟาไดจากสมการ
                  I = Q t
          เมือ Q = ปริมาณประจุไฟฟาทีไหลผานพืนทีหนาตัดตัวนํา ณ.จุดหนึงๆ (คูลอมบ)
             ่                          ่        ้ ่                   ่
                t = เวลาทประจไฟฟาไหลผานจดนนๆ (วินาที)
                         ่ี  ุ             ุ ้ั
                I = กระแสไฟฟาทีเ่ กิด ( แอมแปร , A)
                                           59
Physics Online V             http://www.pec9.com             บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
2. ถาประจุไฟฟาที่ผานลวดตัวนําหนึ่ง ภายในเวลา 2 นาที เทากับ 600 ไมโครคูลอมบ
   กระแสไฟฟาที่ไหลผานลวดตัวนํานี้จะมีคากี่แอมแปร                         ( 5 x 10–6)
วิธทา
   ี ํ


3. ถาปริมาณประจุไฟฟาที่ผานหลอดไฟใน 1 นาที เทากับ 120 ไมโครคูลอมบ กระแสไฟฟา
   ผานหลอดไฟมคากแอมแปร
               ี  ่ี                                                  ( 2 x 10–6 )
วิธทา
   ี ํ


    กรณีที่โจทยไมบอกขนาดประจุไฟฟา (Q) มาใหนั้น เราอาจหาคาประจุไฟฟาไดจากสมการ
                          Q = ne
           เมือ n = จานวนอเิ ลคตรอนทเ่ี คลอนทผานพนทหนาตดตวนา ณ.จุดหนึงๆ
              ่       ํ                   ่ื ่ี  ้ื ่ี  ั ั ํ             ่
                 e = 1.6 x 10 –19 C ( คือ ประจอเิ ลคตรอน 1 ตัว )
                                               ุ
4. หากจํานวนอิเลคตรอนทีเ่ คลือนผานพืนทีหนาตัดเสนลวดตัวนําหนึงเทากับ 5x1020 อนุภาค
                             ่       ้ ่                       ่
   ภายในเวลา 2 วินาที จงหาปริมาณกระแสไฟฟาที่เกิดขึ้น                     (40 แอมแปร)
วิธทา
   ี ํ

5. ถาตอลวดโลหะเสนหนึ่งกับเซลลไฟฟา แลวพบวามีกระแสไฟฟา ผานลวดเสนนี้ 3.2 A
   จงหาจานวนอเิ ลคตรอนทผานพนทภาคตดขวางลวดในเวลา 5 วินาที
          ํ               ่ี  ้ื ่ี ั                                     (1020 ตัว)
วิธทา
   ี ํ



     เราอาจคํานวณหาปริมาณกระแสไฟฟาไดจากอีกสมการหนึ่ง คือ
                      I = Nev A
         เมือ N =
            ่        ความหนาแนนอิเลคตรอน ( m–3 )
              e =   1.6 x 10 –19 C ( คือ ประจอเิ ลคตรอน 1 ตัว )
                                             ุ
              v =    ความเร็วลอยเลือนของอิเลคตรอน (m /s )
                                   ่
              A =    พนทหนาตดของตวนา ( m2)
                       ้ื ่ี  ั     ั ํ
                                           60
Physics Online V            http://www.pec9.com             บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
6. ลวดเสนหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด 5 ต.ร.มม มี e 1x1028 อนภาคตอ ล.บ เมตร ถา e เคลอนท่ี
                                                       ุ                      ่ื
   ดวยความ เรวลอยเลอน 1 มม/วินาที จงหากระแสที่ไหลในเสนลวด
              ็         ่ื                                                        (8 A)
วิธทา
   ี ํ




7(En 37) ลวดโลหะเสนหนึ่งมีพื้นที่ ภาคตดขวาง 1 ตารางมลลิเมตร ถามีกระแสไฟฟาจํานวน
                                       ั              ิ
   หนึ่งไหลผานลวดนี้ ในเวลา 4 วินาที โดยขนาดความเร็วลอยเลือนของอิเล็กตรอนเทากับ
                                                             ่
   0.02 เซนตเิ มตรตอวนาที จงหาปริมาณประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่ผานลวดนี้ในเวลาดังกลาว
                    ิ
   ( ใหความหนาแนนอิเลคตรอนอิสระของโลหะนีเ้ ทากับ 1.0 x 1029 m–3 )          (ขอ 3)
      1. 8.00 C           2. 10.2 C            3. 12.8 C            4. 16.0 C
วิธทา
   ี ํ




   ควรทราบเพมเตมวา พื้นที่ใตกราฟกระแสไฟฟา ( I ) กับเวลา ( t ) จะมีขนาดเทากับปริมาณ
              ่ิ ิ 
   ประจุไฟฟา (Q) เสมอ
8(En 41/2) กระแสไฟฟา I ที่ผานเสนลวดโลหะเสนหนึ่ง
   สัมพันธกับเวลา T ดงกราฟ จงหาปรมาณประจไฟ
                         ั                 ิ        ุ
   ฟาทั้งหมดที่ผานพื้นที่หนาตัดของเสนลวดโลหะนี้ ใน
   ชวงเวลา 0 ถึง 10 วินาที
      1. 5.0 C                       2. 6.25 C
      3. 7.5 C                       4. 8.75 C                                   (ขอ 3)
วิธทา
   ี ํ



                     ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦


                                           61
Physics Online V            http://www.pec9.com              บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
         ตอนที่ 2 กฏของโอหม และความตานทาน
                          
   กฏของโอหม กลาววา
       “ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวนําหนึ่ง ๆ จะแปรผันตรงกับความตางศักย”
   เขียนความสัมพันธจะได        I ϒ V
                                 I = kV
                                V = 1 Ik
                                V = IR
                     เมือ
                        ่       V = ความตางศักย (โวลต)
                                I = ปริมาณกระแสไฟฟา (แอมแปร)    
                                R = ความตานทาน (โอหม)
9. จะตองใชความตางศักยเทาใดตอกับตัวตานทาน 1 เมกะโอหม (106 υ) เพือใหมกระแส
                                                                       ่    ี
   ไฟฟาผานตัวตานทาน 1 mA                                                (100 โวลต )
วิธทา
   ี ํ

10. ลวดความตานทานเสนหนึง เมือตอระหวางความตางศักย 4.0x10–3 โวลต มีกระแสไหล
                            ่ ่
   ผาน 1.0 มิลลิแอมแปร ถาตอระหวางความตางศักย 1.2 โวลต จะมีกระแสผานกีแอมแปร
                                                                             ่
      ก. 0.3 x 10–3         ข. 3.3 x 10–3      ค. 4.8 x 10–3 A      ง. 0.3     ( ขอ ง )
วิธทา
   ี ํ



               จาก        V =   IR
               จะได      V =   I
                          R
            จะเห็นวา   หาก R   มาก I จะนอย
                        หาก R   นอย I จะมาก
                                  
    และเกี่ยวกับความตานทานของตัวนําใด ๆ
                       R ϒ AL
                       R = ″A L
                                           62
Physics Online V              http://www.pec9.com             บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
             เมือ
                ่     R   =   ความตานทาน (โอหม)
                      ″   =   สภาพตานทาน (โอหม . เมตร)
                                                  
                      L   =   ความยาว (เมตร)
                      A   =   พืนทีหนาตัดของตัวนํา (เมตร2)
                                ้ ่
11(En 18) หนวยของความตานทานจําเพาะ คือ                                         (ขอ ก)
      ก. โอหม . เมตร
                        ข. โอหม        ค. โอหมตอเมตร2            ง. โอหมตอเมตร
12. ลวดโลหะชนิดหนึง มีสภาพตานทาน 2.0 x 10–8 โอหม . เมตร และ มีพนทีหนาตัด 1.0
                    ่                                               ้ื ่
    ตารางเซนติเมตร ถาตองการใหลวดโลหะนี้มีความตานทาน 1 โอหม จะตองใชลวดยาวกี่เมตร
                                                             
      1. 5.0 x 10–3        2. 2.0 x 10–2        3. 50       4. 5.0 x 107 (ไมมีขอถูก)
วิธทา
   ี ํ



13(มช 36) ในการทดลองหาคาสภาพตานทานของสารแทงสี่เหลี่ยมผืนผายาว 1 cm และมีพื้นที่
   หนาตัด 0.5 ตารางเซนติเมตร ผานกระแสไฟฟา 1 mA ตามแนวความยาวของสารแลววัด
   คาความตางศักยระหวางปลายทั้งสองขางของสารซึ่งอานคาได 10–2 โวลต จงหาคาสภาพ
   ตานทานของสาร                                                         (0.05 โอหม เมตร)
วิธทา
   ี ํ




14. สายไฟ 2 เสน ทําดวยโลหะ 2 ชนิด เสนแรกมีสภาพความตานทานเปน 5 เทาของเสนที่ 2
   ถาความยาวและความตานทานเทากัน อัตราสวนพืนทีหนาตัดของเสนที่ 1 ตอเสนที่ 2 คือ
                                              ้ ่
       ก. 1 : 3            ข. 2 : 1           ค. 5 : 1               ง. 5 : 2     ( ค.)
วิธทา
   ี ํ




                                            63
Physics Online V           http://www.pec9.com            บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
15. สายไฟ 2 เสน ทําจากโลหะชนิดเดียวกัน เสนทีสองมีพนทีหนาตัดเปน 6 เทาของเสน
                                              ่     ้ื ่
   แรก และมีความยาวเปน 3 เทาของเสนแรก จงหาวาความตานทานของเสนแรกวามีคาเปน
                                                                               
   กีเ่ ทาของเสนทีสอง
                    ่                                                     (2 เทา)
วิธทา
   ี ํ




16. ลวดตัวนําขนาดสม่าเสมอเสนหนึงยาว 8 เมตร วัดความตานทานได 9 โอหม ถามีลวด
                       ํ         ่                                       
   ตัวนําชนิดเดียวกัน แตขนาดเสนผาศูนยกลางเปนครึงหนึงของเสนแรก ตองการใหมความ
                                                    ่ ่                        ี
   ตานทาน 18 โอหม จะตองใชลวดยาวกีเ่ มตร
                                                                                (4)
วิธทา
   ี ํ




17(มช 28) ลวดเหล็กมีเสนผานศูนยกลางเปนสองเทาของลวดทองแดงและมีสภาพตานทานเปน
   6 เทาของลวดทองแดง ถาตองการลวดทองแดง และ ลวดเหล็กที่มีความตานทานเทากัน
   จะตองมีอตราสวนของความยาวของลวดทองแดง ตอลวดเหล็กเทาใด
             ั                                                             (ขอ ค)
      ก. 3 : 1             ข. 1 : 3              ค. 3 : 2         ง. 2 : 3
วิธทา
   ี ํ




                                         64
Physics Online V            http://www.pec9.com              บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
18. ลวดเสนหนึงมีความตานทาน 6.0 โอหม เมือนํามารีดใหเสนลวดมีขนาดเล็กลงจนมีความ
              ่                           ่
   ยาวเปนสามเทาของตอนเริมตน ถาคุณสมบัติตางๆ ของสารที่ทําเสนลวดไมเปลี่ยน ความ
                          ่
   ตานทานของเสนลวดตอนสุดทายจะเปนกีโอหม
                                        ่                                     ( ขอ ง. )
      ก. 18                 ข. 24               ค. 36               ง. 54
วิธทา
   ี ํ




                     ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦



    ตอนที่ 3 พลังงานไฟฟา และ กําลังไฟฟา
                        สมการที่ใชหาพลังงานไฟฟา
                                W = QV
                                W = ItV                 จาก Q = I t
                                W = ItIR                จาก V = IR
                                W = I2Rt
                                W = VtV R               จาก I = V
                                                                R
                                          2
                                W= V t  R
             เมอ W = พลังงานไฟฟา (จล)
               ่ื                     ู          Q      = ประจุไฟฟา (คลอมบ)
                                                                       ู     
                  V = ความตางศกย (โวลต)
                              ั                I      = กระแสไฟฟา (แอมแปร)  
                  t = เวลา (วนาท)
                              ิ ี                R      = ความตานทาน (โอหม)
                                                                          
                                          65
Physics Online V           http://www.pec9.com          บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

          สมการที่ใชหากําลังไฟฟา
                   P = W    t
                           QV
                   P = t
                   P = IV
                   P = I2 R
                              2
                   P = V    R
            เมอ P = กําลังไฟฟา (วัตต)
              ่ื
19. ตอหลอดไฟกับความตางศักย 220 V แอมมิเตอรอานกระแสไฟฟาได 0.1 A จงหาพลง
                                                                             ั
   งานไฟฟาทีสญเสียไฟเมือเปดหลอดไฟนี้ 1 นาที
             ่ ู        ่                                              ( 1320 จล)
                                                                                ู
วิธทา
   ี ํ




20(มช 28) เตาไฟฟาเตาหนงประกอบดวยลวดใหความรอนซงมความทาน 48.4 υ เมือตอเขา
                     ่ึ                  ่ึ ี                      ่
   กบความตางศกยไฟฟา 220 V เปนเวลา 10 นาที จงหาปรมาณความรอนทเ่ี กดขน
    ั         ั                                ิ               ิ ้ึ
      ก. 6 x 105J        ข. 6 x 10  4J   ค. 104J        ง. 103 J (ขอ ก)
วิธทา
   ี ํ




21. ตอหลอดไฟกับความตางศักย 220 V แอมมิเตอรอานกระแสไฟฟาได 0.1 A จงหากําลังไฟ
                                               
   ฟาของหลอดไฟน้ี
                                                                       ( 22 วัตต)
                                                                                 
วิธทา
   ี ํ




                                          66
Physics Online V             http://www.pec9.com               บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

22(En 37) หลอดไฟฟาหลอดแรกมีความตานทาน 4 โอหม ตอกับแบตเตอรี่ 12 โวลต หลอดที่ 2
                                                    
   มีความตานทาน 5 โอหม ตอกับแบตเตอรี่ 15 โวลต กําลังไฟฟาที่หลอดทั้งสองใชตางกันเทาใด
                      
      1. 3 W            2. 9 W             3. 11 W                4. 22 W           (ขอ 2)
วิธทา
   ี ํ




23(En 41) เตาไฟฟาขนาด 1200 วัตต เตาอบไมโครเวฟขนาด 900 วัตต และหมอหุงขาวไฟฟา
                 
   ขนาด 600 วัตต ถาใชทงสามเครองกบไฟฟา 220 โวลต พรอมกันจะใชกระแสไฟฟาเทาใด
                     ้ั      ่ื ั    
      1. 8 A           2. 10 A           3. 12 A          4. 15 A          (ขอ 3)
วิธทา
   ี ํ



24(มช 43) จงหาสภาพตานทานไฟฟาในหนวยโอหมตอเมตรของลวดยาว 2 เมตร พืนทีหนา
                                                                     ้ ่
   ตัด 10 –6 ตารางเมตร เมอมกระแสไฟฟา 1 แอมแปรไหลผาน จะมอตราการเปลยน
                           ่ื ี                               ีั           ่ี
   แปลง พลงงานไฟฟาเปนพลงงานความรอน 48 มิลลิวัตต
              ั        ั                                                      (ขอ 4)
       1. 2.4 x 10–2    2. 4.8 x 10–4       3. 4.8 x 10–8   4. 2.4 x 10–8
วิธทา
   ี ํ




25(En 42/2) เครองกาเนดไฟฟาเครองหนงกาลงทางานดวยอตรา 88 กิโลวัตต สงกําลังไฟฟา
                 ่ื ํ ิ        ่ื  ่ึ ํ ั ํ       ั
   ผานสายไฟซงมความตานทาน 0.5 โอหม เปนเวลา 5 วนาที ทความตางศกย 22,000 โวลต
              ่ึ ี                                 ิ ่ี     ั
   จงหาคาพลงงานทสญเสยไปในรูปความรอนภายในสายไฟ
          ั         ่ี ู ี             
      1. 8 J                2. 20 J          3. 40 J      4. 80 J      ( ขอ 3 )
วิธทา
   ี ํ



                                            67
Physics Online V          http://www.pec9.com            บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
26(มช 38) เครองกาเนดไฟฟาเครองหนงสามารถสงกาลงไฟฟาได 345 กิโลวัตต ใหหาคา
               ่ื ํ ิ    ่ื     ่ึ         ํ ั     
   พลงงานทสญเสยไปในรูปของความรอนภายในสายไฟ ถาสงกําลังไฟฟาผานสายไฟยาว
      ั     ่ี ู ี
   500 เมตร ความตานทาน 0.25 โอหม เปนเวลา 20 วนาที ดวยความตางศกย 69 กิโลโวลต
                                                 ิ           ั
วิธทา
   ี ํ                                                                       (125 จล)
                                                                                   ู




27(En 36) เครืองใชไฟฟาในบานชนิด 100 วัตต 220 โวลต เมือนํามาใชขณะทีไฟตกเหลือ
              ่                                           ่             ่
   200 โวลต เครืองใชไฟฟานันจะใชกาลังไฟฟาเทาใด
                    ่          ้     ํ
      1. 78 W              2. 83 W           3. 88 W         4. 93 W        (ขอ 2)
วิธทา
   ี ํ




28. เตารดไฟฟาขนาด 1,000 วตตใชกบไฟฟา 220 V ถานามาตอกบไฟ 110 V จะไดกาลัง
        ี               ั  ั             ํ  ั                ํ
   ไฟฟาเทาใด
        
      ก. 250 W       ข. 500 W       ค. 700 W      ง. 750 W        (ขอ ก)
วิธทา
   ี ํ




                                        68
Physics Online V            http://www.pec9.com              บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
29. จากขอทผานมา ใชเตารีดนีโดยถูกตองคือใชกบไฟฟา 220 V ตองใหอตราความรอนเทาใด
         ่ี              ้                ั                    ั
      ก. 220 จูล/วนาที
                  ิ                       ข. 240 จูล/วนาที
                                                      ิ
      ค. 1000 จูล/วนาที
                    ิ                     ง. 2400 จูล/วนาที
                                                        ิ                    (ขอ ค)
วิธทา
   ี ํ




30(En 38) จะตองใหความตางศักยไฟฟากีโวลต เพือจะทําใหเกิดสนามไฟฟาทีสามารถเรง
                                       ่        ่                       ่
   อเิ ลกตรอนจากหยดนงใหมความเร็ว 0.4 x 107 เมตรตอวนาที
        ็          ุ ่ิ  ี                          ิ                       (45.5 V)
    กําหนด ประจุอเิ ลคตรอน = 1.6 x 10–19 C        มวลอเิ ลคตรอน = 9.1 x 10–31 kg
วิธทา
   ี ํ




31(En 32) ถาตองการเรงอนุภาคมวล 4 x 10–12 กิโลกรัม ทีมประจุ 8 x 10–9 คลอมบ
                                                       ่ ี              ู
   จากสภาพหยดนงใหมอตราเรว 100 เมตร/วนาที จะตองใชความตางศกยเ ทาใด
               ุ ่ิ  ี ั     ็            ิ                  ั 
      1. 0.025 โวลต 2. 0.4 โวลต         3. 2.5 โวลต     4. 40 โวลต        (ขอ 3)
วิธทา
   ี ํ




                                             69
Physics Online V                 http://www.pec9.com            บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
32. ถาตัวทําใหเกิดความรอน ทําใหอณหภูมของน้าจํานวน 2 กิโลกรัม เปลียนจาก 15oC
                                    ุ     ิ   ํ                      ่
   เปน 21oC ในเวลา 20 นาที จงหากาลงของตวทาใหเ กดความรอนน้ี (วัตต)
                                      ํ ั       ั ํ   ิ
   (ความจุความรอนจําเพาะของน้ามีคา 4200 จูล/กก.เคลวน)
                                  ํ                    ิ
       ก. 0.6              ข. 42.0          ค. 105.0         ง. 142           (ขอ ข)
วิธทา
   ี ํ




33. ถาผานกระแสไฟฟาขนาด 15 แอมแปร ความตางศกย 220 โวลต ไปยงกาตมนาไฟฟา
                                             ั                 ั  ํ้         
   แบบขดลวด ซึงมีนาบรรจุอยู 500 กรัม จงคํานวณหาเวลาทีใชในการตมน้าทีอณหภูมตงตน
                  ่ ํ้                                ่             ํ ุ่     ิ ้ั
   23oC ใหเดือดทีอณหภูมิ 100oC ถา 70% ของพลังงานไฟฟาใหความรอนกับน้ําโดยตรง
                   ุ่
   (กาหนดใหความจความรอนจาเพาะของนา = 4.2 kJ/kg K)
     ํ               ุ     ํ         ํ้
        ก. 9 วนาที
                ิ         ข. 17 วนาที
                                 ิ        ค. 49 วนาที
                                                 ิ        ง. 70 วนาที
                                                                 ิ          (ขอ ง)
วิธทา
   ี ํ




                                                  P
         สมการที่ใชหาคาไฟฟา     คาไฟฟา = ( 1000 ) t (ราคาตอหนวย)
                                         เมือ t = เวลา (ชวโมง)
                                            ่               ่ั
34. เมอเปดหลอดไฟขนาด 100 วัตต เปนเวลานาน 20 ชวโมงตอเนอง จะตองเสยคาไฟก่ี
      ่ื                                      ่ั    ่ื      ี 
   บาท ( กาหนดคาไฟฟาหนวยละ 2 บาท )
           ํ                                                        (4)
วิธทา
   ี ํ

                                               70
Physics Online V              http://www.pec9.com         บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
35(มช 37) เครองทานาอนไฟฟาขนาด 3000 วัตต 220 โวลต ถาอาบนาอนเปนเวลา 15 นาที
              ่ื ํ ํ้ ุ                                     ํ้ ุ 
   จะเสียคาไฟฟาประมาณ (อัตราคาไฟฟาสําหรับ 5 หนวยแรก เปน 3 บาท/หนวย) (2.25 บาท)
                                                                      
วิธทา
   ี ํ




                        ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦



     ตอนที่ 4 การตอตัวตานทาน
  4.1 การตอแบบอนุกรม มกฏการตอดงน้ี
                       ี      ั
             1)    Iรวม = I1 = I2
             2)    V1 ¬ V2
             3)    Vรวม = V1 + V2
             4)    Rรวม = R1 + R2
36. จากรูป         ก. ใหหาความตานทานรวม        (5 ϖ)
                   ข. ใหหา I1 และ I2
                                         (5 แอมแปร)
                   ค. ใหหา V1 และ V2
                                         (10 V , 15 V)
                   ง. ใหหา Vรวม
                                           (25 โวลต)
วิธทา
   ี ํ




                                            71
Physics Online V            http://www.pec9.com               บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
37. จากรปจงหา กระแสไฟฟารวมของวงจร และ
        ู             
                                                        1ϖ 2ϖ 3ϖ
   กระแสไฟฟาทไหลผานตวตานทาน 1 ϖ
             ่ี    ั 
วิธทา
   ี ํ                 ( Iรวม = I1= 3 แอมแปร)                      V=9V




38. จากขอทผานมา จงหาความตางศกยของตวตานทาน 1 ϖ และ ความตางศกยรวม
         ่ี             ั     ั                       ั 
วิธทา
   ี ํ                                        (V1 = 3 โวลต , Vรวม = 18 โวลต)




39. จากรปจงหา ความตางศักยทครอม
        ู                   ่ี
                                                        R1=2ϖ R2=4ϖ
      ตวตานทาน 4 ϖ
       ั                 (16 โวลต)
วิธทา
   ี ํ                                                 V1= 8 V     V2= ?



40. จากรปจงหา ความตางศกยรวมของวงจร
        ู           ั 
                                                       R1=3ϖ R2=8ϖ
วิธทา
   ี ํ                     (33 โวลต)
                                                                   V2= 24 V


41. จากรปจงหา คาความตานทาน R
        ู                                      I รวม = 3 A 2ϖ         R
วิธทา
   ี ํ                 (4ϖ)
                                                                 Vรวม = 18 V



                                           72
Physics Online V          http://www.pec9.com            บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
42(มช 41) ถาตองการแบงศักยไฟฟา V โดยใชความตานทาน จะตอง
                                                        
   ใชตวตานทาน R1 ขนาดกโอหม จงจะไดความตางศกยระหวางจด
     ั                   ่ี  ึ            ั        ุ
   A และ B มีคาเปน 1 V
                       3                          (15 โอหม)
วิธทา
   ี ํ




  4.2 การตอแบบขนาน มกฏการตอดงน้ี
                   ี      ั
             1)
             I1 # I2
             2)
             Iรวม = I1 + I2
             3)
             Vรวม = V1 = V2
             4) 1      1    1
              Rรวม = R1 + R2
43. ก. ใหหาความตานทานรวม (2 ϖ)
                  
    ข. ใหหา Vรวม             (36 โวลต)
    ค. ใหหา V1 และ V2        (36 โวลต)
    ง. ใหหา I1 และ I2        (12 A , 6 A)
วิธทา
   ี ํ




                                        73
Physics Online V             http://www.pec9.com                 บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
44. จากรูปจงหา ความตานทานรวม
                                                                      6ϖ
    และ ความตางศักยรวมของวงจร
วิธทา
   ี ํ                  (12 โวลต)                 I รวม = 3 A
                                                                     12 ϖ




45. กระแสไฟฟา 3.5 แอมแปรไหลผานความตานทาน 3 โอหม และ 4 โอหม ซงตอกน
                                                                ่ึ  ั
   แบบขนานกระแสไฟฟาทีไหลผานความตานทานแตละอันมีคาเทาใด
                       ่                                      (2 A , 1.5 A)
วิธทา
   ี ํ




46. จากรูปจงหา หากกระแสทไหลผานตวตานทาน
                         ่ี    ั                                         3ϖ
   3 ♠ เปน 10 แอมแปร แลวกระแสทีไหลผาน
                                  ่
   ตัวตานทาน 6 ♠ จะมีคากีแอมแปร
                        ่           (5 A)
                                                                          6ϖ
วิธทา
   ี ํ




47. จากรูปจงหา หากกระแสทไหลผานตวตานทาน
                           ่ี   ั                                              4ϖ
   4 ♠ เปน 15 แอมแปร แลวกระแสรวมทีไหล
                                      ่
   เขาวงจรทังหมด จะมีคากีแอมแปร
             ้          ่         (20 A)                    I รวม = ?
                                                                                 12 ϖ
วิธทา
   ี ํ


                                           74
Physics Online V         http://www.pec9.com          บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
48. ลวดความตานทาน 2 , 3 และ 4 ♠ ตอกันอยาง
             
   ขนาน ถามกระแสไหลผานลวด 3 ♠ เปน 4
             ี          
   แอมแปร กระแสทังหมดในวงจรเปนเทาไร (13 A)
                  ้
วิธทา
   ี ํ



49. จากรป จงหาความตานทานระหวาง A กับ B
        ู
วิธทา
   ี ํ                               (6)




50. จากรป จงหาความตานทานรวม
        ู
   ระหวาง X กับ Y      (8 ϖ)
วิธทา
   ี ํ




51. นําความตานทานขนาด 1 โอหม จํานวน 20 ตัวมาตอกัน จะตอกนไดความตานทานรวม
                                                       ั      
   มากที่สุด และนอยทสดกโอหมได
                  ่ี ุ ่ี                                    (20 ϖ , 0.05 ϖ)
วิธทา
   ี ํ




                                       75
Physics Online V             http://www.pec9.com              บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
52. ลวดความตานทาน 4 เสน ตอกันดังรูป ถา
              
   ความตางศักยระหวางปลายทังสองของความ
                             ้
   ตานทาน 4 โอหม มคา 8 โวลต จงหากระ
                    ี
   แสทีผานความตานทานทุกเสน
       ่
                                 ( I7♠ = 0.8 A , I8♠ = 0.8 A , I10♠ =1.2 A , I4♠ = 2 A)
วิธีทํา




53. กระแสทีไหลผานความตานทาน 1.0 ϖ มีคาเทาใด
           ่                           
              I = 0.5 A     16    ♠                   1   ♠


                   E                          8   ♠                    3   ♠
                            5    ♠                    4   ♠

          ก. 0.3 A        ข. 0.25 A          ค. 0.279 A        ง. 0.4 A             (ขอ ข)
วิธทา
   ี ํ




                                             76
Physics Online V           http://www.pec9.com                   บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
54. จากรูปวงจรตอไปนี้ จงหากระแส
                                                  R1 = 3 ♠
    ทไหลผาน R2 , R3 , R4 (4 A)
       ่ี 
วิธทา
   ี ํ                                                R2 = 6 ♠                      R4 = 6 ♠
                               60 V
                                                                       R3 = 6 ♠




55. จากรูปจงหา V1 และ V2      (9 V , 24 V)
                                                       R1=3ϖ R2=8ϖ
วิธทา
   ี ํ

                                                         Vรวม= 33 V




                                             77
Physics Online V             http://www.pec9.com                บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
56. วงจรดงรป จงหาความตางศกยระหวางจด a และ b
          ั ู          ั        ุ                                    (ก. 6V ข. 4.5 V ค. 6 V)
   ก. เมอไมมตวตานทาน
        ่ื  ี ั         ข. เมือมีตวตานทาน 2 k♠
                                ่ ั                              ค. เมือมีตวตานทาน 1 M♠
                                                                       ่ ั
          R1=1k♠                      R1=1k♠                        R1=1k♠
Vin 9V                           9V             a              9V               a
                      a
                          Vout        R2=2k♠            2 k♠        R2=2k♠                   1 M♠
          R2=2k♠     b                      b                                  b
               ก                            ข.                                 ค.
วิธีทํา




    4.3 วงจรที่มีบางจุดยุบรวมกันได
57. จากรูปตอไปนีจงหาความตานทานรวม
                 ้                                         6♠             3♠            6♠
   ระหวางจด A กับ B
         ุ                  (1.5 โอหม)
                                                                    C                             B
                                                    A                               D
วิธีทํา




                                           78
Physics Online V            http://www.pec9.com                บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
58. จากรูปตอไปนีจงหาความตานทานรวม
                 ้                                        6♠             3♠           6♠
   ระหวางจด A กับ B
         ุ                 (3.75 โอหม)
                                                                C                                  B
                                                  A                               D
วิธีทํา
                                                                                  8♠




59. จากรูปตอไปนีจงหาความตานทานรวม
                 ้                                                  2♠
                                                      A                       C
   ระหวางจด A กับ B
         ุ                   (3 โอหม)
วิธีทํา                                                                           1♠
                                                                    1♠
                                                      B                       D




60. จากรูปตอไปนีจงหาความตานทานรวม
                 ้                                        4♠                      2♠
                                                  A                                            B
   ระหวางจด A กับ B
         ุ                  (1.5 โอหม)
วิธีทํา                                               4♠                          2♠
                                                                    3♠
                                                  D                                        C




                                           79
Physics Online V           http://www.pec9.com              บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
61. จากรูปตอไปนีจงหาความตานทานรวม
                 ้                                         1.2 ♠            5.6 ♠
                                                  A                    C                     D
   ระหวางจด A กับ B
         ุ                   (6 โอหม)
                                                                             12 ♠             6♠
วิธีทํา
                                                                       4♠
                                                  B                                          E
                                                                       F




62. จากรูปทีกาหนดใหจงหาความตานทาน
            ่ํ
                                                                1♠              1♠
   รวมระหวางจด A กับ B
             ุ             (1 โอหม)                  1♠                               1♠            B
วิธีทํา                                                          b              c
                                                 1♠                                          1♠
                                                            a
                                                 1♠                                 d            1♠
                                                                   f        e
                                                 A
                                                      1♠        1♠          1♠ 1♠




                                          80
Physics Online V          http://www.pec9.com         บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
    4.4 วงจรแบบสมมาตร
63. จงหาความตานทานรวมระหวางจด
                             ุ
                                                 2♠             2♠
    A กับ B ถาตัวตานทานแตละตัว
   มีความตานทาน 2 ♠       ( 3 ♠)
วิธีทํา
                                          2♠          2♠ 2♠             2♠

                              A                              2♠ 2♠                    B
                                                 2♠
                                                                        2♠
                                          2♠
                                                      2♠
                                                2♠         2♠




64. จากวงจรทีกาหนดใหจงหาความตานทานรวมระหวางจุด x , y
             ่ํ                                                              (2 R)
                            2R            2R
                R                                       R
                       R          R R            R
                                  R R            R         y
              x        R
                R                                        R
วิธีทํา                           2R            2R




                                        81
Physics Online V         http://www.pec9.com               บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
65. จากรป จงหาความตานทานรวมระ
         ู
   หวางจุด x และ y      (10 ♠)                         20♠
วิธีทํา
                                       5♠                                       5♠
                                                   6♠           6♠
                             x                          4♠                                 y
                                                   6♠           6♠              5♠
                                       5♠
                                                          20♠




    4.5 วงจร WHEATSTONE BRIDGE
66. จงหาความตานทานรวมระหวางจด
                           ุ                     100♠              100♠
    A กับ B           (100 โอหม)
วิธีทํา                                        A                100♠        B

                                               100♠                     100♠




                                       82
Physics Online V         http://www.pec9.com                   บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
67. จงหาความตานทานรวมระหวางจด
                           ุ                           1♠                2♠
    A กับ B           (2.5 โอหม)
วิธีทํา
                                               A                    6♠                   B

                                                         5♠                10♠




68. จงหาความตานทานรวมระหวางจด
                           ุ                           10♠
    A กับ B           ( 40 โอหม)
                         3                                                 10♠
วิธีทํา                                                   C                          B
                                          A                            D
                                                   20♠
                                                                      20♠




69. จากรูปจงหาความตานทานรวมระหวางจุด x กับ y                                   (200 โอหม)
                           200♠
                                                    500♠
                           200♠
            x                     100♠              500♠                         y
                          50♠
วิธีทํา
                                                    500♠




                                         83
Physics Online V           http://www.pec9.com                   บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
70. จากวงจรในรูป โวลมเิ ตอรอานคาไดศนย
                             ู                          20♠                    R
                                                                            C
   จงหาตวตานทาน R ในวงจรมีคากีโอหม
         ั                   ่
วิธีทํา                          (6 โอหม)
                                                      40♠                        30♠        B
                                                  A                V
                                                        E                   D
                                                                            10♠




    4.6 วงจร Delta , Wye
71. จงหาความตานทานรวมระหวางจด A และ B
                         ุ                                            C
   จากรูปวงจรทีกาหนดให
                ่ํ            (2.6 โอหม)                   3♠                   2♠
วิธีทํา
                                                       A                    5♠          B

                                                        2.5♠                       3♠
                                                                        D




                                             84
Physics Online V            http://www.pec9.com                บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
72. จากวงจรดังรูปตัวตานทานทุกตัวมีความตาน
   ทานตัวละ 30 โอหม จงหาความตานทานรวม
                                                                         C
   ระหวางจด A และ B
        ุ                      ( 100 โอหม)                   30♠             30♠
                                   3
วิธีทํา                                                               30♠

                                                  30♠         30♠             30♠      30♠
                                                  A                                      B
                                                        30♠           F       30♠




                     ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦



    ตอนที่ 5 แรงเคลอนไฟฟา
                   ่ื   
    แรงเคลือนไฟฟา (E) คือ พลังงานที่ประจุ 1 คูลอมบใชในการเคลื่อนที่จนครบ 1 รอบวงจร
           ่
                                                E = I(R+r)
                                     เมือ E คือ แรงเคลอนไฟฟา (โวลต)
                                        ่               ่ื    
                                          I คือ ปริมาณกระแสไฟฟา (แอมแปร)
                                          R คือ ความตานทานภายนอกเซลลไฟฟา (โอหม) 
                                          r คือ ความตานทานภายในเซลลไฟฟา(โอหม)
                                          85
Physics Online V           http://www.pec9.com         บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
73. เซลไฟฟาอันหนึงมีความตานทานภายใน 2 โอหม เมือตอกับความตานทาน 8 โอหม
                  ่                            ่                         
   พบวามีกระแสไฟฟาไหล 0.15 แอมแปร แรงเคลือนไฟฟาของเซลไฟฟาอันนีคอ ( 1.5 V )
                                            ่                      ้ื
วิธทา
   ี ํ




74(มช 27) เซลไฟฟาอนหนงมแรงเคลอนไฟฟา 50 โวลต เมือตอกับความตานทาน 10 โอหม
                  ั ่ึ ี       ่ื             ่                           
   พบวามีกระแสไฟฟาไหล 4.5 แอมแปร ความตานทานภายในของเซลไฟฟาอันนีคอ
                                                                    ้ื
     ก. 0 ♠           ข. 0.50 ♠        ค. 1.1 ♠           ง. 5 ♠       (ขอ ค)
วิธทา
   ี ํ




75(En 36) จงหากระแสไฟฟาทีไหลผาน
                           ่
   แอมมิเตอร (A) ในวงจร     (ขอ 3)
      1. 0.3 A           2. 0.6 A
      3. 1.0 A           4. 1.5 A
วิธทา
   ี ํ




                                         86
Physics Online V         http://www.pec9.com           บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
76. เซลไฟฟาเซลหนึงมีแรงเคลือนไฟฟา 2 โวลต ความตานทานภายใน 2♠ ตอเปนวงจร
                   ่           ่                 
   ดวยลวดความตานทาน 8♠ จงหา
      ก. กระแสไฟฟาทีไหลผานวงจร
                       ่                ( 0.2 A)
      ข. ความตางศักยทขวเซล
                         ่ี ้ั          ( 1.6 V)
      ค. ความตางศักยภายในเซล          ( 0.4 V)
วิธทา
   ี ํ




77. เมือนําเอาลวดความตานทาน 4 υ ตอเขากบขวแบตเตอรแรงเคลอนไฟฟา 18 โวลต ความ
       ่                            ั ้ั          ่ี     ่ื 
   ตานทานภายใน 2 υ จะเกิดความตางศักยระหวางขัวเซลเทาใด
                                                ้                  (12 V)
วิธทา
   ี ํ




78. เมือนําเอาลวดความตานทาน 6 และ 12 υ ตอเขากบขวแบตเตอรแรงเคลอนไฟฟา 18 V
       ่                                   ั ้ั          ่ี      ่ื   
   ความตานทานภายใน 2 υ จะเกิดความตางศักยระหวางขัวเซลเทาใด เมือลวดตานทาน
                                                  ้             ่
   ทังสองตอกันแบบอนุกรม
     ้                                                                (16.2 V)
วิธทา
   ี ํ




                                       87
Physics Online V           http://www.pec9.com            บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
79. จากขอทีผานมา หากตัวตานทาน 6 และ 12 υ เปลียนเปนตอกันแบบขนาน จะเกิดความ
            ่                                 ่
   ตางศกยระหวางขวเซลเทาใด
     ั        ้ั                                                 (12 V)
วิธทา
   ี ํ




80. เมอตอความตานทาน 1 υ เขาระหวางขัวเซลลไฟฟาเซลลหนึง วัดกระแสไฟฟาได 5
       ่ื                          ้                  ่
   แอมแปร เมือเปลียนความตานทานเปน 7 υ วัดกระแสไฟฟาได 1 แอมแปร เซลลไฟฟา
               ่ ่
   นีมแรงเคลือนไฟฟาเทาไร
     ้ ี     ่                                                         ( 7.5 โวลต )
วิธทา
   ี ํ




81(มช 28) เมอตอความตานทาน 1♠ เขาระหวางขัวเซลลไฟฟาเซลลหนึง วัดกระแสไฟฟาได
             ่ื                         ้                   ่
   2 A เมือเปลียนความตานทานเปน 2.5♠ วัดกระแสไฟฟาได 1 A เซลลไฟฟานีมแรง
           ่ ่                                                           ้ ี
   เคลือนไฟฟาเทาไร
       ่
      ก. 1.0 V         ข. 1.5 V      ค. 2.5 V          ง. 3.0 V           (ขอ ง)
วิธทา
   ี ํ




                                         88
Physics Online V              http://www.pec9.com           บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
82(มช 35) ความตานทานตวหนงตอกบแบตเตอร่ี ทําใหมกระแส 0.6 แอมแปร ไหลผาน
                       ั ่ึ  ั                 ี                   
   เมือนําความตานทาน 4 โอหม มาตออนกรมกบความตานทานตวแรก จะทําใหกระแส
      ่                           ุ      ั          ั
   ลดลงไปจากเดม 0.1 แอมแปร จงหาแรงเคลอนไฟฟาของแบตเตอร่ี
                 ิ                      ่ื     
        ก. 5 โวลต     ข. 6 โวลต     ค. 12 โวลต    ง. 0.48 โวลต (ขอ ค.)
วิธทา
   ี ํ




83(En 33) เซลไฟฟาหนง เมอเอาลวดความตานทาน 8.5 ♠ ตอระหวางขัวของเซลลจะเกิด
                      ่ึ ่ ื                             ้
   ความตางศกยทขวของเซล 2.125 V เมอทาใหวงจรเปดความตางศกยทขวเซลเปลยนเปน
          ั  ่ี ้ั              ่ื ํ           ั  ่ี ้ั     ่ี 
   2.5 V จงหาความตานทานภายในเซล
                                                                    (1.5 ϖ )
วิธทา
   ี ํ




84. วงจรไฟฟาดงรูป มีกระแสไฟฟา 4 แอมแปร ผานตัวตานทาน ถาไมคดความตานทาน
             ั                                                  ิ
   ภายในแบตเตอรจงหา
                  ่ี
                                                         R = 0.5 โอหม
                                                                    
   ก. กระแสไฟฟาทีผานหลอดไฟ
                      ่
                                                    4 แอมแปร
   ข. ความตางศักยระหวางปลายตัวตานทาน 6 โวลต r                         R1
   ค. ความตานทานของหลอดไฟ
                                                                           หลอดไฟ
   ง. พลังงานไฟฟาที่ถูกใชไปใน 10 วินาที
   จ. กาลงไฟฟาทสญเสยไปในตวตานทาน
        ํ ั      ่ี ู ี       ั 
         (ก. 4 แอมแปร ข. 2 V ค. 1 โอหม ง. 240 J จ. 8 W)

                                            89
Physics Online V            http://www.pec9.com            บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
วิธทา
   ี ํ




    การตอเซลลไฟฟาโดยทั่วไปมี 2 แบบหลัก ๆ ไดแก
    1) การตอแบบอนุกรม คือ การตอเซลลไฟฟาใหอยูในสายเดียวกัน
          กรณี 1 ตออนุกรมแบบถูกทิศ
              Eรวม = E1 + E2
               rรวม = r1 + r2

          กรณี 2 ตออนุกรมแบบกลับทิศ
               Eรวม = E1 – E2
               rรวม = r1 + r2
85. จากรูปจงหากระแสทีไหลในวงจร
                     ่                                                   (5 แอมแปร)
วิธทา
   ี ํ




                                          90
Physics Online V           http://www.pec9.com   บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
86. จากวงจรทีแสดงตามรูป จงหากระแสในวงจร
              ่                                                         (ขอ ค)
      ก. 0.25 A            ข. 0.50 A
      ค. 1.00 A            ง. 1.50 A
วิธทา
   ี ํ




87. จากรป จงหากระแสทีไหลในวงจร
        ู            ่                                         (4 แอมแปร)
วิธทา
   ี ํ




88(En 40) พิจารณาวงจรไฟฟาดังรูป จงหาคา 
   กระแสไฟฟาทไหลในวงจร
               ่ี                 (ขอ 2)
      1. 0.25 A              2. 0.50 A
      3. 0.75 A              4. 1.00 A
วิธทา
   ี ํ




                                         91
Physics Online V             http://www.pec9.com       บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
    2) การตอแบบขนาน คือ การตอเซลลไฟฟาแบบแยกอยูคนละสาย
             Eรวม = E       และ       rรวม = r1 + r1
                                        1
                                              1 2

89. จงหา I ทีผานความตานทาน 2♠ จากรป
             ่                    ู                                          (2 A)
วิธทา
   ี ํ




90. จงหา I ทีผานความตานทาน 4 ♠
             ่
   จากรป
       ู                  (1 A)
วิธีทํา




91. จงหากระแสไฟฟาผานตัวตานทาน a , b และ c
                                                                     b
   ในวงจรไฟฟา ดังรูป
                                                       a
   ให E1 = 3 V Ra = 7 ♠                                             c
         E2 = 3 V R b = 4 ♠
                                                        r1 E1        r2 E2
          r1 = 1 ♠ Rc = 12 ♠
          r2 = 1 ♠            (0.5 ,0.375 , 0.125 A)
วิธีทํา




                                            92
Physics Online V                  http://www.pec9.com             บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
92. ไดโอดเปลงแสงตัวหนึงจะเปลงแสงเมือมีกระแสไฟฟา 20 มิลลิแอมแปร ผานขณะตอไบ
                        ่            ่                                            
   แอสตรง และความตางศกยระหวางขว 1.7 โวลต ถานําไดโอดตัวนีไปตอกับแบตเตอรี่ 6
                      ั        ้ั                             ้
   โวลต ทีมความตานทานภายในนอยมาก จะตองนําตัวตานทานคาเทาใดมาตออยางไรกับ
            ่ ี
   วงจรเพือไมใหไดโอดเสียหาย
          ่                               ( นําความตานทาน 215 โอหม ตออนุกรมกับไดโอด)
วิธีทํา




                        ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦


   ตอนที่ 6 การหาความตางศักยระหวางเซลล
    เราสามารถหาความตางศกยระหวางเซลลไฟฟาใด ๆ ไดจากสมการ
                     ั                   
                   Vab = ϒIR – ϒE
            เมือ Vab
               ่       คือ   ความตางศักยระหวางจุด a กับจุด b
                   I   คือ   กระแสไฟฟาในวงจร
                   R   คือ   ความตานทานระหวางจุด a กับ b
                   E   คือ   แรงเคลอนไฟฟาระหวางจด a กับ b
                                    ่ื            ุ
    ตองทราบเพิ่มเติม
       1. ตองคดจากจด a ไปจุด b ตามทศการไหลของกระแสไฟฟา
            ิ         ุ              ิ
       2. หาก E มีทศตานกระแสไฟฟา I (คือกระแสเขาขัวบวกของเซลล) ตองใช E เปนลบ
                     ิ                                 ้
          หาก E มีทิศเดียวกับกระแสไฟฟา I (คือกระแสเขาขั้วลบของเซลล) ตองใช E เปนบวก
          3. Vab = Va – Vb
             Vab = –Vba
          4. หากเราคดจนครบรอบวงจร จะไดวา V = 0 จะไดออกมาวา
                    ิ                                   
                                   0 = θIR – θE
                                  ϒE = ϒIR
                                                 93
Physics Online V            http://www.pec9.com              บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
93. จากวงจรดังรูป จงหาความตางศักย           a                                    b
   ไฟฟาระหวางจุด b กับ c และระ-        6V            6V 1υ           6υ 12V 2υ
   หวางจุด d กับ a (12 , 7.5 โวลต )    1υ
วิธีทํา                                           2υ                                   3υ
                                              d                    2V
                                                                                     c
                                                       4υ           1υ




94. จากวงจรดังรูป จงหาศกยไฟฟาทจด
                       ั   ่ี ุ                      12V               6υ
                                            a                                            b
    a,b,c               (2.5 , 11 , 9)                 1υ
                                          6V 2υ
วิธีทํา                                                                                  4υ
                                                  5υ
                                              d                      8V
                                                                     2υ                  c




                     ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

                                          94
Physics Online V          http://www.pec9.com            บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
   ตอนที่ 7 Kirchoft’s Law
        กฏของจุด ( Point Rule ) กลาววา “ ทีจดใดๆ ในวงจรไฟฟาผลรวมของกระแสไฟฟาที่
                                             ุ่
เขาสจดนนทงหมด จะเทากบผลรวมของกระแสไฟฟาทไหลออกจากจดนนทงหมดเสมอ ”
   ู ุ ้ั ้ั           ั                        ่ี         ุ ้ั ้ั
        กฏของวง (Loop Rule ) กลาววา “ ในวงจรไฟฟาทีครบวงจรใดๆ ( วงจรปด ) ผลรวม
                                                       ่               
ของแรงเคลือนไฟฟาตลอดวงจรนันๆ จะมีคาเทากับผลรวมของความตางศักยของทุกๆ จุดในวง
            ่                   ้         
จรปดนัน ” เขียนเปนสมการจะไดวา ρ E = ρ IR
         ้                           
95. จากวงจรดังรูป จงหากระแสไฟฟาทผาน
                                  ่ี                  2υ           12V
   เซลล 8 โวลต            ( 0.5 A)                                 2υ
วิธีทํา                                                    10V      3υ
                                                           1υ
                                                        2υ
                                                                      8V
                                                                      2υ




96. จากวงจรดังรูปจงคํานวณหากระแสไฟฟา                            5V,2υ
   ทผานตวตานทาน 2 โอหม
     ่ี  ั                   ( 1 A)
วิธีทํา                                                 2υ                   1υ



                                                             2V,1υ




                                          95
Physics Online V             http://www.pec9.com                  บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
97. จากวงจรดังรูป แอมมเิ ตอรจะอานคาได
                              
                                                                             3υ
   เทาไร                    (4.2 แอมแปร)
                                                                       1υ                       2υ
วิธีทํา                                            A
                                                                        3V                      6V




                     ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦



   ตอนที่ 8 กัลวานอมิเตอร แอมปมเิ ตอร โวลตมเิ ตอร และโอหมมิเตอร
    กัลวานอมิเตอร คือ เครื่องมือใชวัดปริมาณกระแสไฟฟา
                         1) ตองตอ กัลวานอมิเตอร แบบ...............เขากับตัวตานทานในวงจร
                         2) ตองนําซันต(R s) มาตอแบบ.................กบกลวานอมเิ ตอร เพือลด
                                                                          ั ั                 ่
                            ปริมาณ.....................ทใหผานกลวานอมเิ ตอรใหมปรมาณนอยลง
                                                        ่ี   ั                    ี ิ   
                         3) กัลวานอมิเตอร + ซันต เรียกวา ......................ใชวดกระแสไฟฟา
                                                                                    ั          

                                             96
Physics Online V           http://www.pec9.com            บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
98. แกลแวนอมิเตอรเครืองหนึงความตานทาน RG = 100 โอหม กระแสไฟฟาผานสูงสุด 10
                      ่    ่                        
   ไมโครแอมแปร ถาตองการกระแสไฟฟา 210 ไมโครแอมแปร ผานตองใช ความตานทาน
                                                                       
   Rs ขนาดเทาใดมาตอขนาน
                                                                       (5 ϖ )
วิธทา
   ี ํ




99(มช 32) แกลแวนอมิเตอรเครืองหนึงความตานทาน RG = 900 โอหม กระแสไฟฟาผาน
                               ่ ่                        
   สูงสุด 10 ไมโครแอมแปร ถาตองการกระแสไฟฟา 100 ไมโครแอมแปร ผานตองใช
   ความตานทาน Rs มีคาเทาไรตออยางไร
                                                                      (ขอ ก)
      ก. Rs = 100 โอหม ตอขนานกับแกลแวนอมิเตอร
                       
      ข. Rs = 60 โอหม ตอขนานกับแกลแวนอมิเตอร
                         
      ค. Rs = 100 โอหม ตออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร
                           
      ง. Rs = 90 โอหม ตออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร
                     
วิธทา
   ี ํ




100(มช 26) แอมปมเิ ตอรวดกระแสได 1 mA ตองใชความตานทานซันต 10♠ ตอขนานกล-
                         ั                                                      ั
   วานอมิเตอรซึ่งมีความไว 100 →A คาความตานทานของกลวานมเิ ตอร(RG) มีคาเทาใด
                                                    ั        
      ก. 100♠              ข. 90♠        ค. 10♠           ง. 2♠              (ขอ ข)
วิธทา
   ี ํ




                                         97
Physics Online V               http://www.pec9.com                    บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
101(En 44/2) แกลแวนอมิเตอรตวหนึงมีความตานทาน 20 โอหม อานไดเต็มสเกลเมือตอเขา
                                ั ่                                            ่
   กับความตางศักย 0.2 โวลต ถาตองการทําใหเปนแอมมิเตอรทอานเต็มสเกลได 1 แอมแปร
                                                              ่ี 
   โดยตอตวตานทานขนาน (หรือซันต) กับแกลแวนอมิเตอรน้ี ขณะทีแอมมิเตอรอานไดเต็ม
         ั                                                         ่        
   สเกลกระแสทีผานซันตมคาเทาใด
                ่        ี
      1. 0.01 A          2. 0.10 A          3. 0.90 A              ง. 0.99 A      (ขอ 4)
วิธทา
   ี ํ




    การวัดความตางศักยไฟฟา
                                 1) ตองตอ กัลวานอมิเตอร แบบ................กับตัวตานทานในวงจร
                                 2) ตองนามลตพลายเออร (Rm) ซึ่งมีคามากๆ มาตอแบบ..............
                                       ํ ั ิ                                          
                                    กบกลวานอมเิ ตอร เพอใหกระแสไหลมาหากลวานอมเิ ตอร
                                       ั ั               ่ื                         ั
                                    นอยๆ ทําใหเหลือกระแสไหลผานตัวตานทาน (R) ใกลเคียง
                                          
                                    กบกระแสเดม จะทําใหวดความตางศักยไดใกลเคียงความจริง
                                        ั        ิ          ั
                                 3) กัลวานอมิเตอร + มัลติพลายเออร เรียกวา ..................... ใชวด
                                                                                                       ั
                                    ความตางศักย
102(มช 27) การดัดแปลงกัลวานอมิเตอรเปนโวลต จะตองนาความตานทานมาตอรวมแบบใด
                                                 ํ                 
     ก. ซนตและความตานทานมคานอย
          ั                 ี           ข. ซันตและความตานทานมีคามาก
                                                                     
     ค. อนุกรมและความตานทานมีคานอย ง. อนุกรมและความตานทานมีคามาก (ขอ ง)
                                                                       
103 (มช 37) แกลแวนอมิเตอรเครืองหนึงมีความตานทาน 1000 โอหม วัดกระแสไฟฟาสูงสุด
                                  ่ ่                         
   100 ไมโครแอมแปร จงหาขนาดของความตานทานทนามาตอกบแกลแวนอมเิ ตอรน้ี เพอ
                                                    ่ี ํ  ั           ่ื
   ดัดแปลงใหเปนโวลตมเิ ตอรทวดความตางศักยสงสุด 1 โวลต
                               ่ี ั            ู                      (9000 ϖ)
วิธทา
   ี ํ



                                               98
Physics Online V            http://www.pec9.com          บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
104(มช 44) แกลแวนอมิเตอรเครืองหนึงมีความตานทาน 0.2 โอหม กระแสไฟฟาสงสดทไหล
                             ่    ่                                 ู ุ ่ี
   ผานไดมคา 50 มิลลิแอมแปร ตองหาความตานทานเทาไร (โอหม) มาตอกบแกลแวนอ–
             ี                                                 ั
   มิเตอรน้ี เพอใหวดความตางศกยไดสงสด 100 มิลลิโวลต
                ่ื  ั      ั   ู ุ
       1. 0.2             2. 1.8               3. 2             4. 2.4 (ขอ 2)
วิธทา
   ี ํ




   การวัดความตานทาน
        โอหมมิเตอร (Ohmmeter) คือ                                 G
เครองมอทใชวดความตานทาน สวน
   ่ื ื ่ี  ั                                     E
ประกอบทีสาคัญของโอหมมิเตอร คือ
           ่ ํ                                           R0
แกลแวนอมเิ ตอร ตอกับตัวตานทาน
แปรคา R0 และ เซลลไฟฟา E ดังรูป
      
                                         x                                         y
                                                        Rx

    เมอตองการวดความตานทาน Rx ใดๆ ใหเอาขัว x และ y ไปตอทีปลายตัวตานทานนัน
      ่ื          ั                       ้                  ่              ้
ซึงจะมีผลใหกระแสไฟฟาผานโอหมมิเตอร ถา Rx มีคามาก กระแสไฟฟาผานโอหมมเิ ตอร
  ่                                                                   
มคานอย เขมจะเบนนอย แตถา Rx มคานอย กระแสไฟฟาผานโอหมมเิ ตอรมคามาก เขมจะ
  ี         ็                  ี                            ี        ็
เบนมาก แตถานาปลาย x และ y แตะกน ถือวาความตานทานเปนศูนย กระแสไฟฟาจะผาน
                 ํ                  ั
โอหมมิเตอรมากทีสด เข็มของโอหมมิเตอรจะเบนไดมากทีสด ตําแหนงของเข็มขณะนีตองชี้
                     ่ ุ                            ่ ุ                    ้
ศูนย ดงนน สเกลของโอหมมิเตอร จะกลบกบแอมมเิ ตอร และโวลตมเิ ตอร
         ั ้ั                        ั ั                   
                                             99
Physics Online V            http://www.pec9.com              บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
105. โอหมมเิ ตอรตวหนงภายในมเี ซลลไฟฟา ซึงมีแรงเคลือนไฟฟา 3 โวลต และมความตาน
                  ั ่ึ             ่              ่                    ี        
   ทานภายใน 5 โอหม ตออนุกรมอยูกบตัวตานทานแปรคามีความตานทาน 250 โอหม
                                   ั                                            
   และแกลแวนอมิเตอรมความตานทาน 45 โอหม
                             ี                 
      ก. ถาตอปลายทังสองของโอหมมิเตอร กนโดยตรงจะมกระแสไฟฟาผานแกลแวนอ-
                       ้                  ั             ี          
         มิเตอรเทาไร                                                   (0.01 แอมแปร)
      ข. ถาตอปลายทังสองของโอหมมิเตอรเขากับตัวตานทานตัวหนึง ปรากฏวามีกระแสไฟ
                         ้                                     ่
         ฟาผาน 0.005 แอมแปร ตัวตานทานทีตอมีความตานทานเทาไร
                                          ่                               (300 โอหม)
วิธทา
   ี ํ




                    ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦


   ตอนที่ 9 แมเ หลก และ สนามแมเหล็ก
                   ็
   สมบัตเิ บืองตนของแมเหล็ก
             ้
    1) แทงแมเ หลก 1 แทงจะมี 2 ขัว คือ ขัวเหนือและขัวใตเสมอ
                 ็                   ้    ้           ้
    2) ขัวแมเหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกัน และขัวตางกันจะดูดกันเสมอ
         ้                                     ้
    3) บริเวณรอบ ๆ แทงแมเหล็กซึงปกติจะมีแรง
                                    ่
       ทางแมเหล็กแผออกมาตลอดเวลา บริเวณ
       โดยรอบแทงแมเหล็กนีเ้ รียก สนามแมเหล็ก
       สนามแมเหล็กจะเปนปริมาณเวกเตอร ซึงภายนอกแทงแมเหล็ก จะมทศออกจากขวเหนอ
                                             ่                     ี ิ    ้ั ื
       เขาหาขัวใต และภายในแทงแมเหล็กจะมีทศจากขัวใตไปหาขัวเหนือ
               ้                                 ิ   ้         ้
                                          100
Physics Online V                        http://www.pec9.com                           บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
    4) เสนทเ่ี ขยนแทนแรงทแมเ หลกแผออกมา
           ี               ่ี   ็ 
       เรียก เสนแรงแมเหล็ก
    5) จํานวนเสนแรงแมเหล็ก เรียกวา ฟลักซ
       แมเหล็ก (∑) ซึงมีหนวยเปน เวเบอร
                      ่

          เราสามารถคํานวณหา ฟลักซแมเหล็ก ซงตกบนพนทรองรบหนงไดจากสมการ
                                            ่ึ     ้ื ่ี ั ่ึ 
               = BA sin ±
         เมือ  = ฟลักซแมเหล็ก (เวเบอร)
            ่
              B = ความเขมสนามแมเ หลก (เวเบอร/m2 , เทสลา)
                                       ็
              A = พนท่ี (m2 )
                       ้ื
              ± = มุมระหวางสนามเมเหล็กกับพืนทีรองรับ
                                               ้ ่

106. จงวาดรปเสนแรงแมเ หลกตอไปน้ี
           ู            ็ 
   ใหสมบูรณ                                                            N               S



107. ฟลักซแมเหล็ก คือ .................................................................... มีหนวยเปน ...................
108. ขดลวดพนท่ี 10 x 10–4 m2 วางอยูในบริเวณทีมสนามแมเหล็กขนาดสม่าเสมอ 10 เทสลา
             ้ื                                                 ่ ี                                ํ
   จงหาคาฟลกซแมเ หลกทผานขดลวด เมือระนาบของขดลวดทํามุม 90o กบสนามแมเ หลก
          ั          ็ ่ี                      ่                                               ั                  ็
วิธทา
   ี ํ                                                                                                               (10–2)




109. จากขอทีผานมา จงหาคาฟลกซแมเ หลกทผานขดลวด เมือระนาบของขดลวดทํามุม 30o
             ่          ั        ็ ่ี         ่
   กบสนามแมเ หลก
    ั            ็                                                 (5x10–3 )
วิธทา
   ี ํ



                                                           101
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1

More Related Content

What's hot

เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลkrusarawut
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงSunanthaIamprasert
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุล
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
สมดุลกล3
สมดุลกล3สมดุลกล3
สมดุลกล3
 
แรงและแรงรับ
แรงและแรงรับแรงและแรงรับ
แรงและแรงรับ
 

Viewers also liked

ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์thanakit553
 
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2thanakit553
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าthanakit553
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมthanakit553
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตthanakit553
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2Chakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 

Viewers also liked (20)

ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
1 ไฟฟ้าสถิตย์ physics4
1 ไฟฟ้าสถิตย์  physics41 ไฟฟ้าสถิตย์  physics4
1 ไฟฟ้าสถิตย์ physics4
 
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 

Similar to ไฟฟ้าแม่เหล็ก1

เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าthanakit553
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2thanakit553
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอมthanakit553
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 

Similar to ไฟฟ้าแม่เหล็ก1 (20)

P16
P16P16
P16
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
P18
P18P18
P18
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
P17
P17P17
P17
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
 
P19
P19P19
P19
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
P15
P15P15
P15
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 

More from Chakkrawut Mueangkhon

แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์Chakkrawut Mueangkhon
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆChakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นChakkrawut Mueangkhon
 

More from Chakkrawut Mueangkhon (20)

แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
 
Akaranee
AkaraneeAkaranee
Akaranee
 
568
568568
568
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
heat
heatheat
heat
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 

ไฟฟ้าแม่เหล็ก1

  • 1. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) ฟ สิ ก ส บทที่ 16 ไฟฟ า และแม เ หล็ ก (1) ตอนที่ 1 กระแสไฟฟา  + – + – + – + – + – ควรทราบ 1) กระแสไฟฟา เปนเพยงกระแสสมมติ  ี ุ 2) กระแสไฟฟา ไมใชกระแสอิเลคตรอน 3) กระแสไฟฟาจะไหลสวนทางกบอเิ ลคตรอน  ั และกระแสไฟฟาจะไหลทางเดียวกับประจุบวก และกระแสไฟฟาจะมีทศทางกับสนามไฟฟา (E) ิ 1(มช 40) กําหนดใหสนามไฟฟา (E) มีทิศทางดังรูป การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟา และ ทิศทางของกระแสไฟฟา ( I ) ทีเ่ กิดขึนจะเปนจริงดังรูปในขอใด ้ (ขอ 3)  1. 2. 3. 4. เราสามารถคํานวณหาปริมาณกระแสไฟฟาไดจากสมการ I = Q t เมือ Q = ปริมาณประจุไฟฟาทีไหลผานพืนทีหนาตัดตัวนํา ณ.จุดหนึงๆ (คูลอมบ) ่ ่ ้ ่ ่ t = เวลาทประจไฟฟาไหลผานจดนนๆ (วินาที) ่ี ุ   ุ ้ั I = กระแสไฟฟาทีเ่ กิด ( แอมแปร , A) 59
  • 2. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 2. ถาประจุไฟฟาที่ผานลวดตัวนําหนึ่ง ภายในเวลา 2 นาที เทากับ 600 ไมโครคูลอมบ กระแสไฟฟาที่ไหลผานลวดตัวนํานี้จะมีคากี่แอมแปร ( 5 x 10–6) วิธทา ี ํ 3. ถาปริมาณประจุไฟฟาที่ผานหลอดไฟใน 1 นาที เทากับ 120 ไมโครคูลอมบ กระแสไฟฟา ผานหลอดไฟมคากแอมแปร  ี  ่ี ( 2 x 10–6 ) วิธทา ี ํ กรณีที่โจทยไมบอกขนาดประจุไฟฟา (Q) มาใหนั้น เราอาจหาคาประจุไฟฟาไดจากสมการ Q = ne เมือ n = จานวนอเิ ลคตรอนทเ่ี คลอนทผานพนทหนาตดตวนา ณ.จุดหนึงๆ ่ ํ ่ื ่ี  ้ื ่ี  ั ั ํ ่ e = 1.6 x 10 –19 C ( คือ ประจอเิ ลคตรอน 1 ตัว ) ุ 4. หากจํานวนอิเลคตรอนทีเ่ คลือนผานพืนทีหนาตัดเสนลวดตัวนําหนึงเทากับ 5x1020 อนุภาค ่ ้ ่ ่ ภายในเวลา 2 วินาที จงหาปริมาณกระแสไฟฟาที่เกิดขึ้น (40 แอมแปร) วิธทา ี ํ 5. ถาตอลวดโลหะเสนหนึ่งกับเซลลไฟฟา แลวพบวามีกระแสไฟฟา ผานลวดเสนนี้ 3.2 A จงหาจานวนอเิ ลคตรอนทผานพนทภาคตดขวางลวดในเวลา 5 วินาที ํ ่ี  ้ื ่ี ั (1020 ตัว) วิธทา ี ํ เราอาจคํานวณหาปริมาณกระแสไฟฟาไดจากอีกสมการหนึ่ง คือ I = Nev A เมือ N = ่ ความหนาแนนอิเลคตรอน ( m–3 ) e = 1.6 x 10 –19 C ( คือ ประจอเิ ลคตรอน 1 ตัว ) ุ v = ความเร็วลอยเลือนของอิเลคตรอน (m /s ) ่ A = พนทหนาตดของตวนา ( m2) ้ื ่ี  ั ั ํ 60
  • 3. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 6. ลวดเสนหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด 5 ต.ร.มม มี e 1x1028 อนภาคตอ ล.บ เมตร ถา e เคลอนท่ี ุ  ่ื ดวยความ เรวลอยเลอน 1 มม/วินาที จงหากระแสที่ไหลในเสนลวด ็ ่ื (8 A) วิธทา ี ํ 7(En 37) ลวดโลหะเสนหนึ่งมีพื้นที่ ภาคตดขวาง 1 ตารางมลลิเมตร ถามีกระแสไฟฟาจํานวน ั ิ หนึ่งไหลผานลวดนี้ ในเวลา 4 วินาที โดยขนาดความเร็วลอยเลือนของอิเล็กตรอนเทากับ ่ 0.02 เซนตเิ มตรตอวนาที จงหาปริมาณประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่ผานลวดนี้ในเวลาดังกลาว  ิ ( ใหความหนาแนนอิเลคตรอนอิสระของโลหะนีเ้ ทากับ 1.0 x 1029 m–3 ) (ขอ 3) 1. 8.00 C 2. 10.2 C 3. 12.8 C 4. 16.0 C วิธทา ี ํ ควรทราบเพมเตมวา พื้นที่ใตกราฟกระแสไฟฟา ( I ) กับเวลา ( t ) จะมีขนาดเทากับปริมาณ ่ิ ิ  ประจุไฟฟา (Q) เสมอ 8(En 41/2) กระแสไฟฟา I ที่ผานเสนลวดโลหะเสนหนึ่ง สัมพันธกับเวลา T ดงกราฟ จงหาปรมาณประจไฟ ั ิ ุ ฟาทั้งหมดที่ผานพื้นที่หนาตัดของเสนลวดโลหะนี้ ใน ชวงเวลา 0 ถึง 10 วินาที 1. 5.0 C 2. 6.25 C 3. 7.5 C 4. 8.75 C (ขอ 3) วิธทา ี ํ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦ 61
  • 4. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) ตอนที่ 2 กฏของโอหม และความตานทาน  กฏของโอหม กลาววา “ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวนําหนึ่ง ๆ จะแปรผันตรงกับความตางศักย” เขียนความสัมพันธจะได I ϒ V I = kV V = 1 Ik V = IR เมือ ่ V = ความตางศักย (โวลต) I = ปริมาณกระแสไฟฟา (แอมแปร)  R = ความตานทาน (โอหม) 9. จะตองใชความตางศักยเทาใดตอกับตัวตานทาน 1 เมกะโอหม (106 υ) เพือใหมกระแส ่ ี ไฟฟาผานตัวตานทาน 1 mA (100 โวลต ) วิธทา ี ํ 10. ลวดความตานทานเสนหนึง เมือตอระหวางความตางศักย 4.0x10–3 โวลต มีกระแสไหล ่ ่ ผาน 1.0 มิลลิแอมแปร ถาตอระหวางความตางศักย 1.2 โวลต จะมีกระแสผานกีแอมแปร ่ ก. 0.3 x 10–3 ข. 3.3 x 10–3 ค. 4.8 x 10–3 A ง. 0.3 ( ขอ ง ) วิธทา ี ํ จาก V = IR จะได V = I R จะเห็นวา หาก R มาก I จะนอย หาก R นอย I จะมาก  และเกี่ยวกับความตานทานของตัวนําใด ๆ R ϒ AL R = ″A L 62
  • 5. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) เมือ ่ R = ความตานทาน (โอหม) ″ = สภาพตานทาน (โอหม . เมตร)  L = ความยาว (เมตร) A = พืนทีหนาตัดของตัวนํา (เมตร2) ้ ่ 11(En 18) หนวยของความตานทานจําเพาะ คือ (ขอ ก) ก. โอหม . เมตร  ข. โอหม ค. โอหมตอเมตร2 ง. โอหมตอเมตร 12. ลวดโลหะชนิดหนึง มีสภาพตานทาน 2.0 x 10–8 โอหม . เมตร และ มีพนทีหนาตัด 1.0 ่  ้ื ่ ตารางเซนติเมตร ถาตองการใหลวดโลหะนี้มีความตานทาน 1 โอหม จะตองใชลวดยาวกี่เมตร  1. 5.0 x 10–3 2. 2.0 x 10–2 3. 50 4. 5.0 x 107 (ไมมีขอถูก) วิธทา ี ํ 13(มช 36) ในการทดลองหาคาสภาพตานทานของสารแทงสี่เหลี่ยมผืนผายาว 1 cm และมีพื้นที่ หนาตัด 0.5 ตารางเซนติเมตร ผานกระแสไฟฟา 1 mA ตามแนวความยาวของสารแลววัด คาความตางศักยระหวางปลายทั้งสองขางของสารซึ่งอานคาได 10–2 โวลต จงหาคาสภาพ ตานทานของสาร (0.05 โอหม เมตร) วิธทา ี ํ 14. สายไฟ 2 เสน ทําดวยโลหะ 2 ชนิด เสนแรกมีสภาพความตานทานเปน 5 เทาของเสนที่ 2 ถาความยาวและความตานทานเทากัน อัตราสวนพืนทีหนาตัดของเสนที่ 1 ตอเสนที่ 2 คือ ้ ่ ก. 1 : 3 ข. 2 : 1 ค. 5 : 1 ง. 5 : 2 ( ค.) วิธทา ี ํ 63
  • 6. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 15. สายไฟ 2 เสน ทําจากโลหะชนิดเดียวกัน เสนทีสองมีพนทีหนาตัดเปน 6 เทาของเสน ่ ้ื ่ แรก และมีความยาวเปน 3 เทาของเสนแรก จงหาวาความตานทานของเสนแรกวามีคาเปน  กีเ่ ทาของเสนทีสอง ่ (2 เทา) วิธทา ี ํ 16. ลวดตัวนําขนาดสม่าเสมอเสนหนึงยาว 8 เมตร วัดความตานทานได 9 โอหม ถามีลวด ํ ่  ตัวนําชนิดเดียวกัน แตขนาดเสนผาศูนยกลางเปนครึงหนึงของเสนแรก ตองการใหมความ ่ ่ ี ตานทาน 18 โอหม จะตองใชลวดยาวกีเ่ มตร  (4) วิธทา ี ํ 17(มช 28) ลวดเหล็กมีเสนผานศูนยกลางเปนสองเทาของลวดทองแดงและมีสภาพตานทานเปน 6 เทาของลวดทองแดง ถาตองการลวดทองแดง และ ลวดเหล็กที่มีความตานทานเทากัน จะตองมีอตราสวนของความยาวของลวดทองแดง ตอลวดเหล็กเทาใด ั (ขอ ค) ก. 3 : 1 ข. 1 : 3 ค. 3 : 2 ง. 2 : 3 วิธทา ี ํ 64
  • 7. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 18. ลวดเสนหนึงมีความตานทาน 6.0 โอหม เมือนํามารีดใหเสนลวดมีขนาดเล็กลงจนมีความ ่  ่ ยาวเปนสามเทาของตอนเริมตน ถาคุณสมบัติตางๆ ของสารที่ทําเสนลวดไมเปลี่ยน ความ ่ ตานทานของเสนลวดตอนสุดทายจะเปนกีโอหม ่ ( ขอ ง. ) ก. 18 ข. 24 ค. 36 ง. 54 วิธทา ี ํ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦ ตอนที่ 3 พลังงานไฟฟา และ กําลังไฟฟา สมการที่ใชหาพลังงานไฟฟา W = QV W = ItV จาก Q = I t W = ItIR จาก V = IR W = I2Rt W = VtV R จาก I = V R 2 W= V t R เมอ W = พลังงานไฟฟา (จล) ่ื ู Q = ประจุไฟฟา (คลอมบ) ู  V = ความตางศกย (โวลต)  ั  I = กระแสไฟฟา (แอมแปร)  t = เวลา (วนาท) ิ ี R = ความตานทาน (โอหม)   65
  • 8. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) สมการที่ใชหากําลังไฟฟา P = W t QV P = t P = IV P = I2 R 2 P = V R เมอ P = กําลังไฟฟา (วัตต) ่ื 19. ตอหลอดไฟกับความตางศักย 220 V แอมมิเตอรอานกระแสไฟฟาได 0.1 A จงหาพลง  ั งานไฟฟาทีสญเสียไฟเมือเปดหลอดไฟนี้ 1 นาที ่ ู ่ ( 1320 จล) ู วิธทา ี ํ 20(มช 28) เตาไฟฟาเตาหนงประกอบดวยลวดใหความรอนซงมความทาน 48.4 υ เมือตอเขา  ่ึ    ่ึ ี ่ กบความตางศกยไฟฟา 220 V เปนเวลา 10 นาที จงหาปรมาณความรอนทเ่ี กดขน ั  ั   ิ ิ ้ึ ก. 6 x 105J ข. 6 x 10 4J ค. 104J ง. 103 J (ขอ ก) วิธทา ี ํ 21. ตอหลอดไฟกับความตางศักย 220 V แอมมิเตอรอานกระแสไฟฟาได 0.1 A จงหากําลังไฟ  ฟาของหลอดไฟน้ี  ( 22 วัตต)  วิธทา ี ํ 66
  • 9. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 22(En 37) หลอดไฟฟาหลอดแรกมีความตานทาน 4 โอหม ตอกับแบตเตอรี่ 12 โวลต หลอดที่ 2  มีความตานทาน 5 โอหม ตอกับแบตเตอรี่ 15 โวลต กําลังไฟฟาที่หลอดทั้งสองใชตางกันเทาใด  1. 3 W 2. 9 W 3. 11 W 4. 22 W (ขอ 2) วิธทา ี ํ 23(En 41) เตาไฟฟาขนาด 1200 วัตต เตาอบไมโครเวฟขนาด 900 วัตต และหมอหุงขาวไฟฟา  ขนาด 600 วัตต ถาใชทงสามเครองกบไฟฟา 220 โวลต พรอมกันจะใชกระแสไฟฟาเทาใด   ้ั ่ื ั  1. 8 A 2. 10 A 3. 12 A 4. 15 A (ขอ 3) วิธทา ี ํ 24(มช 43) จงหาสภาพตานทานไฟฟาในหนวยโอหมตอเมตรของลวดยาว 2 เมตร พืนทีหนา      ้ ่ ตัด 10 –6 ตารางเมตร เมอมกระแสไฟฟา 1 แอมแปรไหลผาน จะมอตราการเปลยน ่ื ี    ีั ่ี แปลง พลงงานไฟฟาเปนพลงงานความรอน 48 มิลลิวัตต ั   ั  (ขอ 4) 1. 2.4 x 10–2 2. 4.8 x 10–4 3. 4.8 x 10–8 4. 2.4 x 10–8 วิธทา ี ํ 25(En 42/2) เครองกาเนดไฟฟาเครองหนงกาลงทางานดวยอตรา 88 กิโลวัตต สงกําลังไฟฟา ่ื ํ ิ  ่ื ่ึ ํ ั ํ  ั ผานสายไฟซงมความตานทาน 0.5 โอหม เปนเวลา 5 วนาที ทความตางศกย 22,000 โวลต  ่ึ ี  ิ ่ี  ั จงหาคาพลงงานทสญเสยไปในรูปความรอนภายในสายไฟ  ั ่ี ู ี  1. 8 J 2. 20 J 3. 40 J 4. 80 J ( ขอ 3 ) วิธทา ี ํ 67
  • 10. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 26(มช 38) เครองกาเนดไฟฟาเครองหนงสามารถสงกาลงไฟฟาได 345 กิโลวัตต ใหหาคา ่ื ํ ิ  ่ื ่ึ  ํ ั  พลงงานทสญเสยไปในรูปของความรอนภายในสายไฟ ถาสงกําลังไฟฟาผานสายไฟยาว ั ่ี ู ี 500 เมตร ความตานทาน 0.25 โอหม เปนเวลา 20 วนาที ดวยความตางศกย 69 กิโลโวลต ิ   ั วิธทา ี ํ (125 จล) ู 27(En 36) เครืองใชไฟฟาในบานชนิด 100 วัตต 220 โวลต เมือนํามาใชขณะทีไฟตกเหลือ ่ ่ ่ 200 โวลต เครืองใชไฟฟานันจะใชกาลังไฟฟาเทาใด ่ ้ ํ 1. 78 W 2. 83 W 3. 88 W 4. 93 W (ขอ 2) วิธทา ี ํ 28. เตารดไฟฟาขนาด 1,000 วตตใชกบไฟฟา 220 V ถานามาตอกบไฟ 110 V จะไดกาลัง ี  ั  ั   ํ  ั ํ ไฟฟาเทาใด   ก. 250 W ข. 500 W ค. 700 W ง. 750 W (ขอ ก) วิธทา ี ํ 68
  • 11. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 29. จากขอทผานมา ใชเตารีดนีโดยถูกตองคือใชกบไฟฟา 220 V ตองใหอตราความรอนเทาใด  ่ี  ้ ั ั ก. 220 จูล/วนาที ิ ข. 240 จูล/วนาที ิ ค. 1000 จูล/วนาที ิ ง. 2400 จูล/วนาที ิ (ขอ ค) วิธทา ี ํ 30(En 38) จะตองใหความตางศักยไฟฟากีโวลต เพือจะทําใหเกิดสนามไฟฟาทีสามารถเรง ่ ่ ่ อเิ ลกตรอนจากหยดนงใหมความเร็ว 0.4 x 107 เมตรตอวนาที ็ ุ ่ิ  ี  ิ (45.5 V) กําหนด ประจุอเิ ลคตรอน = 1.6 x 10–19 C มวลอเิ ลคตรอน = 9.1 x 10–31 kg วิธทา ี ํ 31(En 32) ถาตองการเรงอนุภาคมวล 4 x 10–12 กิโลกรัม ทีมประจุ 8 x 10–9 คลอมบ ่ ี ู จากสภาพหยดนงใหมอตราเรว 100 เมตร/วนาที จะตองใชความตางศกยเ ทาใด ุ ่ิ  ี ั ็ ิ    ั  1. 0.025 โวลต 2. 0.4 โวลต 3. 2.5 โวลต 4. 40 โวลต (ขอ 3) วิธทา ี ํ 69
  • 12. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 32. ถาตัวทําใหเกิดความรอน ทําใหอณหภูมของน้าจํานวน 2 กิโลกรัม เปลียนจาก 15oC ุ ิ ํ ่ เปน 21oC ในเวลา 20 นาที จงหากาลงของตวทาใหเ กดความรอนน้ี (วัตต) ํ ั ั ํ ิ (ความจุความรอนจําเพาะของน้ามีคา 4200 จูล/กก.เคลวน) ํ  ิ ก. 0.6 ข. 42.0 ค. 105.0 ง. 142 (ขอ ข) วิธทา ี ํ 33. ถาผานกระแสไฟฟาขนาด 15 แอมแปร ความตางศกย 220 โวลต ไปยงกาตมนาไฟฟา     ั ั  ํ้  แบบขดลวด ซึงมีนาบรรจุอยู 500 กรัม จงคํานวณหาเวลาทีใชในการตมน้าทีอณหภูมตงตน ่ ํ้ ่ ํ ุ่ ิ ้ั 23oC ใหเดือดทีอณหภูมิ 100oC ถา 70% ของพลังงานไฟฟาใหความรอนกับน้ําโดยตรง ุ่ (กาหนดใหความจความรอนจาเพาะของนา = 4.2 kJ/kg K) ํ  ุ  ํ ํ้ ก. 9 วนาที ิ ข. 17 วนาที ิ ค. 49 วนาที ิ ง. 70 วนาที ิ (ขอ ง) วิธทา ี ํ P สมการที่ใชหาคาไฟฟา คาไฟฟา = ( 1000 ) t (ราคาตอหนวย) เมือ t = เวลา (ชวโมง) ่ ่ั 34. เมอเปดหลอดไฟขนาด 100 วัตต เปนเวลานาน 20 ชวโมงตอเนอง จะตองเสยคาไฟก่ี ่ื  ่ั  ่ื  ี  บาท ( กาหนดคาไฟฟาหนวยละ 2 บาท ) ํ    (4) วิธทา ี ํ 70
  • 13. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 35(มช 37) เครองทานาอนไฟฟาขนาด 3000 วัตต 220 โวลต ถาอาบนาอนเปนเวลา 15 นาที ่ื ํ ํ้ ุ   ํ้ ุ  จะเสียคาไฟฟาประมาณ (อัตราคาไฟฟาสําหรับ 5 หนวยแรก เปน 3 บาท/หนวย) (2.25 บาท)   วิธทา ี ํ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦ ตอนที่ 4 การตอตัวตานทาน 4.1 การตอแบบอนุกรม มกฏการตอดงน้ี ี  ั 1) Iรวม = I1 = I2 2) V1 ¬ V2 3) Vรวม = V1 + V2 4) Rรวม = R1 + R2 36. จากรูป ก. ใหหาความตานทานรวม (5 ϖ) ข. ใหหา I1 และ I2  (5 แอมแปร) ค. ใหหา V1 และ V2  (10 V , 15 V) ง. ใหหา Vรวม  (25 โวลต) วิธทา ี ํ 71
  • 14. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 37. จากรปจงหา กระแสไฟฟารวมของวงจร และ ู  1ϖ 2ϖ 3ϖ กระแสไฟฟาทไหลผานตวตานทาน 1 ϖ  ่ี  ั  วิธทา ี ํ ( Iรวม = I1= 3 แอมแปร) V=9V 38. จากขอทผานมา จงหาความตางศกยของตวตานทาน 1 ϖ และ ความตางศกยรวม  ่ี   ั  ั   ั  วิธทา ี ํ (V1 = 3 โวลต , Vรวม = 18 โวลต) 39. จากรปจงหา ความตางศักยทครอม ู ่ี R1=2ϖ R2=4ϖ ตวตานทาน 4 ϖ ั  (16 โวลต) วิธทา ี ํ V1= 8 V V2= ? 40. จากรปจงหา ความตางศกยรวมของวงจร ู  ั  R1=3ϖ R2=8ϖ วิธทา ี ํ (33 โวลต) V2= 24 V 41. จากรปจงหา คาความตานทาน R ู   I รวม = 3 A 2ϖ R วิธทา ี ํ (4ϖ) Vรวม = 18 V 72
  • 15. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 42(มช 41) ถาตองการแบงศักยไฟฟา V โดยใชความตานทาน จะตอง    ใชตวตานทาน R1 ขนาดกโอหม จงจะไดความตางศกยระหวางจด ั  ่ี  ึ   ั   ุ A และ B มีคาเปน 1 V  3 (15 โอหม) วิธทา ี ํ 4.2 การตอแบบขนาน มกฏการตอดงน้ี  ี  ั 1) I1 # I2 2) Iรวม = I1 + I2 3) Vรวม = V1 = V2 4) 1 1 1 Rรวม = R1 + R2 43. ก. ใหหาความตานทานรวม (2 ϖ)   ข. ใหหา Vรวม (36 โวลต) ค. ใหหา V1 และ V2 (36 โวลต) ง. ใหหา I1 และ I2 (12 A , 6 A) วิธทา ี ํ 73
  • 16. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 44. จากรูปจงหา ความตานทานรวม 6ϖ และ ความตางศักยรวมของวงจร วิธทา ี ํ (12 โวลต) I รวม = 3 A 12 ϖ 45. กระแสไฟฟา 3.5 แอมแปรไหลผานความตานทาน 3 โอหม และ 4 โอหม ซงตอกน   ่ึ  ั แบบขนานกระแสไฟฟาทีไหลผานความตานทานแตละอันมีคาเทาใด ่  (2 A , 1.5 A) วิธทา ี ํ 46. จากรูปจงหา หากกระแสทไหลผานตวตานทาน ่ี  ั  3ϖ 3 ♠ เปน 10 แอมแปร แลวกระแสทีไหลผาน ่ ตัวตานทาน 6 ♠ จะมีคากีแอมแปร  ่ (5 A) 6ϖ วิธทา ี ํ 47. จากรูปจงหา หากกระแสทไหลผานตวตานทาน ่ี  ั  4ϖ 4 ♠ เปน 15 แอมแปร แลวกระแสรวมทีไหล ่ เขาวงจรทังหมด จะมีคากีแอมแปร ้  ่ (20 A) I รวม = ? 12 ϖ วิธทา ี ํ 74
  • 17. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 48. ลวดความตานทาน 2 , 3 และ 4 ♠ ตอกันอยาง  ขนาน ถามกระแสไหลผานลวด 3 ♠ เปน 4  ี  แอมแปร กระแสทังหมดในวงจรเปนเทาไร (13 A) ้ วิธทา ี ํ 49. จากรป จงหาความตานทานระหวาง A กับ B ู วิธทา ี ํ (6) 50. จากรป จงหาความตานทานรวม ู ระหวาง X กับ Y (8 ϖ) วิธทา ี ํ 51. นําความตานทานขนาด 1 โอหม จํานวน 20 ตัวมาตอกัน จะตอกนไดความตานทานรวม   ั   มากที่สุด และนอยทสดกโอหมได  ่ี ุ ่ี  (20 ϖ , 0.05 ϖ) วิธทา ี ํ 75
  • 18. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 52. ลวดความตานทาน 4 เสน ตอกันดังรูป ถา  ความตางศักยระหวางปลายทังสองของความ ้ ตานทาน 4 โอหม มคา 8 โวลต จงหากระ  ี แสทีผานความตานทานทุกเสน ่ ( I7♠ = 0.8 A , I8♠ = 0.8 A , I10♠ =1.2 A , I4♠ = 2 A) วิธีทํา 53. กระแสทีไหลผานความตานทาน 1.0 ϖ มีคาเทาใด ่  I = 0.5 A 16 ♠ 1 ♠ E 8 ♠ 3 ♠ 5 ♠ 4 ♠ ก. 0.3 A ข. 0.25 A ค. 0.279 A ง. 0.4 A (ขอ ข) วิธทา ี ํ 76
  • 19. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 54. จากรูปวงจรตอไปนี้ จงหากระแส R1 = 3 ♠ ทไหลผาน R2 , R3 , R4 (4 A) ่ี  วิธทา ี ํ R2 = 6 ♠ R4 = 6 ♠ 60 V R3 = 6 ♠ 55. จากรูปจงหา V1 และ V2 (9 V , 24 V) R1=3ϖ R2=8ϖ วิธทา ี ํ Vรวม= 33 V 77
  • 20. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 56. วงจรดงรป จงหาความตางศกยระหวางจด a และ b ั ู  ั   ุ (ก. 6V ข. 4.5 V ค. 6 V) ก. เมอไมมตวตานทาน ่ื  ี ั  ข. เมือมีตวตานทาน 2 k♠ ่ ั ค. เมือมีตวตานทาน 1 M♠ ่ ั R1=1k♠ R1=1k♠ R1=1k♠ Vin 9V 9V a 9V a a Vout R2=2k♠ 2 k♠ R2=2k♠ 1 M♠ R2=2k♠ b b b ก ข. ค. วิธีทํา 4.3 วงจรที่มีบางจุดยุบรวมกันได 57. จากรูปตอไปนีจงหาความตานทานรวม ้ 6♠ 3♠ 6♠ ระหวางจด A กับ B  ุ (1.5 โอหม) C B A D วิธีทํา 78
  • 21. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 58. จากรูปตอไปนีจงหาความตานทานรวม ้ 6♠ 3♠ 6♠ ระหวางจด A กับ B  ุ (3.75 โอหม) C B A D วิธีทํา 8♠ 59. จากรูปตอไปนีจงหาความตานทานรวม ้ 2♠ A C ระหวางจด A กับ B  ุ (3 โอหม) วิธีทํา 1♠ 1♠ B D 60. จากรูปตอไปนีจงหาความตานทานรวม ้ 4♠ 2♠ A B ระหวางจด A กับ B  ุ (1.5 โอหม) วิธีทํา 4♠ 2♠ 3♠ D C 79
  • 22. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 61. จากรูปตอไปนีจงหาความตานทานรวม ้ 1.2 ♠ 5.6 ♠ A C D ระหวางจด A กับ B  ุ (6 โอหม) 12 ♠ 6♠ วิธีทํา 4♠ B E F 62. จากรูปทีกาหนดใหจงหาความตานทาน ่ํ 1♠ 1♠ รวมระหวางจด A กับ B  ุ (1 โอหม) 1♠ 1♠ B วิธีทํา b c 1♠ 1♠ a 1♠ d 1♠ f e A 1♠ 1♠ 1♠ 1♠ 80
  • 23. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 4.4 วงจรแบบสมมาตร 63. จงหาความตานทานรวมระหวางจด   ุ 2♠ 2♠ A กับ B ถาตัวตานทานแตละตัว มีความตานทาน 2 ♠ ( 3 ♠) วิธีทํา 2♠ 2♠ 2♠ 2♠ A 2♠ 2♠ B 2♠ 2♠ 2♠ 2♠ 2♠ 2♠ 64. จากวงจรทีกาหนดใหจงหาความตานทานรวมระหวางจุด x , y ่ํ (2 R) 2R 2R R R R R R R R R R y x R R R วิธีทํา 2R 2R 81
  • 24. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 65. จากรป จงหาความตานทานรวมระ ู หวางจุด x และ y (10 ♠) 20♠ วิธีทํา 5♠ 5♠ 6♠ 6♠ x 4♠ y 6♠ 6♠ 5♠ 5♠ 20♠ 4.5 วงจร WHEATSTONE BRIDGE 66. จงหาความตานทานรวมระหวางจด   ุ 100♠ 100♠ A กับ B (100 โอหม) วิธีทํา A 100♠ B 100♠ 100♠ 82
  • 25. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 67. จงหาความตานทานรวมระหวางจด   ุ 1♠ 2♠ A กับ B (2.5 โอหม) วิธีทํา A 6♠ B 5♠ 10♠ 68. จงหาความตานทานรวมระหวางจด   ุ 10♠ A กับ B ( 40 โอหม) 3 10♠ วิธีทํา C B A D 20♠ 20♠ 69. จากรูปจงหาความตานทานรวมระหวางจุด x กับ y (200 โอหม) 200♠ 500♠ 200♠ x 100♠ 500♠ y 50♠ วิธีทํา 500♠ 83
  • 26. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 70. จากวงจรในรูป โวลมเิ ตอรอานคาไดศนย   ู 20♠ R C จงหาตวตานทาน R ในวงจรมีคากีโอหม ั   ่ วิธีทํา (6 โอหม) 40♠ 30♠ B A V E D 10♠ 4.6 วงจร Delta , Wye 71. จงหาความตานทานรวมระหวางจด A และ B   ุ C จากรูปวงจรทีกาหนดให ่ํ (2.6 โอหม) 3♠ 2♠ วิธีทํา A 5♠ B 2.5♠ 3♠ D 84
  • 27. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 72. จากวงจรดังรูปตัวตานทานทุกตัวมีความตาน ทานตัวละ 30 โอหม จงหาความตานทานรวม  C ระหวางจด A และ B  ุ ( 100 โอหม) 30♠ 30♠ 3 วิธีทํา 30♠ 30♠ 30♠ 30♠ 30♠ A B 30♠ F 30♠ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 5 แรงเคลอนไฟฟา ่ื  แรงเคลือนไฟฟา (E) คือ พลังงานที่ประจุ 1 คูลอมบใชในการเคลื่อนที่จนครบ 1 รอบวงจร ่ E = I(R+r) เมือ E คือ แรงเคลอนไฟฟา (โวลต) ่ ่ื  I คือ ปริมาณกระแสไฟฟา (แอมแปร) R คือ ความตานทานภายนอกเซลลไฟฟา (โอหม)  r คือ ความตานทานภายในเซลลไฟฟา(โอหม) 85
  • 28. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 73. เซลไฟฟาอันหนึงมีความตานทานภายใน 2 โอหม เมือตอกับความตานทาน 8 โอหม ่  ่  พบวามีกระแสไฟฟาไหล 0.15 แอมแปร แรงเคลือนไฟฟาของเซลไฟฟาอันนีคอ ( 1.5 V ) ่ ้ื วิธทา ี ํ 74(มช 27) เซลไฟฟาอนหนงมแรงเคลอนไฟฟา 50 โวลต เมือตอกับความตานทาน 10 โอหม  ั ่ึ ี ่ื  ่  พบวามีกระแสไฟฟาไหล 4.5 แอมแปร ความตานทานภายในของเซลไฟฟาอันนีคอ ้ื ก. 0 ♠ ข. 0.50 ♠ ค. 1.1 ♠ ง. 5 ♠ (ขอ ค) วิธทา ี ํ 75(En 36) จงหากระแสไฟฟาทีไหลผาน ่ แอมมิเตอร (A) ในวงจร (ขอ 3) 1. 0.3 A 2. 0.6 A 3. 1.0 A 4. 1.5 A วิธทา ี ํ 86
  • 29. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 76. เซลไฟฟาเซลหนึงมีแรงเคลือนไฟฟา 2 โวลต ความตานทานภายใน 2♠ ตอเปนวงจร ่ ่  ดวยลวดความตานทาน 8♠ จงหา ก. กระแสไฟฟาทีไหลผานวงจร ่ ( 0.2 A) ข. ความตางศักยทขวเซล ่ี ้ั ( 1.6 V) ค. ความตางศักยภายในเซล ( 0.4 V) วิธทา ี ํ 77. เมือนําเอาลวดความตานทาน 4 υ ตอเขากบขวแบตเตอรแรงเคลอนไฟฟา 18 โวลต ความ ่   ั ้ั ่ี ่ื  ตานทานภายใน 2 υ จะเกิดความตางศักยระหวางขัวเซลเทาใด ้ (12 V) วิธทา ี ํ 78. เมือนําเอาลวดความตานทาน 6 และ 12 υ ตอเขากบขวแบตเตอรแรงเคลอนไฟฟา 18 V ่   ั ้ั ่ี ่ื  ความตานทานภายใน 2 υ จะเกิดความตางศักยระหวางขัวเซลเทาใด เมือลวดตานทาน  ้ ่ ทังสองตอกันแบบอนุกรม ้ (16.2 V) วิธทา ี ํ 87
  • 30. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 79. จากขอทีผานมา หากตัวตานทาน 6 และ 12 υ เปลียนเปนตอกันแบบขนาน จะเกิดความ ่ ่ ตางศกยระหวางขวเซลเทาใด  ั   ้ั  (12 V) วิธทา ี ํ 80. เมอตอความตานทาน 1 υ เขาระหวางขัวเซลลไฟฟาเซลลหนึง วัดกระแสไฟฟาได 5 ่ื   ้ ่ แอมแปร เมือเปลียนความตานทานเปน 7 υ วัดกระแสไฟฟาได 1 แอมแปร เซลลไฟฟา ่ ่ นีมแรงเคลือนไฟฟาเทาไร ้ ี ่ ( 7.5 โวลต ) วิธทา ี ํ 81(มช 28) เมอตอความตานทาน 1♠ เขาระหวางขัวเซลลไฟฟาเซลลหนึง วัดกระแสไฟฟาได ่ื   ้ ่ 2 A เมือเปลียนความตานทานเปน 2.5♠ วัดกระแสไฟฟาได 1 A เซลลไฟฟานีมแรง ่ ่ ้ ี เคลือนไฟฟาเทาไร ่ ก. 1.0 V ข. 1.5 V ค. 2.5 V ง. 3.0 V (ขอ ง) วิธทา ี ํ 88
  • 31. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 82(มช 35) ความตานทานตวหนงตอกบแบตเตอร่ี ทําใหมกระแส 0.6 แอมแปร ไหลผาน  ั ่ึ  ั ี  เมือนําความตานทาน 4 โอหม มาตออนกรมกบความตานทานตวแรก จะทําใหกระแส ่   ุ ั  ั ลดลงไปจากเดม 0.1 แอมแปร จงหาแรงเคลอนไฟฟาของแบตเตอร่ี ิ ่ื  ก. 5 โวลต ข. 6 โวลต ค. 12 โวลต ง. 0.48 โวลต (ขอ ค.) วิธทา ี ํ 83(En 33) เซลไฟฟาหนง เมอเอาลวดความตานทาน 8.5 ♠ ตอระหวางขัวของเซลลจะเกิด  ่ึ ่ ื  ้ ความตางศกยทขวของเซล 2.125 V เมอทาใหวงจรเปดความตางศกยทขวเซลเปลยนเปน  ั  ่ี ้ั ่ื ํ    ั  ่ี ้ั ่ี  2.5 V จงหาความตานทานภายในเซล  (1.5 ϖ ) วิธทา ี ํ 84. วงจรไฟฟาดงรูป มีกระแสไฟฟา 4 แอมแปร ผานตัวตานทาน ถาไมคดความตานทาน  ั ิ ภายในแบตเตอรจงหา ่ี R = 0.5 โอหม  ก. กระแสไฟฟาทีผานหลอดไฟ ่ 4 แอมแปร ข. ความตางศักยระหวางปลายตัวตานทาน 6 โวลต r R1 ค. ความตานทานของหลอดไฟ หลอดไฟ ง. พลังงานไฟฟาที่ถูกใชไปใน 10 วินาที จ. กาลงไฟฟาทสญเสยไปในตวตานทาน ํ ั  ่ี ู ี ั  (ก. 4 แอมแปร ข. 2 V ค. 1 โอหม ง. 240 J จ. 8 W) 89
  • 32. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) วิธทา ี ํ การตอเซลลไฟฟาโดยทั่วไปมี 2 แบบหลัก ๆ ไดแก 1) การตอแบบอนุกรม คือ การตอเซลลไฟฟาใหอยูในสายเดียวกัน กรณี 1 ตออนุกรมแบบถูกทิศ Eรวม = E1 + E2 rรวม = r1 + r2 กรณี 2 ตออนุกรมแบบกลับทิศ Eรวม = E1 – E2 rรวม = r1 + r2 85. จากรูปจงหากระแสทีไหลในวงจร ่ (5 แอมแปร) วิธทา ี ํ 90
  • 33. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 86. จากวงจรทีแสดงตามรูป จงหากระแสในวงจร ่ (ขอ ค) ก. 0.25 A ข. 0.50 A ค. 1.00 A ง. 1.50 A วิธทา ี ํ 87. จากรป จงหากระแสทีไหลในวงจร ู ่ (4 แอมแปร) วิธทา ี ํ 88(En 40) พิจารณาวงจรไฟฟาดังรูป จงหาคา  กระแสไฟฟาทไหลในวงจร  ่ี (ขอ 2) 1. 0.25 A 2. 0.50 A 3. 0.75 A 4. 1.00 A วิธทา ี ํ 91
  • 34. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 2) การตอแบบขนาน คือ การตอเซลลไฟฟาแบบแยกอยูคนละสาย Eรวม = E และ rรวม = r1 + r1 1 1 2 89. จงหา I ทีผานความตานทาน 2♠ จากรป ่ ู (2 A) วิธทา ี ํ 90. จงหา I ทีผานความตานทาน 4 ♠ ่ จากรป ู (1 A) วิธีทํา 91. จงหากระแสไฟฟาผานตัวตานทาน a , b และ c b ในวงจรไฟฟา ดังรูป  a ให E1 = 3 V Ra = 7 ♠ c E2 = 3 V R b = 4 ♠ r1 E1 r2 E2 r1 = 1 ♠ Rc = 12 ♠ r2 = 1 ♠ (0.5 ,0.375 , 0.125 A) วิธีทํา 92
  • 35. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 92. ไดโอดเปลงแสงตัวหนึงจะเปลงแสงเมือมีกระแสไฟฟา 20 มิลลิแอมแปร ผานขณะตอไบ ่ ่   แอสตรง และความตางศกยระหวางขว 1.7 โวลต ถานําไดโอดตัวนีไปตอกับแบตเตอรี่ 6  ั   ้ั ้ โวลต ทีมความตานทานภายในนอยมาก จะตองนําตัวตานทานคาเทาใดมาตออยางไรกับ ่ ี วงจรเพือไมใหไดโอดเสียหาย ่ ( นําความตานทาน 215 โอหม ตออนุกรมกับไดโอด) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 6 การหาความตางศักยระหวางเซลล เราสามารถหาความตางศกยระหวางเซลลไฟฟาใด ๆ ไดจากสมการ  ั      Vab = ϒIR – ϒE เมือ Vab ่ คือ ความตางศักยระหวางจุด a กับจุด b I คือ กระแสไฟฟาในวงจร R คือ ความตานทานระหวางจุด a กับ b E คือ แรงเคลอนไฟฟาระหวางจด a กับ b ่ื   ุ ตองทราบเพิ่มเติม 1. ตองคดจากจด a ไปจุด b ตามทศการไหลของกระแสไฟฟา  ิ ุ ิ 2. หาก E มีทศตานกระแสไฟฟา I (คือกระแสเขาขัวบวกของเซลล) ตองใช E เปนลบ ิ ้ หาก E มีทิศเดียวกับกระแสไฟฟา I (คือกระแสเขาขั้วลบของเซลล) ตองใช E เปนบวก 3. Vab = Va – Vb Vab = –Vba 4. หากเราคดจนครบรอบวงจร จะไดวา V = 0 จะไดออกมาวา ิ    0 = θIR – θE ϒE = ϒIR 93
  • 36. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 93. จากวงจรดังรูป จงหาความตางศักย a b ไฟฟาระหวางจุด b กับ c และระ- 6V 6V 1υ 6υ 12V 2υ หวางจุด d กับ a (12 , 7.5 โวลต ) 1υ วิธีทํา 2υ 3υ d 2V c 4υ 1υ 94. จากวงจรดังรูป จงหาศกยไฟฟาทจด ั   ่ี ุ 12V 6υ a b a,b,c (2.5 , 11 , 9) 1υ 6V 2υ วิธีทํา 4υ 5υ d 8V 2υ c ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 94
  • 37. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) ตอนที่ 7 Kirchoft’s Law กฏของจุด ( Point Rule ) กลาววา “ ทีจดใดๆ ในวงจรไฟฟาผลรวมของกระแสไฟฟาที่ ุ่ เขาสจดนนทงหมด จะเทากบผลรวมของกระแสไฟฟาทไหลออกจากจดนนทงหมดเสมอ ”  ู ุ ้ั ้ั  ั  ่ี ุ ้ั ้ั กฏของวง (Loop Rule ) กลาววา “ ในวงจรไฟฟาทีครบวงจรใดๆ ( วงจรปด ) ผลรวม ่  ของแรงเคลือนไฟฟาตลอดวงจรนันๆ จะมีคาเทากับผลรวมของความตางศักยของทุกๆ จุดในวง ่ ้  จรปดนัน ” เขียนเปนสมการจะไดวา ρ E = ρ IR ้  95. จากวงจรดังรูป จงหากระแสไฟฟาทผาน  ่ี  2υ 12V เซลล 8 โวลต ( 0.5 A) 2υ วิธีทํา 10V 3υ 1υ 2υ 8V 2υ 96. จากวงจรดังรูปจงคํานวณหากระแสไฟฟา 5V,2υ ทผานตวตานทาน 2 โอหม ่ี  ั   ( 1 A) วิธีทํา 2υ 1υ 2V,1υ 95
  • 38. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 97. จากวงจรดังรูป แอมมเิ ตอรจะอานคาได    3υ เทาไร (4.2 แอมแปร) 1υ 2υ วิธีทํา A 3V 6V ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 8 กัลวานอมิเตอร แอมปมเิ ตอร โวลตมเิ ตอร และโอหมมิเตอร กัลวานอมิเตอร คือ เครื่องมือใชวัดปริมาณกระแสไฟฟา 1) ตองตอ กัลวานอมิเตอร แบบ...............เขากับตัวตานทานในวงจร 2) ตองนําซันต(R s) มาตอแบบ.................กบกลวานอมเิ ตอร เพือลด ั ั ่ ปริมาณ.....................ทใหผานกลวานอมเิ ตอรใหมปรมาณนอยลง ่ี   ั   ี ิ  3) กัลวานอมิเตอร + ซันต เรียกวา ......................ใชวดกระแสไฟฟา ั  96
  • 39. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 98. แกลแวนอมิเตอรเครืองหนึงความตานทาน RG = 100 โอหม กระแสไฟฟาผานสูงสุด 10 ่ ่  ไมโครแอมแปร ถาตองการกระแสไฟฟา 210 ไมโครแอมแปร ผานตองใช ความตานทาน  Rs ขนาดเทาใดมาตอขนาน   (5 ϖ ) วิธทา ี ํ 99(มช 32) แกลแวนอมิเตอรเครืองหนึงความตานทาน RG = 900 โอหม กระแสไฟฟาผาน ่ ่  สูงสุด 10 ไมโครแอมแปร ถาตองการกระแสไฟฟา 100 ไมโครแอมแปร ผานตองใช ความตานทาน Rs มีคาเทาไรตออยางไร   (ขอ ก) ก. Rs = 100 โอหม ตอขนานกับแกลแวนอมิเตอร  ข. Rs = 60 โอหม ตอขนานกับแกลแวนอมิเตอร  ค. Rs = 100 โอหม ตออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร  ง. Rs = 90 โอหม ตออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร  วิธทา ี ํ 100(มช 26) แอมปมเิ ตอรวดกระแสได 1 mA ตองใชความตานทานซันต 10♠ ตอขนานกล- ั  ั วานอมิเตอรซึ่งมีความไว 100 →A คาความตานทานของกลวานมเิ ตอร(RG) มีคาเทาใด   ั  ก. 100♠ ข. 90♠ ค. 10♠ ง. 2♠ (ขอ ข) วิธทา ี ํ 97
  • 40. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 101(En 44/2) แกลแวนอมิเตอรตวหนึงมีความตานทาน 20 โอหม อานไดเต็มสเกลเมือตอเขา ั ่  ่ กับความตางศักย 0.2 โวลต ถาตองการทําใหเปนแอมมิเตอรทอานเต็มสเกลได 1 แอมแปร ่ี  โดยตอตวตานทานขนาน (หรือซันต) กับแกลแวนอมิเตอรน้ี ขณะทีแอมมิเตอรอานไดเต็ม  ั  ่  สเกลกระแสทีผานซันตมคาเทาใด ่ ี 1. 0.01 A 2. 0.10 A 3. 0.90 A ง. 0.99 A (ขอ 4) วิธทา ี ํ การวัดความตางศักยไฟฟา 1) ตองตอ กัลวานอมิเตอร แบบ................กับตัวตานทานในวงจร 2) ตองนามลตพลายเออร (Rm) ซึ่งมีคามากๆ มาตอแบบ..............  ํ ั ิ  กบกลวานอมเิ ตอร เพอใหกระแสไหลมาหากลวานอมเิ ตอร ั ั ่ื  ั นอยๆ ทําใหเหลือกระแสไหลผานตัวตานทาน (R) ใกลเคียง  กบกระแสเดม จะทําใหวดความตางศักยไดใกลเคียงความจริง ั ิ ั 3) กัลวานอมิเตอร + มัลติพลายเออร เรียกวา ..................... ใชวด ั ความตางศักย 102(มช 27) การดัดแปลงกัลวานอมิเตอรเปนโวลต จะตองนาความตานทานมาตอรวมแบบใด  ํ    ก. ซนตและความตานทานมคานอย ั   ี  ข. ซันตและความตานทานมีคามาก  ค. อนุกรมและความตานทานมีคานอย ง. อนุกรมและความตานทานมีคามาก (ขอ ง)   103 (มช 37) แกลแวนอมิเตอรเครืองหนึงมีความตานทาน 1000 โอหม วัดกระแสไฟฟาสูงสุด ่ ่  100 ไมโครแอมแปร จงหาขนาดของความตานทานทนามาตอกบแกลแวนอมเิ ตอรน้ี เพอ  ่ี ํ  ั  ่ื ดัดแปลงใหเปนโวลตมเิ ตอรทวดความตางศักยสงสุด 1 โวลต ่ี ั ู (9000 ϖ) วิธทา ี ํ 98
  • 41. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 104(มช 44) แกลแวนอมิเตอรเครืองหนึงมีความตานทาน 0.2 โอหม กระแสไฟฟาสงสดทไหล ่ ่   ู ุ ่ี ผานไดมคา 50 มิลลิแอมแปร ตองหาความตานทานเทาไร (โอหม) มาตอกบแกลแวนอ– ี   ั มิเตอรน้ี เพอใหวดความตางศกยไดสงสด 100 มิลลิโวลต ่ื  ั  ั   ู ุ 1. 0.2 2. 1.8 3. 2 4. 2.4 (ขอ 2) วิธทา ี ํ การวัดความตานทาน โอหมมิเตอร (Ohmmeter) คือ G เครองมอทใชวดความตานทาน สวน ่ื ื ่ี  ั  E ประกอบทีสาคัญของโอหมมิเตอร คือ ่ ํ R0 แกลแวนอมเิ ตอร ตอกับตัวตานทาน แปรคา R0 และ เซลลไฟฟา E ดังรูป  x y Rx เมอตองการวดความตานทาน Rx ใดๆ ใหเอาขัว x และ y ไปตอทีปลายตัวตานทานนัน ่ื  ั  ้ ่ ้ ซึงจะมีผลใหกระแสไฟฟาผานโอหมมิเตอร ถา Rx มีคามาก กระแสไฟฟาผานโอหมมเิ ตอร ่     มคานอย เขมจะเบนนอย แตถา Rx มคานอย กระแสไฟฟาผานโอหมมเิ ตอรมคามาก เขมจะ ี  ็   ี      ี ็ เบนมาก แตถานาปลาย x และ y แตะกน ถือวาความตานทานเปนศูนย กระแสไฟฟาจะผาน  ํ ั โอหมมิเตอรมากทีสด เข็มของโอหมมิเตอรจะเบนไดมากทีสด ตําแหนงของเข็มขณะนีตองชี้ ่ ุ ่ ุ ้ ศูนย ดงนน สเกลของโอหมมิเตอร จะกลบกบแอมมเิ ตอร และโวลตมเิ ตอร ั ้ั ั ั  99
  • 42. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 105. โอหมมเิ ตอรตวหนงภายในมเี ซลลไฟฟา ซึงมีแรงเคลือนไฟฟา 3 โวลต และมความตาน   ั ่ึ   ่ ่ ี  ทานภายใน 5 โอหม ตออนุกรมอยูกบตัวตานทานแปรคามีความตานทาน 250 โอหม  ั  และแกลแวนอมิเตอรมความตานทาน 45 โอหม ี  ก. ถาตอปลายทังสองของโอหมมิเตอร กนโดยตรงจะมกระแสไฟฟาผานแกลแวนอ- ้ ั ี   มิเตอรเทาไร (0.01 แอมแปร) ข. ถาตอปลายทังสองของโอหมมิเตอรเขากับตัวตานทานตัวหนึง ปรากฏวามีกระแสไฟ ้ ่ ฟาผาน 0.005 แอมแปร ตัวตานทานทีตอมีความตานทานเทาไร   ่ (300 โอหม) วิธทา ี ํ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 9 แมเ หลก และ สนามแมเหล็ก ็ สมบัตเิ บืองตนของแมเหล็ก ้ 1) แทงแมเ หลก 1 แทงจะมี 2 ขัว คือ ขัวเหนือและขัวใตเสมอ  ็ ้ ้ ้ 2) ขัวแมเหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกัน และขัวตางกันจะดูดกันเสมอ ้ ้ 3) บริเวณรอบ ๆ แทงแมเหล็กซึงปกติจะมีแรง ่ ทางแมเหล็กแผออกมาตลอดเวลา บริเวณ โดยรอบแทงแมเหล็กนีเ้ รียก สนามแมเหล็ก สนามแมเหล็กจะเปนปริมาณเวกเตอร ซึงภายนอกแทงแมเหล็ก จะมทศออกจากขวเหนอ ่ ี ิ ้ั ื เขาหาขัวใต และภายในแทงแมเหล็กจะมีทศจากขัวใตไปหาขัวเหนือ ้ ิ ้ ้ 100
  • 43. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1) 4) เสนทเ่ี ขยนแทนแรงทแมเ หลกแผออกมา  ี ่ี ็  เรียก เสนแรงแมเหล็ก 5) จํานวนเสนแรงแมเหล็ก เรียกวา ฟลักซ แมเหล็ก (∑) ซึงมีหนวยเปน เวเบอร ่ เราสามารถคํานวณหา ฟลักซแมเหล็ก ซงตกบนพนทรองรบหนงไดจากสมการ ่ึ ้ื ่ี ั ่ึ   = BA sin ± เมือ  = ฟลักซแมเหล็ก (เวเบอร) ่ B = ความเขมสนามแมเ หลก (เวเบอร/m2 , เทสลา)  ็ A = พนท่ี (m2 ) ้ื ± = มุมระหวางสนามเมเหล็กกับพืนทีรองรับ ้ ่ 106. จงวาดรปเสนแรงแมเ หลกตอไปน้ี ู  ็  ใหสมบูรณ N S 107. ฟลักซแมเหล็ก คือ .................................................................... มีหนวยเปน ................... 108. ขดลวดพนท่ี 10 x 10–4 m2 วางอยูในบริเวณทีมสนามแมเหล็กขนาดสม่าเสมอ 10 เทสลา ้ื  ่ ี ํ จงหาคาฟลกซแมเ หลกทผานขดลวด เมือระนาบของขดลวดทํามุม 90o กบสนามแมเ หลก  ั  ็ ่ี  ่ ั ็ วิธทา ี ํ (10–2) 109. จากขอทีผานมา จงหาคาฟลกซแมเ หลกทผานขดลวด เมือระนาบของขดลวดทํามุม 30o ่  ั  ็ ่ี  ่ กบสนามแมเ หลก ั ็ (5x10–3 ) วิธทา ี ํ 101