SlideShare a Scribd company logo
1 of 94
Download to read offline
่
          การเตรียมความพร้อมเพือรับ
การประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) 2015




                  สถาบันวิทยาศาสตร์
          สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ร่วมแบ่งปันสิ่งดีดีเพือร่วมสร้างสรรค์การศึกษาไทย
                          ่
             โดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
     E-mail : magnegis@hotmail.com
http://teacherkobwit2010.wordpress.com
PISA คืออะไร?
PISA = Programme for International Student Assessment
     (โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ)

OECD = Organisation of Economic Operation and Development
     (องค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ)
จุดมุ่งหมายของ PISA คืออะไร?
การศึกษา (เชิงเปรียบเทียบ) ว่าเยาวชนของแต่ละประเทศมีความรู้และทักษะที่จาเป็ นในการ
ดารงชีวิตในโลกปัจจุบันมากน้ อยเพียงใด ซึ่งจะบ่งชี้ถึงศักยภาพของการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ของประเทศนั้นๆ (ความน่าลงทุนในสายตาของต่างชาติ)

“คุณภาพของการศึกษาเป็ นตัวชี้ วัดศักยภาพของการพัฒนาทางเศรษฐกิจ”

PISA วัดความรู้และทักษะของผู้เรียน (ผลลัพธ์สุดท้าย) ไม่ใช่การจัดการศึกษา
(กระบวนการ)
PISA วัดและประเมินอะไรบ้าง?
PISA วัดและประเมิน “การรู้” (Literacy) 3 ด้ าน
    การอ่านเอาความ
    คณิตศาสตร์
    วิทยาศาสตร์


   การรู้ท้ง 3 ด้ านนี้ เป็ นสิ่งจาเป็ นพื้นฐานของการดารงชีวิตในโลก
           ั
             ปัจจุบันและอนาคต และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
PISA วัดและประเมินใคร?
PISA วัดและประเมิน “การรู้” (Literacy) 3 ด้ าน กับเยาวชนที่มีอายุประมาณ 15 ปี
(14 ปี 6 เดือน – 15 ปี 6 เดือน)


   เยาวชนที่มีอายุประมาณ 15 ปี จะเป็ นกาลังสาคัญในการพัฒนา
                     ประเทศในอนาคตอันใกล้
PISA วัดและประเมินเมื่อไร?
PISA วัดและประเมิน “การรู้” (Literacy) 3 ด้ าน กับเยาวชนที่มีอายุประมาณ 15 ปี
(14 ปี 6 เดือน – 15 ปี 6 เดือน) ทุกๆ 3 ปี โดยเริ่มมีการประเมินตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2000
จนถึงปัจจุบัน


   ปี ทีมีการประเมินคือ ปี ค.ศ. 2000, 2003, 2006, 2009,
        ่
                     2012, 2015, และ ...
PISA วัดและประเมินเมื่อไร?
 การประเมิน PISA ในแต่ละปี มีจุดเน้ นแตกต่างกัน

  ปีที่มีการ
                    2000     2003      2006        2009      2012       2015
ประเมิน PISA

      จุดเน้น      การอ่าน   คณิตฯ      วิทย์     การอ่าน    คณิตฯ       วิทย์

                   คณิตฯ & การอ่าน การอ่าน คณิตฯ & การอ่าน การอ่าน
     จุดไม่เน้น*
                    วิทย์  & วิทย์ & คณิตฯ วิทย์   & วิทย์ & คณิตฯ

 *อาจมีการประเมินความรู้และทักษะอื่นๆ เพิ่มเติมด้วย เช่น การแก้ปัญหา ความรู้
 ทางเศรษฐกิจ และ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มีประเทศใดเข้ารับการประเมิน PISA บ้าง?
ผลการประเมิน PISA ในปี ที่ผานมาเป็ นอย่างไร?
                           ่




       การอ่าน   คณิตฯ    วิทย์ฯ   การอ่าน
ผลการประเมิน PISA ในปี ที่ผานมาเป็ นอย่างไร?
                           ่
ผลการประเมิน PISA ในปี ที่ผานมาเป็ นอย่างไร?
                           ่
ประเภทของคาถามในการประเมิน PISA
 คาถามที่ใช้ สถานการณ์ในชีวิตประจาวันเป็ นฐาน (Context-based
  questions) ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบ:
    คาถามถูกผิด (Yes-No questions)
    คาถามแบบเลือกตอบ (Multiple choice questions)
    คาถามปลายเปิ ด (Open-ended questions)
    การวาดภาพ (Drawings)
    คาถามแบบมาตรส่วนประเมินค่า (Likert scale
     questions)
ตัวอย่างข้อสอบวิทยาศาสตร์
                                    ฟันผุ

  แบคทีเรียที่อยู่ในปากเป็นสาเหตุของฟันผุ ฟันผุเป็นปัญหามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1700
  นับตั้งแต่มีน้าตาลจากการขยายอุตสาหกรรมน้้าตาลจากอ้อย ปัจจุบันนี้ เรามี
  ความรู้มากเกี่ยวกับฟันผุ ตัวอย่างเช่น:
 • แบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของฟันผุกนน้้าตาลเป็นอาหาร
                                      ิ
 • น้้าตาลถูกเปลี่ยนไปเป็นกรด
 • กรดท้าลายผิวของฟัน
 • การแปรงฟันช่วยป้องกันฟันผุ
ตัวอย่างข้อสอบวิทยาศาสตร์
                                ฟันผุ

 ค้าถามที่ 1: แบคทีเรียมีบทบาทใดที่ท้าให้ฟันผุ
     1. แบคทีเรียสร้างสารเคลือบฟันผุ
     2. แบคทีเรียสร้างน้้าตาล
     3. แบคทีเรียยสร้างแร่ธาตุ
     4. แบคทีเรียสร้างกรด
ตัวอย่างข้อสอบวิทยาศาสตร์
                       ฟันผุ

                               ค้าถามที่ 2: ข้อมูลจากกราฟสนับสนุน
                               ข้อความใดต่อไปนี้
                                   1. ในบางประเทศ คนแปรงฟัน
                                         บ่อยครั้งกว่าประเทศอื่น
                                   2. ยิ่งคนกินน้้าตาลมาก อัตราการ
                                         เกิดฟันผุก็ยิ่งมากขึ้น
                                   3. เมื่อไม่กี่ปีมานี้ อัตราของการเกิด
                                         ฟันผุเพิ่มขึ้นในหลายประเทศ
                                   4. เมื่อไม่กี่ปีมานี้ การบริโภคน้้าตาล
                                         เพิ่มขึ้นในหลายประเทศ
ตัวอย่างข้อสอบวิทยาศาสตร์
                                   ฟันผุ

  ค้าถามที่ 3: ในประเทศหนึ่ง มีจ้านวนฟันผุต่อคนสูงมาก ค้าถามเกี่ยวกับ
  ฟันผุต่อไปนี้ สามารถตอบได้โดยการทดลองทางวิทยาศาสตร์หรือไม่
  จงเขียนวงกลมล้อมรอบค้าว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ในแต่ละค้าถาม
ค้าถามเกี่ยวกับฟันผุเหล่านี้ สามารถตอบได้โดยการทดลอง
                                                       ใช่ หรือ ไม่ใช่
ทางวิทยาศาสตร์หรือไม่
การใส่ฟลูออไรด์ในน้้าประปาจะมีผลต่อฟันผุอย่างไร        ใช่ / ไม่ใช่
การไปหาทันตแพทย์ควรเสียค่าใช้จ่ายเท่าใด                ใช่ / ไม่ใช่
ตัวอย่างข้อสอบวิทยาศาสตร์
                                    กลางวัน

 จงอ่านข้อมูลต่อไปนี้และตอบค้าถาม
 กลางวันของวันที่ 22 มิถุนายน 2545
 วันนี้ ขณะที่ทางซีกโลกเหนือฉลองวันที่มีกลางวันยาวนานที่สุด ออสเตรเลียจะมี
 กลางวันที่สั้นทีสุด
                 ่
 ในเมลเบอร์น ประเทศออสเตรเลีย ดวงอาทิตย์จะขึ้นเวลา 7:36 น. และตกในเวลา
 17:08 น. จึงมีกลางวัน 9 ชั่วโมง กับ 32 นาที
 เปรียบเทียบวันนี้กับวันที่มกลางวันยาวที่สุดทางซีกโลกใต้ ซึ่งคาดว่าจะเป็นวันที่ 22
                            ี
 ธันวาคม ซึ่งดวงอาทิตย์จะขึ้นในเวลา 5:55 น. และจะตกในเวลา 20:42 น. ทาให้มี
 กลางวัน 14 ชั่วโมง กับ 47 นาที
 ประธานของสมาคมดาราศาสตร์ นายเปอร์รี วลาโฮ กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงฤดูกาล
 ของซีกโลกเหนือ และซีกโลกใต้นน เกี่ยวข้องกับการที่โลกเอียง 23 องศา
                                 ั้
ตัวอย่างข้อสอบวิทยาศาสตร์
                           กลางวัน

 ค้าถามที่ 1: ข้อใดอธิบายการเกิดกลางวันและกลางคืนบนโลก
     1. โลกหมุนรอบแกนของตัวเอง
     2. ดวงอาทิตย์หมุนรอบแกนของตัวเอง
     3. แกนของโลกเอียง
     4. โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์
ตัวอย่างข้อสอบวิทยาศาสตร์
                                  กลางวัน

 ค้าถามที่ 2: สมมติว่าเป็นวันที่มกลางวันทีสั้นทีสุดในเมลเบอร์น จงเขียนเส้นแกน
                                 ี        ่ ่
 โลกซีกโลกเหนือ ซีกโลกใต้ และเส้นศูนย์สูตร ลงในรูป พร้อมทั้งเขียนชื่อก้ากับ
 ค้าตอบว่าเป็ฯส่วนใดด้วย
ข้อเสนอแนะ
 ครู
   ฝึ กให้นกเรียน “อ่านเอาความ” โดยใช้บทความ แผนภาพ
            ั
    แผนภูมิ กราฟ และตาราง
   ฝึ กให้นกเรียน “คิดวิเคราะห์” จากการอ่านข้อมูลประเภทต่างๆ
              ั
   ใช้รูปแบบการประเมินทีสอดคล้องกับการประเมิน PISA (ตาม
                            ่
    ตัวอย่างที่นาเสนอไปแล้ว)
     ใช้สถานการณ์ประกอบ
     ถามคาถามขั้นสูง (การวิเคราะห์ การอนุ มาน และการนา
        ความรูไปใช้)
                ้
   ฝึ กให้นกเรียนตอบให้ ”ตรงคาถาม” โดยใช้ขอมูลทีมีอยู่ใน
            ั                                  ้    ่
    สถานการณ์น้นๆ ั
่
    เอกสารเพิมเติม




 The World Bank. (2012). Learning Outcomes in Thailand: What Can
  We Learn from International Assessments?
 สสวท. (2551). ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS.
 สสวท. (2554). กรอบโครงสร้ างการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ PISA 2009.
เอกสารประกอบการสอนที่ 1
            สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อการประเมิน PISA 2012
                   สถาบันวิทยาศาสตร์
          ส้านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
      ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ 3 ด้าน

1. การระบุประเด็นทางวิทยาศาสตร์
2. การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิง
   วิทยาศาสตร์
3. การใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์
การระบุประเด็นทางวิทยาศาสตร์
รู้ว่าประเด็นปัญหาหรือค้าถามใดสามารถตรวจสอบ
 ได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ระบุได้ว่าจะต้องใช้ประจักษ์พยานหรือข้อมูลใดใน
 การส้ารวจตรวจสอบ
รู้ลักษณะส้าคัญของการตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์
การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์
ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ในการอธิบายที่สมเหตุสมผล
 และสอดคล้องกับประจักษ์พยาน
บรรยายหรือตีความปรากฏการณ์และพยากรณ์การ
 เปลี่ยนแปลงในเชิงวิทยาศาสตร์
ระบุได้ว่าค้าบอกเล่า บรรยาย ค้าอธิบาย และการ
 พยากรณ์ใดที่สมเหตุสมผล
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์
ตีความจากประจักษ์พยานเพื่อลงข้อสรุปและ
 สื่อสารทางวิทยาศาสตร์
ระบุข้อตกลงเบื้องต้น ประจักษ์พยาน และเหตุผล
 ที่อยู่เบื้องหลังข้อสรุป
สะท้อนความส้าคัญของการพัฒนาวิทยาศาสตร์
 และเทคโนโลยีที่มีต่อสังคม
เอกสารการประกอบการสอนที่ 2
       ลักษณะส้าคัญของค้าถามทางวิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรูวิทยาศาสตร์เพื่อการประเมิน PISA 2012
               ้
                       สถาบันวิทยาศาสตร์
              ส้านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
          ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ลักษณะส้าคัญของค้าถามทางวิทยาศาสตร์
 ค้าถามที่เป็นวิทยาศาสตร์ ค้าถามที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์
• ค้าถามที่สามารถตอบได้โดยใช้   • ค้าถามที่ไม่สามารถตอบได้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์         • ค้าถามที่สามารถตอบได้ โดยไม่
                                ต้องใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างค้าถามที่ “เป็น” และ “ไม่เป็น” วิทยาศาสตร์
  ค้าถามที่เป็นวิทยาศาสตร์ ค้าถามที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์
• ระหว่างโค้กและเป๊ปซี่ อะไรมี   • ระหว่างโค้กและเป๊ปซี่ ณเดชชอบ
ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์       ดื่มอะไรมากกว่ากัน?
มากกว่ากัน?                      • ระหว่างโค้กและเป๊ปซี่ อะไรมีราคา
                                 แพงมากกว่ากัน?
ตัวอย่างค้าถามที่ “เป็น” และ “ไม่เป็น” วิทยาศาสตร์

     ค้าถามใดต่อไปนี้ “เป็น” ค้าถามทาง                    ค้าตอบ
                วิทยาศาสตร์

การใส่ฟลูออไรด์ในน้้าประปาจะมีผลต่อการเกิดฟันผุหรือไม่ เป็น / ไม่เป็น
                       อย่างไร?



              เราจะตอบค้าถามนีได้อย่างไร?
                              ้
ตัวอย่างค้าถามที่ “เป็น” และ “ไม่เป็น” วิทยาศาสตร์

    ค้าถามใดต่อไปนี้ “เป็น” ค้าถามทาง           ค้าตอบ
               วิทยาศาสตร์

     การไปหาทันตแพทย์ควรเสียค่าใช้จ่ายเท่าใด   เป็น / ไม่เป็น



            เราจะตอบค้าถามนีได้อย่างไร?
                            ้
ตัวอย่างค้าถามที่ “เป็น” และ “ไม่เป็น” วิทยาศาสตร์
     ค้าถามใดต่อไปนี้ “เป็น” ค้าถามทาง                     ค้าตอบ
                วิทยาศาสตร์

 เป็นเวลานานเท่าไร ที่หนูจะสร้างภูมิต้านทานไวรัสที่เป็น   เป็น / ไม่เป็น
              สาเหตุของโรคฝีดาษหนู?



              เราจะตอบค้าถามนีได้อย่างไร?
                              ้
ตัวอย่างค้าถามที่ “เป็น” และ “ไม่เป็น” วิทยาศาสตร์
    ค้าถามใดต่อไปนี้ “เป็น” ค้าถามทาง                   ค้าตอบ
               วิทยาศาสตร์

    โรคฝีดาษหนูจะเกิดขึ้นกับสัตว์ชนิดอื่นได้หรือไม่?   เป็น / ไม่เป็น



              เราจะตอบค้าถามนีได้อย่างไร?
                              ้
เอกสารประกอบการสอนที่ 3
     ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการประเมิน PISA
หน่วยการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อการประเมิน PISA 2012
                          สถาบันวิทยาศาสตร์
                 ส้านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
             ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน
                                              ้
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการประเมิน PISA
 ความรู้วิทยาศาสตร์
 ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ : เนือหาทีครอบคลุม
                           ้ ่
 ความรู้วิทยาศาสตร์: ความรู้ในเนื้อหาวิทยาศาสตร์
   ระบบกายภาพ
                                       สถานการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
   ระบบสิ่งมีชีวิต
                                    สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพ
   ระบบของโลกและอวกาศ                 สิ่งแวดล้อม อันตรายและพิษภัย
   ระบบเทคโนโลยี                                เทคโนโลยี
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ : เนือหาพืนฐาน
                          ้ ้
    ชีววิทยา
        หน่วยย่อยของร่างกาย (เซลล์ นิวเคลียส โครโมโซม ยีน ดีเอ็นเอ)
        การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
        ระบบต่างๆ ของร่างกาย (การหายใจ การย่อยอาหาร การขับถ่าย
         ระบบภูมคุ้มกันโรค)
                 ิ
        การเกิดโรคต่างๆ (โรคติดต่อ โรคระบาด)
        ระบบนิเวศ (ประชากร ห่วงโซ่อาหาร สายใจอาหาร)
        เทคโนโลยีทางการแพทย์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ : เนือหาพืนฐาน
                          ้ ้
    เคมี
        สัญลักษณ์ของธาตุที่ส้าคัญ (ไฮโดรเจน คาร์บอน ออกซิเจน และ
         ไนโตรเจน)
        สัญลักษณ์และองค์ประกอบของสารต่างๆ ในชีวิตประจ้าวัน (น้้า
         อากาศ เกลือแกง น้้าตาล แอลกอฮอล์ แกร์ไฟต์ และหินอ่อน)
        การเกิดปฏิกริยาเคมี (ความสัมพันธ์ระหว่างอะตอมและโมเลกุล)
                    ิ
        สถานะของสารต่างๆ (โดยเฉพาะ สถานะ ณ อุณหภูมิห้อง)
        ความเป็นกรด-เบส (ตัวอย่างสาร)
        ความเข้ากันได้ของสารและอิมัลซิฟายเออร์
        ความเป็นพิษของสารต่างๆ (โดยเฉพาะสารที่เกิดจากอุตสาหกรรม)
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ : เนือหาพืนฐาน
                          ้ ้
      ฟิสิกส์
           ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็ว ระยะทาง และเวลา
           กฎการเคลื่อนทีของนิวตัน
                          ่
           กฎของแก๊ส
           ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (การเคลื่อนที่แบบบราวน์เนียน)
           การน้าไฟฟ้า/การน้าความร้อน
           การเปลี่ยนรูปของพลังงาน (การผลิตพลังงานทางเลือก)
           ประโยชน์และโทษของคลืนแม่เหล็กไฟฟ้า (คลืนวิทยุ x-ray และ
                                ่                  ่
            UV )
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ : เนือหาพืนฐาน
                          ้ ้
  ดาราศาสตร์และธรณีวิทยา
        การเกิดกลางวัน-กลางคืน ข้างขึ้นข้างแรม ฤดูกาล น้้าขึ้นน้้าลง รุ้งกิน
         น้้า แสงเหนือแสงใต้ พายุสุริยะ
        ชั้นบรรยากาศของโลก
        ประเภทของดินและหิน (โครงสร้างของโลก)
        ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา (การกัดกร่อน การเกิดแผ่นดินไหว การ
         ทับถม การยกตัวของดิน)
        ระบบสุริยะ (ต้าแหน่งของดาวเคราะห์ต่างๆ )
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ : เนือหาทีครอบคลุม
                           ้ ่

 ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์: ความรู้ในวิธีการหรือกระบวนการทาง
    ความรู้วิทยาศาสตร์
         การก้าหนดวัตถุประสงค์        การลงข้อสรุปจากข้อมูล
        การก้าหนด/ควบคุมตัวแปร          การสร้างค้าอธิบาย
          การวัด/ลักษณะข้อมูล         การสร้างความน่าเชื่อถือ
ตัวอย่างข้อสอบ
แป้งขนมปัง
แป้งขนมปัง
 ค้าถามที่ 1 วัดความรู้วิทยาศาสตร์
   ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขณะการหมัก
   สถานะของคาร์บอนไดออกไซด์
 ค้าถามที่ 2 วัดความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
   การก้าหนดตัวแปร
   การควบคุมตัวแปร
แป้งขนมปัง
 ค้าถามที่ 3 วัดความรู้วิทยาศาสตร์
   น้้าตาลมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ แต่เกลือและน้้าไม่
   มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ
 ค้าถามที่ 4 วัดความรู้วิทยาศาสตร์
   ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
เอกสารประกอบการสอนที่ 4
      การใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อการประเมิน PISA 2012
                   สถาบันวิทยาศาสตร์
          ส้านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
      ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การพัฒนาความรู้วิทยาศาสตร์
   ความรู้วิทยาศาสตร์
            การตีความ/การลงข้อสรุป    • ประสบการณ์
                                      • ความรู้เดิม
    ประจักษ์พยาน                      • มุมมองทางทฤษฎี
                                      • จินตนาการ
            การสังเกต/การเก็บข้อมูล
                                      • พื้นฐานทางสังคม
                                      และวัฒนธรรม
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
การพัฒนาความรู้วิทยาศาสตร์

  ความรู้วิทยาศาสตร์มี
 พื้นฐานมาจากประจักษ์
         พยาน
ตัวอย่างข้อสอบ
 วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 ความรู้วิทยาศาสตร์ (เช่น ทฤษฎีวิวัฒนาการ) มี
 พื้นฐานมาจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (เช่น ซาก
 ฟอสซิลของสัตว์ต่างๆ)
เอกสารประกอบการสอนที่ 5
การประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อการประเมิน PISA 2012
                   สถาบันวิทยาศาสตร์
          ส้านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
      ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เจตคติต่อวิทยาศาสตร์
                      ความสนใจ
                         ใน
                     วิทยาศาสตร์




                       เจตคติต่อ
                      วิทยาศาสตร์

 ความรับผิดชอบ
                                       การสนับสนุน
      ต่อ
                                      การค้ นคว้ าทาง
ทรัพยากรธรรมชา
                                       วิทยาศาสตร์
ติและสิ่งแวดล้ อม
ความสนใจในวิทยาศาสตร์

                      ความอยากรู้อยากเห็นทางวิทยาศาสตร์ และ
                          เรื่องราวที่เกี่ยวข้ องกับวิทยาศาสตร์

ความสนใจใน            ความตั้งใจที่จะหาความรู้ และทักษะวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์                             เพิ่มเติม


                     ความตั้งใจที่จะค้ นหาสาระ และความสนใจต่อเนื่อง
                       รวมถึงพิจารณาอาชีพการงานทางวิทยาศาสตร์
สนับสนุ นการศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์

                    การยอมรับความสาคัญของวิทยาศาสตร์ มุมมองที่
                        แตกต่างและข้ อโต้ แย้ งทางวิทยาศาสตร์

   สนับสนุน         การสนับสนุนการใช้ ประจักษ์พยานและการอธิบาย
การศึกษาค้ นคว้ า                 ที่สมเหตุสมผล
ทางวิทยาศาสตร์
                        การแสดงออกว่า ในการสร้ างข้ อสรุป มี
                     กระบวนการและความเป็ นเหตุเป็ นผล (ตรรกะ)
                                อย่างระมัดระวัง
ความรับผิดชอบต่อทรัพยากรและสิงแวดล้อม
                               ่

                  แสดงออกถึงความรับผิดชอบส่วนบุคคลในอันที่จะ
                           รักษาสิ่งแวดล้ อมให้ ย่งยืน
                                                  ั

ความรับผิดชอบ           แสดงความตระหนักถึงผลกระทบ
ต่อทรัพยากรและ
                         ต่อสิ่งแวดล้ อมจาการทาของคน
   สิ่งแวดล้ อม
                    แสดงความเต็มใจที่จะมีบทบาทในการรักษา
                             ทรัพยากรธรรมชาติ
ตัวอย่างข้อสอบ
           แกรนด์แคนยอน
ตัวอย่างข้อสอบ
                                        เห็นด้วย                              ไม่เห็น
                                        อย่างยิ่ง   เห็นด้วย   ไม่เห็นด้วย     ด้วย
                                                                             อย่างยิ่ง
การศึกษาฟอสซิลอย่างเป็นระบบเป็นเรื่อง
ที่ส้าคัญ
การป้องกันอุทยานแห่งชาติจากความ
เสียหายควรมีพื้นฐานจากหลักฐานทาง
วิทยาศาสตร์
การศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกียวกับชั้นหิน
                         ่
เป็นเรื่องที่ส้าคัญ
เอกสารประกอบการสอนที่ 5
                การอ่านเชิงรุก

หน่วยการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อการประเมิน PISA 2012
                   สถาบันวิทยาศาสตร์
         ส้านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
     ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อสอบ PISA
 ข้อสอบ PISA จะเป็นสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจ้าวัน ซึ่ง
อาจอยู่ในรูปแบบของ บทความ กราฟ แผนภูมิ ตาราง รูปภาพ
                     และ การ์ตูน
เทคนิคการท้าข้อสอบ PISA
         การอ่านเชิงรุก
การอ่านกราฟ ตาราง และแผนภูมิ
    การอ่านแผนภาพ/แผนผัง
การเขียนเพื่อตอบค้าถามปลายเปิด
การอ่านเชิงรุก


 การอ่านที่มีวัตถุประสงค์ชัดเจน ซึ่งสามารถท้าได้
 โดย “การอ่านค้าถามก่อนการอ่านบทความ”
 และ “สนใจในสิ่งที่ค้าถามอยากรู้”
ตัวอย่างข้อสอบ


  โคลนนิ่ง
  แมรี่ มองตากู
โคลนนิ่ง
โคลนนิ่ง

 แกะตัวที่ 1 เป็นเจ้าของชิ้นส่วนเล็กๆ ซึ่งมีนิวเคลียสอยู่
 ภายใน
 แกะตัวที่ 2 เป็นเจ้าของไข่ ซึ่งนิวเคลียสของแกะตัวที่ 1
 ถูกฉีดเข้าไป
 แกะตัวที่ 3 ท้าหน้าที่ตงท้องและคลอดลูก
                         ั้
 พ่อของดอลลี ???
โคลนนิ่ง

ในนิวเคลียสมีตัวก้าหนดลักษณะ (ยีน) ดังนั้น
 ใครเป็นเจ้าของนิวเคลียส?
 ดอลลีเหมือนแกะตัวใด?
แมรี่ มองตากู
แมรี่ มองตากู

ค้าถามที่ 1: โรคชนิดใดบ้างที่มนุษย์สามารถฉีดวัคซีนได้
 โรคทางพันธุกรรม
 โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส
 โรคที่เกิดจากการท้างานผิดปกติของร่างกาย
 โรคทุกชนิดไม่มีทางรักษา
แมรี่ มองตากู
ค้าถามที่ 2: ถ้าสัตว์หรือมนุษย์ป่วยจากการติดเชือแบคทีเรียและหาย
                                                ้
   จากโรคแล้ว ปกติแบคทีเรียที่ท้าให้เกิดโรคนั้นจะไม่ท้าให้สัตว์หรื
   อมนุษย์ป่วยซ้้าอีก เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนัน
                                              ้
 ร่างกายฆ่าแบคทีเรียทั้งหมดที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคชนิดเดียวกันนี้
 ร่างกายสร้างสารต่อต้าน (แอนติบอดี) ซึ่งฆ่าแบคทีเรียชนิดนันก่อนที่
                                                           ้
 จะเพิ่มจ้านวน
 เซลล์เม็ดเลือดแดงฆ่าแบคทีเรียทังหมดที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคชนิด
 เดียวกันนี้
 เซลล์เม็ดเลือดแดงจับและก้าจัดแบคทีเรียนี้ให้หมดไปจากร่างกาย
เอกสารประกอบการสอนที่ 6
การอ่านกราฟ ตาราง และแผนภูมิ
หน่วยการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อการประเมิน PISA 2012
                     สถาบันวิทยาศาสตร์
            ส้านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
        ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การอ่านกราฟ ตาราง และแผนภูมิ
การอ่านกราฟ ตาราง และแผนภูมิ

  กราฟ ตาราง และแผนภูมิ
  จะแสดงความสัมพันธ์ของ
  ข้อมูล 2 ชุดขึ้นไป
กราฟและองค์ประกอบของกราฟ
ข้อมูลแกน y

                              ชื่อเรื่อง

                               ความสัมพั
                               นธ์ ระหว่ าง
                               ข้ อมูลแกน
                                  x และ
                         ข้อมูลข้ อมูลแกน
                               แกน x

                                      y
ความสัมพันธ์ของข้อมูลในกราฟ

                                เพิ่มขึ้น


         ลดลง    เพิ่มขึ้น
                                คงตัว



                              ลดลง
ความสัมพันธ์ของข้อมูลในกราฟ




               เพิ่มขึ้น
ความสัมพันธ์ของข้อมูลในกราฟ
        เพิ่มขึ้นน้อย   เพิ่มขึ้นมาก
ตารางและองค์ประกอบของตาราง
                                    ชื่อเรื่อง
ข้อมูล 1                                         ข้อมูล 2




           ความสัมพันธ์ ระหว่ างข้ อมูล
                1 และข้ อมูล 2
ตารางและองค์ประกอบของตาราง
                             อันดับสูง




                             อันดับต่้า
แผนภูมิและองค์ประกอบของแผนภูมิ
                                 ปริมาณมาก




                                 ปริมาณน้อย
แผนภูมิแบบต่างๆ
                           ปริมาณน้อย
                  (สูงน้อย; ยาวน้อย; พื้นที่น้อย)

                            ปริมาณมาก
                    (สูงมาก; ยาวมาก; พื้นที่มาก)
ตัวอย่างข้อสอบ
 ฟันผุ
 การผ่าตัดใหญ่
ฟนผุ
ั
ฟนผุ
ั
 ค้าถามที่ 2: ข้อมูลจากกราฟสนับสนุนข้อความใดต่อไปนี้

   ในบางประเทศ คนแปรงฟันบ่อยครั้งกว่าประเทศอื่น

   ยิ่งคนกินน้้าตาลมาก อัตราการเกิดฟันผุก็ยิ่งมากขึ้น
                   X                      Y
   เมื่อไม่กี่ปีมานี้ อัตราของการเกิดฟันผุเพิ่มขึ้นในหลาย
    ประเทศ                         Y

   เมื่อไม่กี่ปีมานี้ การบริโภคน้้าตาลเพิ่มขึ้นในหลายประเทศ
                                   X
การผ่าตัดใหญ่
การผ่าตัดใหญ่
เอกสารประกอบการสอนที่ 7
       การอ่านแผนภาพ/แผนผัง

หน่วยการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อการประเมิน PISA 2012

                         สถาบันวิทยาศาสตร์
                ส้านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
            ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน
                                             ้
การอ่านแผนภาพ/แผนผัง
แผนภาพ/แผนผัง
แผนภาพ/แผนผังจะแสดงความสัมพันธ์
ของข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นความสัมพันธ์ใน
แง่ของเวลา การถ่ายโอนพลังงาน การ
บริหารจัดการ ความรู้สึก หรือ อื่นๆ
แผนภาพ/แผนผัง
ในแผนภาพ/แผนผังใดๆ ลูกศรจะถูกใช้
เพื่อแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล
        ต้นทาง                    ปลายทาง
สิ่งที่เกิดก่อน                   สิ่งที่เกิดหลัง
         สาเหตุ                   ผล
ความสัมพันธ์ของข้อมูลในแผนภาพ/
แผนผัง
ตัวอย่างข้อสอบ
   เครื่องแปลงไอเสีย
   ท้าน้้าดื่ม
เครื่องแปลงไอเสีย
ท้าน้้าดื่ม


              ต้นทาง
                       ปลายทาง
เอกสารประกอบการสอนที่ 8
       การเขียนตอบค้าถามปลายเปิด

หน่วยการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อการประเมิน PISA 2012

                         สถาบันวิทยาศาสตร์
                ส้านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
            ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน
                                             ้
การเขียนตอบค้าถามปลายเปิด
• ตอบให้ตรงค้าถาม และครบถ้วน
• ไม่เขียนให้ส่วนใดส่วนหนึ่งของค้าตอบมีความ
ขัดแย้งกันเอง
• เขียนด้วยส้านวนภาษาของตัวเอง (หลีกเลี่ยง
การคัดลอกบางส่วนในค้าถามมาใส่ในค้าตอบ)
• เขียนค้าตอบให้อยู่ในรูปของประโยคที่ถูกต้อง
• เขียนตัวบรรจงอ่านง่าย และใช้ค้าที่สุภาพ

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4mrtv3mrtv4
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายAomiko Wipaporn
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอBiobiome
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 

What's hot (20)

ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
Science
ScienceScience
Science
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 

Viewers also liked

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72Korrakot Intanon
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆการเคลื่อนนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆthanakit553
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1สำเร็จ นางสีคุณ
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานthanakit553
 

Viewers also liked (9)

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ (PAT 2) รหัสวิชา 72
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆการเคลื่อนนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2552
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2552
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2549
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2549
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 

Similar to การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)

โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
มารู้จัก Pisa
มารู้จัก Pisaมารู้จัก Pisa
มารู้จัก Pisakunkrooyim
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3Nanapawan Jan
 
EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education 2/ 53
EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education  2/ 53EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education  2/ 53
EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education 2/ 53DrDanai Thienphut
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 

Similar to การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa) (20)

โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
มารู้จัก Pisa
มารู้จัก Pisaมารู้จัก Pisa
มารู้จัก Pisa
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
B1
B1B1
B1
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3
 
EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education 2/ 53
EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education  2/ 53EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education  2/ 53
EAD 7205 Strategic leadership for Change Management in Education 2/ 53
 
Science
ScienceScience
Science
 
Pis ascience
Pis asciencePis ascience
Pis ascience
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 

More from Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 

การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)