SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
คําช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น
คําช่วยพื้นฐาน
คําช่วยในบทเรียนนี้ประกอบไปด้วย คําช่วยพื้นฐานดังนี้
は も の か
เป็นคําพ่วง (zokugo) ที่ไม่ผันรูป ใช้ตามหลังคําอิสระ (jiritsugo) เพื่ออธิบาย
ความสัมพันธ์กับคํานั้นกับคําอื่นในประโยค หรือเพื่อเติมความหมายให้กับคําอิสระ
แบ่งเป็น 4 ประเภทคือ 1)คําช่วยสถานะ 2)คําช่วยเชื่อม 3)คําช่วยเกี่ยวเนื่อง 4)คําช่วย
วิเศษณ์
คําช่วย は
 คําช่วย は เป็นคําช่วยที่ชี้ให้เห็นว่า คํานามที่อยู่ข้างหน้าเป็นหัวข้อเรื่อง
ของประโยค เมื่อผู้พูดต้องการจะพูดเรื่องอะไร ก็จะใช้คํานามนั้น ตามด้วย
คําช่วย は และตามด้วยประโยคที่ต้องการ
เช่น わたしは がくせいです。
แปลว่า ฉัน เป็น นักเรียน
*คําช่วย は อ่านว่า Wa
เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
คําช่วย も
 คําช่วย も เป็นคําช่วยที่พรรณนาเกี่ยวกับคํานามที่เป็นหัวข้อเรื่อง
ของเรื่องราวนั้น ๆ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่เคยกล่าวมาแล้ว เราจะใช้คําช่วย も
แทนคําช่วย は
เช่น わたしは がくせいです。 ฉัน เป็น นักเรียน
きらさんも かくせいです。 ฉัน ก็เป็น นักเรียน
*คําช่วย は อ่านว่า Wa
เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
คําช่วย の
 คําช่วย の เป็นคําช่วยที่ใช้เชื่อมคํานามกับคํานาม ทําหน้าที่บอกถึง
ความสัมพันธ์ของคํานามที่ 1 และ คํานามที่ 2 ว่าเกี่ยวข้องกันและสามารถ
แสดงความเป็นเจ้าของได้อีกด้วย
เช่น わたしは コンケンだいがくの がくせいです。
ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
*สังเกตว่า ภาษาญี่ปุ่น จะแปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อน แล้วจึงแปล
ความหมายจากท้ายประโยคมาข้างหน้า ดังนี้
わたしは コンケンだいがくの がくせいです。
ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คําช่วย か
 คําช่วย か เป็นคําช่วยที่ใช้แสดงความรู้สึกสงสัย หรือไม่แน่ใจเป็น
คําช่วยที่ใช้เติมไว้หลังประโยคบอกเล่า หรือประโยคปฏิเสธ เพื่อทําให้
ประโยคนั้นเป็นคําถาม และจะออกเสียง か สูงที่ท้ายประโยค
เช่น あなたは コンケンだいがくの がくせいですか。
คุณ เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่นใช่ไหม
• ตัวอย่างการถามและการตอบคําถาม
あなたは がくせいですか。
ตอบ แบบบอกเล่า
はい、わたしは がくせいです。ใช่ ฉันเป็นนักเรียน
ตอบแบบปฏิเสธ
いいえ、わたしは かくせいではありません。ไม่ใช่ ฉันไม่ใช่นักเรียน
หรือ いいえ、しゃいんです。ไม่ใช่ ฉันเป็นพนักงานบริษัท

More Related Content

What's hot

แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6Acha Nai
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiIS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiเติ้ล ดาว'เหนือ
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555Jutapun Vongpredee
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายpeter dontoom
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน Utai Sukviwatsirikul
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาNadeeya Benlateh
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisAnana Anana
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยpanadda kingkaew
 
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันChapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันPumPui Oranuch
 

What's hot (20)

แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
แบบเรียนภาษาญี่ปุ่น รวมไฟล์ 1 ถึง 6
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
Association card katakana
Association card katakanaAssociation card katakana
Association card katakana
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origamiIS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
IS2 คณิตศาสตร์กับการพับกระดาษแบบสอด origami
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันChapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
 

More from bass hyde

คำศัพท์
คำศัพท์คำศัพท์
คำศัพท์bass hyde
 
ตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนาตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนาbass hyde
 
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดาคำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดาbass hyde
 
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนาแหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนาbass hyde
 
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของสรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของbass hyde
 
สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่bass hyde
 

More from bass hyde (6)

คำศัพท์
คำศัพท์คำศัพท์
คำศัพท์
 
ตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนาตัวอย่างบทสนทนา
ตัวอย่างบทสนทนา
 
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดาคำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
คำกริยารูปปฏิเสธธรรมดา
 
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนาแหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
แหล่งการเรียนรู้ บทสนทนา
 
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของสรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
สรรพนามบ่งชี้สิ่งของ
 
สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่สรรพนามบ่งชี้สถานที่
สรรพนามบ่งชี้สถานที่
 

คำช่วยพื้นฐานในภาษาญี่ปุ่น.Pdf

  • 2. คําช่วยพื้นฐาน คําช่วยในบทเรียนนี้ประกอบไปด้วย คําช่วยพื้นฐานดังนี้ は も の か เป็นคําพ่วง (zokugo) ที่ไม่ผันรูป ใช้ตามหลังคําอิสระ (jiritsugo) เพื่ออธิบาย ความสัมพันธ์กับคํานั้นกับคําอื่นในประโยค หรือเพื่อเติมความหมายให้กับคําอิสระ แบ่งเป็น 4 ประเภทคือ 1)คําช่วยสถานะ 2)คําช่วยเชื่อม 3)คําช่วยเกี่ยวเนื่อง 4)คําช่วย วิเศษณ์
  • 3. คําช่วย は  คําช่วย は เป็นคําช่วยที่ชี้ให้เห็นว่า คํานามที่อยู่ข้างหน้าเป็นหัวข้อเรื่อง ของประโยค เมื่อผู้พูดต้องการจะพูดเรื่องอะไร ก็จะใช้คํานามนั้น ตามด้วย คําช่วย は และตามด้วยประโยคที่ต้องการ เช่น わたしは がくせいです。 แปลว่า ฉัน เป็น นักเรียน *คําช่วย は อ่านว่า Wa เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
  • 4. คําช่วย も  คําช่วย も เป็นคําช่วยที่พรรณนาเกี่ยวกับคํานามที่เป็นหัวข้อเรื่อง ของเรื่องราวนั้น ๆ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่เคยกล่าวมาแล้ว เราจะใช้คําช่วย も แทนคําช่วย は เช่น わたしは がくせいです。 ฉัน เป็น นักเรียน きらさんも かくせいです。 ฉัน ก็เป็น นักเรียน *คําช่วย は อ่านว่า Wa เมื่อเราแปลความหมาย ก็ให้แปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อนเสมอ
  • 5. คําช่วย の  คําช่วย の เป็นคําช่วยที่ใช้เชื่อมคํานามกับคํานาม ทําหน้าที่บอกถึง ความสัมพันธ์ของคํานามที่ 1 และ คํานามที่ 2 ว่าเกี่ยวข้องกันและสามารถ แสดงความเป็นเจ้าของได้อีกด้วย เช่น わたしは コンケンだいがくの がくせいです。 ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น *สังเกตว่า ภาษาญี่ปุ่น จะแปลคํานามที่อยู่หน้าคําช่วย は ก่อน แล้วจึงแปล ความหมายจากท้ายประโยคมาข้างหน้า ดังนี้ わたしは コンケンだいがくの がくせいです。 ฉัน เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 6. คําช่วย か  คําช่วย か เป็นคําช่วยที่ใช้แสดงความรู้สึกสงสัย หรือไม่แน่ใจเป็น คําช่วยที่ใช้เติมไว้หลังประโยคบอกเล่า หรือประโยคปฏิเสธ เพื่อทําให้ ประโยคนั้นเป็นคําถาม และจะออกเสียง か สูงที่ท้ายประโยค เช่น あなたは コンケンだいがくの がくせいですか。 คุณ เป็นนักศึกษา ของ มหาวิทยาลัยขอนแก่นใช่ไหม • ตัวอย่างการถามและการตอบคําถาม あなたは がくせいですか。 ตอบ แบบบอกเล่า はい、わたしは がくせいです。ใช่ ฉันเป็นนักเรียน ตอบแบบปฏิเสธ いいえ、わたしは かくせいではありません。ไม่ใช่ ฉันไม่ใช่นักเรียน หรือ いいえ、しゃいんです。ไม่ใช่ ฉันเป็นพนักงานบริษัท