SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
 ความหมายของสารสนเทศ (Information)
 ความสาคัญของสารสนเทศ (Information) ที่มีต่อมีต่อการศึกษาใน
ระดับอุดมศึกษา (+ต่อด้านอื่นๆ)
 ความหมายของการเรียนรู้ (Learning)
 วิธีการเรียนในมหาวิทยาลัยอย่างประสบความสาเร็จ
 การศึกษาระบบหน่วยกิตของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยและระเบียบ
ต่างๆ
 การรู้เท่าทันสื่อ
- ความหมายและความสาคัญ
- ทักษะที่จาเป็นสาหรับการรู้เท่าทันสื่อ
- การวิเคราะห์สื่อ/การรับมือสื่อ
- แนวทางการรับมือสื่อ
1. อธิบายความหมายของสารสนเทศ (Information) ได้อย่างถูกต้อง
2. อธิบายประโยชน์ของสารสนเทศ (Information) ที่มีต่อการเรียนใน
มหาวิทยาลัยได้ (รวมถึงประโยชน์ต่อตัวนักศึกษาเอง)
3. อธิบายความหมายของการเรียนรู้ (Learning) ได้อย่างถูกต้อง
4. อธิบายวิธีการเรียนในมหาวิทยาลัยอย่างประสบความสาเร็จได้
5. อธิบายการศึกษาระบบหน่วยกิตของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และระเบียบ
ต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
6. อธิบายความหมาย และความสาคัญการรู้เท่าทันสื่อได้อย่างถูกต้อง
7. อธิบายทักษะที่จาเป็นสาหรับการรู้เท่าทันสื่อได้
8. อธิบายการวิเคราะห์สื่อ/การรับมือสื่อได้
9. เข้าใจในเรื่องการรับมือสื่อและสามารถเสนอแนวทางการรับมือสื่อได้
 หมายถึง
ข้อมูล ข้อเท็จจริง เหตุการณ์
ผ่านกระบวนการประมวลผล หรือผ่านการวิเคราะห์ ตีความ
ถ่ายทอด บันทึกไว้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งในรูปของวัสดุตีพิมพ์ (เช่น
หนังสือ วารสาร) และวัสดุไม่ตีพิมพ์ (เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครฟิช)
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงมีการถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆ
(เช่น ถ้อยคา หรือคาพูด)
เพื่อให้มีการเผยแพร่ให้ผู้รับนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป
(IS Wiki CMU, 2555, ย่อหน้า1)
 ความคิด ข้อเท็จจริง จินตนาการ
 มีการสื่อสาร บันทึก เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทางการและ
ไม่เป็นทางการ
(The ALA Glossary in Library and Information Science อ้างถึงใน
รติรัตน์ มหาทรัพย์, ม.ป.ป., น.1)
 ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ และความคิด
 ผ่านกระบวนการทาให้มีความหมาย มีคุณค่า
 มีการบันทึก จัดพิมพ์ และ/หรือเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ
 สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
(รติรัตน์ มหาทรัพย์, ม.ป.ป., น.2)
 ข้อมูล ข้อเท็จจริง ข่าวสาร ความรู้ ความคิด ความรู้สึก จินตนาการ
และประสบการณ์
 ผ่านกระบวนการ รวบรวม กลั่นกรอง วิเคราะห์ ตีความ เรียบเรียง
(หรือผ่านการประมวลผล)
 บันทึกในสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์
 เพื่อเผยแพร่ และใช้พัฒนาบุคคล องค์กร และสังคมต่อไป
“สารสนเทศคืออานาจ” (information is power)
- ผู้ที่มีสารสนเทศที่มีคุณค่า ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์
- ใช้สารสนเทศอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด
- ผู้นั้นย่อมมีพลังอานาจกว่าผู้อื่น
1. ต่อบุคคล
1.1 ต่อสู้กับความไม่รู้ของตนเองในเรื่องที่จาเป็นต้องรู้ เช่น เรื่องจักรวาล
1.2 แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้
1.3 เกิดสุนทรียภาพ และความเจริญทางจิตใจ เช่น ภาพวาดสวยๆ
หนังสือศาสนา ฯลฯ
2. ต่อสังคม
2.1 ก่อให้เกิดการศึกษาซึ่งจาเป็นต่อการพัฒนาสังคม
2.2 ดารงรักษา และถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม
2.3 เสริมสร้าง และพัฒนาเทคโนโลยี ธุรกิจ การพาณิชย์ และอื่น ๆ
(ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาส ชวลิต, 2543)
 ช่วยลดความอยากรู้ คลายความสงสัย
 ช่วยแก้ไขปัญหาส่วนตัว ปัญหาการทางาน ปัญหาองค์กร ปัญหาสังคม
 ช่วยวางแผนและการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง
 ช่วยพัฒนาบุคคลให้มีความรู้ ส่งผลให้การปฏิบัติงานดีขึ้น
 ช่วยพัฒนาสังคมและพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า
(ประภาวดีสืบสนธิ์, 2543)
1. สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
2. ช่วยให้ผู้เรียนมีแหล่งความรู้ที่สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามความ
ต้องการ และความสนใจ
3. ช่วยให้ผู้สอนมีแหล่งความรู้ที่จะกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน และ
ให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียน
4. ช่วยเปิดโลกทัศน์ของผู้เรียนให้กว้างไกลมากกว่าการเป็นผู้รับความรู้ฝ่าย
เดียว
5. การได้รับสารสนเทศที่มีคุณค่า และตรงกับรายวิชาที่กาลังศึกษา ช่วย
ให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
6. ใช้ขจัดความไม่รู้ สร้างปัญญา พัฒนาประสิทธิภาพของการเรียน
7. การได้รับสารสนเทศใหม่ๆ ช่วยให้ทันเหตุการณ์ ไม่เสียโอกาส เป็นคน
ทันสมัย
8. ช่วยในการทารายงาน กิจกรรม หรือโครงงานต่างๆ
9. สื่อการสอนในรูปแบบเกม หรือ บทเรียนออนไลน์ กระตุ้นผู้เรียน และ
สนับสนุนผู้เรียนให้สามารถเรียนซ้าๆ ได้ทุกที่ทุกเวลา
 กระบวนการของประสบการณ์
 ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร
 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้ไม่ได้มาจากภาวะชั่วคราว วุฒิภาวะ
หรือสัญชาตญาณ
(Klein, 1991, p.2 อ้างถึงในมนตรี แย้มกสิกร, ม.ป.ป., ย่อหน้า1)
 เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
 เป็นผลจากประสบการณ์ และการฝึกฝน
 ไม่รวมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตาม
สัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตาม
ธรรมชาติของมนุษย์
(Hilgard & Bower, 1981 อ้างถึงในจิตวิทยาการเรียนรู้,น.2 )
 เป็นกระบวนการเรียนการสอน
 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทั้งทางกาย วาจา ใจ และ
การปรับตัวกับสภาพแวดล้อมอย่างถาวร
 วิธีการเรียนรู้: การเรียนในชั้นเรียน การอ่าน การฟัง การสังเกต
ฝึกฝน และการเรียนรู้ด้วยตนเอง
(รติรัตน์ มหาทรัพย์,ม.ป.ป., น.2)
 กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร
 พฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝน
 ไม่ใช่เป็นผลจาก
-การตอบสนองตามธรรมชาติ หรือ
-สัญชาตญาณ หรือ
-วุฒิภาวะ หรือ
-พิษยาต่างๆ หรือ
-อุบัติเหตุ หรือ
-ความบังเอิญ
 พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร จึงจะถือว่าเกิด
การเรียนรู้ขึ้น
(มนตรีแย้มกสิกร, ม.ป.ป., ย่อหน้า1)
เมื่อบุคคลเกิดการเรียนรู้ จะเกิดการเปลี่ยนแปลง 3 ด้าน คือ
1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain)
2. ด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม (Affective Domain)
3. ด้านความชานาญ (Psychomotor Domain)
(Bloom, 1959 อ้างถึงใน มนตรี แย้มกสิกร, ม.ป.ป., ย่อหน้า 1)
1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain)
ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมต่างๆ ได้มากขึ้น
เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง
2. ด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม (Affective Domain) ผู้เรียน
เกิดความรู้สึกทางด้านจิตใจ ความเชื่อ ความสนใจ
3. ความเปลี่ยนแปลงทางด้านความชานาญ (Psychomotor Domain)
นาเอาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปฏิบัติจนเกิดความชานาญขึ้น เช่น ว่ายน้า เป็นต้น
(Bloom, 1959 อ้างถึงใน มนตรี แย้มกสิกร, ม.ป.ป., ย่อหน้า 1)
 ผลของการเรียนรู้
การเรียนรู้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 3 ด้าน
1. ความรู้ คือความคิด ความเข้าใจ และความจาในเนื้อหาสาระ
2. ทักษะ เช่น ทักษะในการสื่อสาร ทักษะในการดารงชีวิต ทักษะในอาชีพ เป็นต้น
3. เจตคติหรือความรู้สึก ได้แก่
3.1 คุณธรรม หมายถึง ความยึดมั่นความจริง ความดีงามและความถูกต้อง
3.2 จริยธรรม หมายถึง ความรับผิดชอบในหน้าที่
3.3 ค่านิยม หมายถึง ความคิด ความเชื่อ
(มาลี จุฑา, 2544อ้างถึงในรติรัตน์ มหาทรัพย์,ม.ป.ป.)
 การจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 ผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง
 สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ เรียบเรียงเนื้อหา และนาเสนอ
สารสนเทศ ด้วยการพูด หรือการเขียนได้
 ผู้สอนเป็นผู้ให้คาปรึกษา
 การเรียนในลักษณะเช่นนี้จะประสบความสาเร็จได้ผู้เรียนต้องมี
ทักษะการรู้สารสนเทศ (อธิบายในบทที่ 2)
 ผู้เรียนที่มีทักษะการรู้สารสนเทศจะมีศักยภาพ และมีอิสระในการเรียนสูงมาก
 เพราะรู้ถึงความต้องการสารสนเทศของตน
 สามารถสืบค้น และคัดเลือกสารสนเทศที่มีคุณภาพได้
 จัดการสารสนเทศ และ
 ใช้สารสนเทศเหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 ซึ่งสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 สนับสนุนการเรียนการสอนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 แนวทางดังกล่าวนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
การเรียนใน Univ. เน้น ผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง ผู้สอน เป็นผู้ให้คาปรึกษา
ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหา
ความรู้ด้วยตนเอง
ผู้เรียนสามารถค้นหา วิเคราะห์
สังเคราะห์ และนาเสนอ
สารสนเทศได้ด้วยตนเอง
คุณสมบัติของผู้รู้สารสนเทศ
(มีทักษะการรู้สารสนเทศ)
คุณลักษณะข้างต้นสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และ
ช่วยสนับสนุนให้การจัดการเรียนการสอนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
1. รู้และเข้าใจโครงสร้างหลักสูตรและรายวิชาต่างๆของสาขาวิชาตนเอง
2. รู้และเข้าใจการศึกษาระบบหน่วยกิตUTCC
เช่น ระบบการศึกษา การคิดเกรด
สถานภาพนักศึกษา การจบการศึกษา ฯลฯ
3. มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียน อยากเรียน
วิธีกระตุ้นความอยากเรียน
* อ่านล่วงหน้า
* ตั้งคาถาม
* คิดตามและคาดเดา
* นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
* เชื่อมโยงความรู้
* ระดมพลังความตั้งใจ
4. พร้อมที่จะเรียน
- มีเป้าหมายในการเรียน
- เตรียมพร้อมในการเรียน
5. มีสมาธิในการเรียน ตั้งใจเรียน
ขจัดอุปสรรคที่จะทาให้ไม่มีสมาธิในการเรียน
อ่านล่วงหน้า
ทบทวนย้อนหลัง
6. จัดลาดับเรื่องที่เรียน ช่วยในการเชื่อมโยงความรู้
7. เข้าใจเรื่องที่เรียน จับประเด็นหลักได้
Q: รู้ได้อย่างไรว่าเข้าใจเรื่องนั้นจริงๆ ?????
A: ดูจาก 1. State (เขียนตามความเข้าใจ)
2. Answer
-ท้ายบท
-คาถามที่ตั้งเอง
-ตอบข้อสงสัยเพื่อน
8. วางแผนการเรียน
- การทาปฏิทินการศึกษาประจาภาค และ
ปฏิทินการศึกษาประจาสัปดาห์
- ทางานตามแผนการเรียนที่ตนเองกาหนดไว้ ด้วยจิตใจที่เข้มแข็ง
และมีวินัยในตนเอง
เดือน วันที่ สิ่งที่ต้องทา
พฤศจิกายน 19
22
26
รายงานหน้าชั้นเรียนวิชา.............................
Quiz วิชา..................................
พร้อมตอบคาถามในชั้นเรียนวิชา.....................
ธันวาคม 14
24-29
เสนอโครงร่างรายงานวิชา..................
สอบกลางภาค
มกราคม 56 9 ส่งรายงานวิชา........................................
ฯลฯ
1. สารวจการใช้เวลาในวันหนึ่งๆ
* ทากิจกรรมใดบ้าง & ใช้เวลาเท่าใด
* ช่วงเวลาสมองแจ่มใส
2. ทาแบบฟอร์มตารางเวลา
* สาเนา 15 แผ่น
* ช่วงเวลา
- ตามตารางเรียน(8.30-9.20น.)
- กาหนดเอง (30 นาที-1 ชั่วโมง ต่อหนึ่งช่วงเวลา)
2. ทาแบบฟอร์มตารางเวลา (ต่อ)
* ใส่ห้องเรียน ในชั่วโมงฟังบรรยาย
* ชั่วโมงศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ได้แก่
- อ่านสรุปทาโน้ตย่อวิชา………………..
- ทบทวนโน้ตย่อ & อ่านล่วงหน้าวิชา………
- เข้าห้องสมุด (ระบุกิจกรรม)
- ทาแบบฝึกหัด
- ทารายงาน
ฯลฯ
สูตร การจัดชั่วโมงศึกษาค้นคว้า
ตัวอย่าง นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 17 หน่วยกิต
เรียนในห้องเรียน 17 ชั่วโมง / สัปดาห์
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม = 17 คูณ 2
= 34 ชั่วโมง / สัปดาห์
1 น.ก. = เรียนในห้องเรียน 1 ช.ม. = ค้นคว้าเพิ่มเติม 2 ช.ม.
3. จัดตารางล่วงหน้า 1 สัปดาห์
- ทาวันอาทิตย์
- ข้อมูลจากปฏิทินการศึกษาประจาภาค
4. ใส่กิจกรรมลงตาราง
- เข้าฟังบรรยาย - อ่านสรุปทาโน้ตย่อวิชา….
- ทบทวนโน้ตย่อ & อ่านล่วงหน้าวิชา…………
- อ่านนิตยสาร - เรียนพิเศษ
- ฟังเพลง - คุยโทรศัพท์
- รับประทานอาหาร - เที่ยว
- นอน ฯลฯ
5. วิธีอ่านหนังสือ
ดู (50 นาที) ----> พัก (10 นาที) ----> ดู (50 นาที)
น่าสนใจ ----> ยาก ----> ง่าย
6. ใช้ชั่วโมงว่างให้เป็นประโยชน์
7. ทบทวนทันทีหลังเลิกเรียน ทาอะไร ????
8. ทดแทนเวลาทันที
9. นอนให้เพียงพอ
10. บันทึกการทางานทุกวันก่อนนอน
9. รู้เทคนิคการอ่านหนังสือ
* ตั้งคาถาม
* SQ3R
* ตระหนักในเรื่องการอ่านเร็ว
* ฝึกอ่านจับใจความสาคัญ
* ฝึกอ่านเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์
จับใจความสาคัญ
SQ3R
S = Survey การสารวจ (ส่วนต่างๆของหนังสือ)
Q = Question ตั้งคาถาม
R = Read การอ่าน จับใจความสาคัญ
R = Recall ระลึก/ท่องจาได้ --->จดโน้ตย่อไว้
R = Review ทบทวน อ่านอีกครั้ง
Survey ----------> Question ----------->
Read & Recall
อ่านหัวข้อ 1 ------> อ่านหัวข้อที่2
ระลึกหัวข้อ 1 & จดโน้ตย่อหัวข้อที่ 1 ไว้
------>อ่านหัวข้อที่ 3
ระลึกหัวข้อ 1 & ระลึกหัวข้อ 2 & จดโน้ตย่อหัวข้อที่ 2ไว้
---------------> Review
10. รู้เทคนิคการฟัง & จดคาบรรยาย
11. หมั่นทบทวนเสมอ ๆ = เตรียมตัวสอบ
12. ทบทวนทันทีหลังเลิกเรียน ช่วยให้จานาน
13. ทบทวนบทเรียนจากโน้ตย่อก่อนสอบ 1 เดือน
14. แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน
15. รู้จักแหล่งความรู้และใช้เป็น
16. ทากิจกรรมด้วย
 ความหมาย
 ความสาคัญ
 ทักษะที่จาเป็นสาหรับการรู้เท่าทันสื่อ
 การวิเคราะห์สื่อ/การรับมือสื่อ
 แนวทางการรับมือสื่อ
Animation ทาไมต้องเท่าทันสื่อ
http://www.youtube.com/watch?v=TAzwCeUPBVI
รู้เท่าทันสื่อ
http://www.youtube.com/watch?v=klxXyfGjPsE
 เป็นการเรียนรู้ที่จะช่วยให้ผู้รับสื่อสามารถเข้าใจ ประเมิน และ
สร้างสรรค์เนื้อหาสื่อโดยไม่ถูกครอบงาจากสื่อ
 สามารถใช้สื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตทั้งต่อตนเอง ครอบครัว
และสังคม
 เพราะหากไม่รู้เท่าทันสื่อ คนผู้นั้นย่อมตกเป็นเหยื่อของข้อมูลข่าวสาร
เหล่านั้น
 เป็นเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้รับสื่อ ไม่ตกเป็นเหยื่อของการ
ปลูกฝังความคิด ความเชื่อตามที่สื่อนาเสนอ
 ตระหนักถึงอิทธิพลของสื่อที่มีต่อจิตใจ
 เลือกรับสื่อที่ดี
 ใช้สื่ออย่างมีประสิทธิภาพ
1. ทักษะในการเข้าถึง (Access Skill)
2. ทักษะการวิเคราะห์ (Analyze Skill)
3. ทักษะการประเมินค่าสื่อ (Evaluate Skill)
4. ทักษะการสร้างสรรค์ (Create Skill)
5. ทักษะการมีส่วนร่วม (Participate Skill)
1. ทักษะในการเข้าถึง(Access Skill)
- ค้นหาข้อมูลจากหลายๆ แหล่ง
- อ่านเนื้อหาจากสื่อนั้น ๆ และทาความเข้าใจอย่างถ่องแท้
- เลือกคัดกรองข้อมูลที่เกี่ยวข้องตามที่ต้องการ
เพื่อสามารถเข้าใจความหมายของเนื้อหาสารได้อย่างถูกต้อง
2. ทักษะการวิเคราะห์ (Analyze Skill)
- เป็นการวิเคราะห์ตีความเนื้อหาสื่อว่าสิ่งที่สื่อนาเสนอนั้นส่งผลกระทบ อะไรบ้าง
ต่อสังคม การเมือง หรือเศรษฐกิจ
- ใช้วิธีการวิเคราะห์เปรียบเทียบ การแยกองค์ประกอบย่อยต่าง ๆ หรือการ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเหตุและผล การทาความเข้าใจเนื้อหาบริบทที่ต้องการสื่อ
เช่น
- ใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมเพื่อทานายผลที่จะเกิด
- ตีความเนื้อหา โดยใช้หลักการวิเคราะห์พื้นฐาน
- ใช้กลวิธีต่าง ๆ ได้แก่ การเปรียบเทียบ การหาความแตกต่าง ข้อเท็จจริง
ความคิดเห็น เหตุและผล การลาดับความสาคัญ
- ใช้ความรู้เกี่ยวกับบริบททางประวัติศาสตร์ การเมือง เศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน
ของการสร้างสรรค์และตีความหมาย
3. ทักษะการประเมินค่าสื่อ (Evaluate Skill)
- เป็นการประเมินคุณภาพ คุณค่า และประโยชน์ของเนื้อหาที่มีต่อ
ผู้รับสาร
- เป็นคุณค่าที่เกิดขึ้นทางใจ อารมณ์ ความรู้สึก หรือมีคุณค่าทาง
ศีลธรรม จรรยาบรรณ สังคม วัฒนธรรมหรือประเพณี
- ช่วยตัดสินเกี่ยวกับความถูกต้อง คุณภาพ และความเกี่ยวข้องของ
เนื้อหาสารได้
4. ทักษะการสร้างสรรค์(Create Skill)
- ช่วยให้บุคคลเขียนความคิดของพวกเขาได้ และใช้เทคโนโลยีฯ
ช่วย
- วิธีการสร้างสื่อแบบสร้างสรรค์ มีดังนี้
- ใช้ประโยชน์จากขั้นตอนการระดมสมอง วางแผน เรียบเรียง
และแก้ไข
- ใช้ภาษาเขียน และภาษาพูดอย่างถูกต้อง
- สร้างสรรค์ และเลือกภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
- ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในการวางโครงสร้างของเนื้อหา
5. ทักษะการมีส่วนร่วม (Participate Skill)
ทักษะนี้จะช่วยให้บุคคลสามารถเข้าไปมีส่วนร่วม หรือปฏิสัมพันธ์
ซึ่งจะส่งผลมหาศาลในการทางานร่วมกับผู้อื่น
 ตอบคาถามต่อไปนี้ เพื่อรับมือกับสื่อ
1. ใครเป็นผู้สร้างเนื้อหาของสื่อนี้
2. สร้างทาไม
3. ใครเป็นเจ้าของ หรือเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์อย่างแท้จริง
4. ใช้วิธี หรือเทคโนโลยีอะไรดึงดูดความสนใจ
5. สื่อได้เสนอค่านิยม รูปแบบการใช้ชีวิต คุณค่า และ
ความคิดเห็นในมุมมองไหนบ้าง และอย่างไร
6. สื่อไม่ได้นาเสนออะไร เพราะเหตุใด
7. ตีความเนื้อหาสาระของสื่อ เหมือน หรือต่างจากคนอื่น อย่างไร
 การรู้เท่าทันสื่อจาเป็นต้องอาศัยพลังจากภาคสังคม
 เช่น
- การสร้างกิจกรรมรู้เท่าทันสื่อในเด็กเล็ก
- ค่ายเยาวชนรู้เท่าทันสื่อ
- หลักสูตรรู้เท่าทันสื่อในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย
- เว็บไซต์รู้เท่าทันสื่อ
- งานเขียนเผยแพร่ให้รู้เท่าทันสื่อ
- การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการรู้เท่าทันสื่อ
- การคิดค้นรูปแบบและกลยุทธ์การกระตุ้นเตือนสังคมให้รู้เท่าทันสื่อ
ฯลฯ
จิตวิทยาการเรียนรู้. (ม.ป.ป.).ม.ป.ท: ม.ป.พ. (เอกสารอัดสาเนา)
นวลน้อย ตระกูลกิตติไพศาล. (2555). การรู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้า
ไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
ประภาวดี สืบสนธิ์. (2543) สารสนเทศในบริบทสังคม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สมาคม
ห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
มนตรี แย้มกสิกร. (ม.ป.ป.).ความหมายของการเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2555,
จาก http://blog.buu.ac.th/blog/learning/info
รติรัตน์ มหาทรัพย์. (ม.ป.ป.).เอกสารประกอบการสอน เรื่อง สารสนเทศกับการเรียนรู้.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
IS Wiki CMU. (2555). บทที่ 1 สารสนเทศ. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2555,
จาก
http://www.human.cmu.ac.th/home/lib/hmjournal/wiki/index.p
hp/บทที่ 1 สารสนเทศ
บริษัท Idea Grow. (2012, May 2). Animation ทาไมต้องเท่า
ทันสื่อ [Video file]. Retrieved from
http://www.youtube.com/watch?v=TAzwCeUPB
VI

More Related Content

What's hot

สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสีพัน พัน
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนPuhsadee Chaiburee
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สุพัตรา ไร่อำไพ
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาSaranda Nim
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาkrurutsamee
 
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักPao Pro
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษาMontree Dangreung
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 

What's hot (20)

เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสี
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
 
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนักโครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
โครงงานโปรตีนกับการลดน้ำหนัก
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยาฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 

Viewers also liked (20)

หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 

Similar to บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้

นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
การทำงานอย่างมีความสุข 1
การทำงานอย่างมีความสุข 1การทำงานอย่างมีความสุข 1
การทำงานอย่างมีความสุข 1Kanya Kongkanond
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอนSarawut Tikummul
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 

Similar to บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้ (20)

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การทำงานอย่างมีความสุข 1
การทำงานอย่างมีความสุข 1การทำงานอย่างมีความสุข 1
การทำงานอย่างมีความสุข 1
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 

More from Srion Janeprapapong

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 

More from Srion Janeprapapong (15)

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้

  • 1.
  • 2.  ความหมายของสารสนเทศ (Information)  ความสาคัญของสารสนเทศ (Information) ที่มีต่อมีต่อการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษา (+ต่อด้านอื่นๆ)  ความหมายของการเรียนรู้ (Learning)  วิธีการเรียนในมหาวิทยาลัยอย่างประสบความสาเร็จ  การศึกษาระบบหน่วยกิตของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยและระเบียบ ต่างๆ  การรู้เท่าทันสื่อ - ความหมายและความสาคัญ - ทักษะที่จาเป็นสาหรับการรู้เท่าทันสื่อ - การวิเคราะห์สื่อ/การรับมือสื่อ - แนวทางการรับมือสื่อ
  • 3. 1. อธิบายความหมายของสารสนเทศ (Information) ได้อย่างถูกต้อง 2. อธิบายประโยชน์ของสารสนเทศ (Information) ที่มีต่อการเรียนใน มหาวิทยาลัยได้ (รวมถึงประโยชน์ต่อตัวนักศึกษาเอง) 3. อธิบายความหมายของการเรียนรู้ (Learning) ได้อย่างถูกต้อง 4. อธิบายวิธีการเรียนในมหาวิทยาลัยอย่างประสบความสาเร็จได้ 5. อธิบายการศึกษาระบบหน่วยกิตของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และระเบียบ ต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
  • 4. 6. อธิบายความหมาย และความสาคัญการรู้เท่าทันสื่อได้อย่างถูกต้อง 7. อธิบายทักษะที่จาเป็นสาหรับการรู้เท่าทันสื่อได้ 8. อธิบายการวิเคราะห์สื่อ/การรับมือสื่อได้ 9. เข้าใจในเรื่องการรับมือสื่อและสามารถเสนอแนวทางการรับมือสื่อได้
  • 5.  หมายถึง ข้อมูล ข้อเท็จจริง เหตุการณ์ ผ่านกระบวนการประมวลผล หรือผ่านการวิเคราะห์ ตีความ ถ่ายทอด บันทึกไว้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งในรูปของวัสดุตีพิมพ์ (เช่น หนังสือ วารสาร) และวัสดุไม่ตีพิมพ์ (เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครฟิช) และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงมีการถ่ายทอดในรูปแบบอื่นๆ (เช่น ถ้อยคา หรือคาพูด) เพื่อให้มีการเผยแพร่ให้ผู้รับนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป (IS Wiki CMU, 2555, ย่อหน้า1)
  • 6.  ความคิด ข้อเท็จจริง จินตนาการ  มีการสื่อสาร บันทึก เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ (The ALA Glossary in Library and Information Science อ้างถึงใน รติรัตน์ มหาทรัพย์, ม.ป.ป., น.1)
  • 7.  ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ และความคิด  ผ่านกระบวนการทาให้มีความหมาย มีคุณค่า  มีการบันทึก จัดพิมพ์ และ/หรือเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ  สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ (รติรัตน์ มหาทรัพย์, ม.ป.ป., น.2)
  • 8.  ข้อมูล ข้อเท็จจริง ข่าวสาร ความรู้ ความคิด ความรู้สึก จินตนาการ และประสบการณ์  ผ่านกระบวนการ รวบรวม กลั่นกรอง วิเคราะห์ ตีความ เรียบเรียง (หรือผ่านการประมวลผล)  บันทึกในสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์  เพื่อเผยแพร่ และใช้พัฒนาบุคคล องค์กร และสังคมต่อไป
  • 9. “สารสนเทศคืออานาจ” (information is power) - ผู้ที่มีสารสนเทศที่มีคุณค่า ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ - ใช้สารสนเทศอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด - ผู้นั้นย่อมมีพลังอานาจกว่าผู้อื่น
  • 10. 1. ต่อบุคคล 1.1 ต่อสู้กับความไม่รู้ของตนเองในเรื่องที่จาเป็นต้องรู้ เช่น เรื่องจักรวาล 1.2 แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ 1.3 เกิดสุนทรียภาพ และความเจริญทางจิตใจ เช่น ภาพวาดสวยๆ หนังสือศาสนา ฯลฯ 2. ต่อสังคม 2.1 ก่อให้เกิดการศึกษาซึ่งจาเป็นต่อการพัฒนาสังคม 2.2 ดารงรักษา และถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม 2.3 เสริมสร้าง และพัฒนาเทคโนโลยี ธุรกิจ การพาณิชย์ และอื่น ๆ (ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาส ชวลิต, 2543)
  • 11.  ช่วยลดความอยากรู้ คลายความสงสัย  ช่วยแก้ไขปัญหาส่วนตัว ปัญหาการทางาน ปัญหาองค์กร ปัญหาสังคม  ช่วยวางแผนและการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง  ช่วยพัฒนาบุคคลให้มีความรู้ ส่งผลให้การปฏิบัติงานดีขึ้น  ช่วยพัฒนาสังคมและพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า (ประภาวดีสืบสนธิ์, 2543)
  • 12. 1. สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 2. ช่วยให้ผู้เรียนมีแหล่งความรู้ที่สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามความ ต้องการ และความสนใจ 3. ช่วยให้ผู้สอนมีแหล่งความรู้ที่จะกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน และ ให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียน 4. ช่วยเปิดโลกทัศน์ของผู้เรียนให้กว้างไกลมากกว่าการเป็นผู้รับความรู้ฝ่าย เดียว 5. การได้รับสารสนเทศที่มีคุณค่า และตรงกับรายวิชาที่กาลังศึกษา ช่วย ให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  • 13. 6. ใช้ขจัดความไม่รู้ สร้างปัญญา พัฒนาประสิทธิภาพของการเรียน 7. การได้รับสารสนเทศใหม่ๆ ช่วยให้ทันเหตุการณ์ ไม่เสียโอกาส เป็นคน ทันสมัย 8. ช่วยในการทารายงาน กิจกรรม หรือโครงงานต่างๆ 9. สื่อการสอนในรูปแบบเกม หรือ บทเรียนออนไลน์ กระตุ้นผู้เรียน และ สนับสนุนผู้เรียนให้สามารถเรียนซ้าๆ ได้ทุกที่ทุกเวลา
  • 14.
  • 15.  กระบวนการของประสบการณ์  ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร  การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้ไม่ได้มาจากภาวะชั่วคราว วุฒิภาวะ หรือสัญชาตญาณ (Klein, 1991, p.2 อ้างถึงในมนตรี แย้มกสิกร, ม.ป.ป., ย่อหน้า1)
  • 16.  เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม  เป็นผลจากประสบการณ์ และการฝึกฝน  ไม่รวมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตาม สัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตาม ธรรมชาติของมนุษย์ (Hilgard & Bower, 1981 อ้างถึงในจิตวิทยาการเรียนรู้,น.2 )
  • 17.  เป็นกระบวนการเรียนการสอน  มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทั้งทางกาย วาจา ใจ และ การปรับตัวกับสภาพแวดล้อมอย่างถาวร  วิธีการเรียนรู้: การเรียนในชั้นเรียน การอ่าน การฟัง การสังเกต ฝึกฝน และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (รติรัตน์ มหาทรัพย์,ม.ป.ป., น.2)
  • 18.  กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร  พฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝน  ไม่ใช่เป็นผลจาก -การตอบสนองตามธรรมชาติ หรือ -สัญชาตญาณ หรือ -วุฒิภาวะ หรือ -พิษยาต่างๆ หรือ -อุบัติเหตุ หรือ -ความบังเอิญ  พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร จึงจะถือว่าเกิด การเรียนรู้ขึ้น (มนตรีแย้มกสิกร, ม.ป.ป., ย่อหน้า1)
  • 19. เมื่อบุคคลเกิดการเรียนรู้ จะเกิดการเปลี่ยนแปลง 3 ด้าน คือ 1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain) 2. ด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม (Affective Domain) 3. ด้านความชานาญ (Psychomotor Domain) (Bloom, 1959 อ้างถึงใน มนตรี แย้มกสิกร, ม.ป.ป., ย่อหน้า 1)
  • 20. 1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain) ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมต่างๆ ได้มากขึ้น เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง 2. ด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม (Affective Domain) ผู้เรียน เกิดความรู้สึกทางด้านจิตใจ ความเชื่อ ความสนใจ 3. ความเปลี่ยนแปลงทางด้านความชานาญ (Psychomotor Domain) นาเอาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปฏิบัติจนเกิดความชานาญขึ้น เช่น ว่ายน้า เป็นต้น (Bloom, 1959 อ้างถึงใน มนตรี แย้มกสิกร, ม.ป.ป., ย่อหน้า 1)
  • 21.  ผลของการเรียนรู้ การเรียนรู้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 3 ด้าน 1. ความรู้ คือความคิด ความเข้าใจ และความจาในเนื้อหาสาระ 2. ทักษะ เช่น ทักษะในการสื่อสาร ทักษะในการดารงชีวิต ทักษะในอาชีพ เป็นต้น 3. เจตคติหรือความรู้สึก ได้แก่ 3.1 คุณธรรม หมายถึง ความยึดมั่นความจริง ความดีงามและความถูกต้อง 3.2 จริยธรรม หมายถึง ความรับผิดชอบในหน้าที่ 3.3 ค่านิยม หมายถึง ความคิด ความเชื่อ (มาลี จุฑา, 2544อ้างถึงในรติรัตน์ มหาทรัพย์,ม.ป.ป.)
  • 22.
  • 23.  การจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง  ผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง  สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ เรียบเรียงเนื้อหา และนาเสนอ สารสนเทศ ด้วยการพูด หรือการเขียนได้  ผู้สอนเป็นผู้ให้คาปรึกษา  การเรียนในลักษณะเช่นนี้จะประสบความสาเร็จได้ผู้เรียนต้องมี ทักษะการรู้สารสนเทศ (อธิบายในบทที่ 2)
  • 24.  ผู้เรียนที่มีทักษะการรู้สารสนเทศจะมีศักยภาพ และมีอิสระในการเรียนสูงมาก  เพราะรู้ถึงความต้องการสารสนเทศของตน  สามารถสืบค้น และคัดเลือกสารสนเทศที่มีคุณภาพได้  จัดการสารสนเทศ และ  ใช้สารสนเทศเหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ซึ่งสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง  สนับสนุนการเรียนการสอนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  แนวทางดังกล่าวนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
  • 25. การเรียนใน Univ. เน้น ผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง ผู้สอน เป็นผู้ให้คาปรึกษา ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถค้นหา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และนาเสนอ สารสนเทศได้ด้วยตนเอง คุณสมบัติของผู้รู้สารสนเทศ (มีทักษะการรู้สารสนเทศ) คุณลักษณะข้างต้นสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และ ช่วยสนับสนุนให้การจัดการเรียนการสอนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  • 26.
  • 28. 3. มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียน อยากเรียน วิธีกระตุ้นความอยากเรียน * อ่านล่วงหน้า * ตั้งคาถาม * คิดตามและคาดเดา * นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ * เชื่อมโยงความรู้ * ระดมพลังความตั้งใจ
  • 29. 4. พร้อมที่จะเรียน - มีเป้าหมายในการเรียน - เตรียมพร้อมในการเรียน 5. มีสมาธิในการเรียน ตั้งใจเรียน ขจัดอุปสรรคที่จะทาให้ไม่มีสมาธิในการเรียน อ่านล่วงหน้า ทบทวนย้อนหลัง
  • 30. 6. จัดลาดับเรื่องที่เรียน ช่วยในการเชื่อมโยงความรู้ 7. เข้าใจเรื่องที่เรียน จับประเด็นหลักได้ Q: รู้ได้อย่างไรว่าเข้าใจเรื่องนั้นจริงๆ ????? A: ดูจาก 1. State (เขียนตามความเข้าใจ) 2. Answer -ท้ายบท -คาถามที่ตั้งเอง -ตอบข้อสงสัยเพื่อน
  • 31. 8. วางแผนการเรียน - การทาปฏิทินการศึกษาประจาภาค และ ปฏิทินการศึกษาประจาสัปดาห์ - ทางานตามแผนการเรียนที่ตนเองกาหนดไว้ ด้วยจิตใจที่เข้มแข็ง และมีวินัยในตนเอง
  • 32. เดือน วันที่ สิ่งที่ต้องทา พฤศจิกายน 19 22 26 รายงานหน้าชั้นเรียนวิชา............................. Quiz วิชา.................................. พร้อมตอบคาถามในชั้นเรียนวิชา..................... ธันวาคม 14 24-29 เสนอโครงร่างรายงานวิชา.................. สอบกลางภาค มกราคม 56 9 ส่งรายงานวิชา........................................ ฯลฯ
  • 33. 1. สารวจการใช้เวลาในวันหนึ่งๆ * ทากิจกรรมใดบ้าง & ใช้เวลาเท่าใด * ช่วงเวลาสมองแจ่มใส 2. ทาแบบฟอร์มตารางเวลา * สาเนา 15 แผ่น * ช่วงเวลา - ตามตารางเรียน(8.30-9.20น.) - กาหนดเอง (30 นาที-1 ชั่วโมง ต่อหนึ่งช่วงเวลา)
  • 34. 2. ทาแบบฟอร์มตารางเวลา (ต่อ) * ใส่ห้องเรียน ในชั่วโมงฟังบรรยาย * ชั่วโมงศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ได้แก่ - อ่านสรุปทาโน้ตย่อวิชา……………….. - ทบทวนโน้ตย่อ & อ่านล่วงหน้าวิชา……… - เข้าห้องสมุด (ระบุกิจกรรม) - ทาแบบฝึกหัด - ทารายงาน ฯลฯ
  • 35. สูตร การจัดชั่วโมงศึกษาค้นคว้า ตัวอย่าง นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 17 หน่วยกิต เรียนในห้องเรียน 17 ชั่วโมง / สัปดาห์ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม = 17 คูณ 2 = 34 ชั่วโมง / สัปดาห์ 1 น.ก. = เรียนในห้องเรียน 1 ช.ม. = ค้นคว้าเพิ่มเติม 2 ช.ม.
  • 36. 3. จัดตารางล่วงหน้า 1 สัปดาห์ - ทาวันอาทิตย์ - ข้อมูลจากปฏิทินการศึกษาประจาภาค 4. ใส่กิจกรรมลงตาราง - เข้าฟังบรรยาย - อ่านสรุปทาโน้ตย่อวิชา…. - ทบทวนโน้ตย่อ & อ่านล่วงหน้าวิชา………… - อ่านนิตยสาร - เรียนพิเศษ - ฟังเพลง - คุยโทรศัพท์ - รับประทานอาหาร - เที่ยว - นอน ฯลฯ
  • 37. 5. วิธีอ่านหนังสือ ดู (50 นาที) ----> พัก (10 นาที) ----> ดู (50 นาที) น่าสนใจ ----> ยาก ----> ง่าย 6. ใช้ชั่วโมงว่างให้เป็นประโยชน์ 7. ทบทวนทันทีหลังเลิกเรียน ทาอะไร ???? 8. ทดแทนเวลาทันที 9. นอนให้เพียงพอ 10. บันทึกการทางานทุกวันก่อนนอน
  • 38. 9. รู้เทคนิคการอ่านหนังสือ * ตั้งคาถาม * SQ3R * ตระหนักในเรื่องการอ่านเร็ว * ฝึกอ่านจับใจความสาคัญ * ฝึกอ่านเพื่อวิเคราะห์วิจารณ์ จับใจความสาคัญ
  • 39. SQ3R S = Survey การสารวจ (ส่วนต่างๆของหนังสือ) Q = Question ตั้งคาถาม R = Read การอ่าน จับใจความสาคัญ R = Recall ระลึก/ท่องจาได้ --->จดโน้ตย่อไว้ R = Review ทบทวน อ่านอีกครั้ง
  • 40. Survey ----------> Question -----------> Read & Recall อ่านหัวข้อ 1 ------> อ่านหัวข้อที่2 ระลึกหัวข้อ 1 & จดโน้ตย่อหัวข้อที่ 1 ไว้ ------>อ่านหัวข้อที่ 3 ระลึกหัวข้อ 1 & ระลึกหัวข้อ 2 & จดโน้ตย่อหัวข้อที่ 2ไว้ ---------------> Review
  • 41. 10. รู้เทคนิคการฟัง & จดคาบรรยาย 11. หมั่นทบทวนเสมอ ๆ = เตรียมตัวสอบ 12. ทบทวนทันทีหลังเลิกเรียน ช่วยให้จานาน 13. ทบทวนบทเรียนจากโน้ตย่อก่อนสอบ 1 เดือน 14. แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน 15. รู้จักแหล่งความรู้และใช้เป็น 16. ทากิจกรรมด้วย
  • 42.
  • 43.  ความหมาย  ความสาคัญ  ทักษะที่จาเป็นสาหรับการรู้เท่าทันสื่อ  การวิเคราะห์สื่อ/การรับมือสื่อ  แนวทางการรับมือสื่อ
  • 46.  เป็นการเรียนรู้ที่จะช่วยให้ผู้รับสื่อสามารถเข้าใจ ประเมิน และ สร้างสรรค์เนื้อหาสื่อโดยไม่ถูกครอบงาจากสื่อ  สามารถใช้สื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม  เพราะหากไม่รู้เท่าทันสื่อ คนผู้นั้นย่อมตกเป็นเหยื่อของข้อมูลข่าวสาร เหล่านั้น
  • 47.  เป็นเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้รับสื่อ ไม่ตกเป็นเหยื่อของการ ปลูกฝังความคิด ความเชื่อตามที่สื่อนาเสนอ  ตระหนักถึงอิทธิพลของสื่อที่มีต่อจิตใจ  เลือกรับสื่อที่ดี  ใช้สื่ออย่างมีประสิทธิภาพ
  • 48. 1. ทักษะในการเข้าถึง (Access Skill) 2. ทักษะการวิเคราะห์ (Analyze Skill) 3. ทักษะการประเมินค่าสื่อ (Evaluate Skill) 4. ทักษะการสร้างสรรค์ (Create Skill) 5. ทักษะการมีส่วนร่วม (Participate Skill)
  • 49. 1. ทักษะในการเข้าถึง(Access Skill) - ค้นหาข้อมูลจากหลายๆ แหล่ง - อ่านเนื้อหาจากสื่อนั้น ๆ และทาความเข้าใจอย่างถ่องแท้ - เลือกคัดกรองข้อมูลที่เกี่ยวข้องตามที่ต้องการ เพื่อสามารถเข้าใจความหมายของเนื้อหาสารได้อย่างถูกต้อง
  • 50. 2. ทักษะการวิเคราะห์ (Analyze Skill) - เป็นการวิเคราะห์ตีความเนื้อหาสื่อว่าสิ่งที่สื่อนาเสนอนั้นส่งผลกระทบ อะไรบ้าง ต่อสังคม การเมือง หรือเศรษฐกิจ - ใช้วิธีการวิเคราะห์เปรียบเทียบ การแยกองค์ประกอบย่อยต่าง ๆ หรือการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเหตุและผล การทาความเข้าใจเนื้อหาบริบทที่ต้องการสื่อ เช่น - ใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมเพื่อทานายผลที่จะเกิด - ตีความเนื้อหา โดยใช้หลักการวิเคราะห์พื้นฐาน - ใช้กลวิธีต่าง ๆ ได้แก่ การเปรียบเทียบ การหาความแตกต่าง ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น เหตุและผล การลาดับความสาคัญ - ใช้ความรู้เกี่ยวกับบริบททางประวัติศาสตร์ การเมือง เศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน ของการสร้างสรรค์และตีความหมาย
  • 51. 3. ทักษะการประเมินค่าสื่อ (Evaluate Skill) - เป็นการประเมินคุณภาพ คุณค่า และประโยชน์ของเนื้อหาที่มีต่อ ผู้รับสาร - เป็นคุณค่าที่เกิดขึ้นทางใจ อารมณ์ ความรู้สึก หรือมีคุณค่าทาง ศีลธรรม จรรยาบรรณ สังคม วัฒนธรรมหรือประเพณี - ช่วยตัดสินเกี่ยวกับความถูกต้อง คุณภาพ และความเกี่ยวข้องของ เนื้อหาสารได้
  • 52. 4. ทักษะการสร้างสรรค์(Create Skill) - ช่วยให้บุคคลเขียนความคิดของพวกเขาได้ และใช้เทคโนโลยีฯ ช่วย - วิธีการสร้างสื่อแบบสร้างสรรค์ มีดังนี้ - ใช้ประโยชน์จากขั้นตอนการระดมสมอง วางแผน เรียบเรียง และแก้ไข - ใช้ภาษาเขียน และภาษาพูดอย่างถูกต้อง - สร้างสรรค์ และเลือกภาพอย่างมีประสิทธิภาพ - ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในการวางโครงสร้างของเนื้อหา
  • 53. 5. ทักษะการมีส่วนร่วม (Participate Skill) ทักษะนี้จะช่วยให้บุคคลสามารถเข้าไปมีส่วนร่วม หรือปฏิสัมพันธ์ ซึ่งจะส่งผลมหาศาลในการทางานร่วมกับผู้อื่น
  • 54.  ตอบคาถามต่อไปนี้ เพื่อรับมือกับสื่อ 1. ใครเป็นผู้สร้างเนื้อหาของสื่อนี้ 2. สร้างทาไม 3. ใครเป็นเจ้าของ หรือเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์อย่างแท้จริง 4. ใช้วิธี หรือเทคโนโลยีอะไรดึงดูดความสนใจ 5. สื่อได้เสนอค่านิยม รูปแบบการใช้ชีวิต คุณค่า และ ความคิดเห็นในมุมมองไหนบ้าง และอย่างไร 6. สื่อไม่ได้นาเสนออะไร เพราะเหตุใด 7. ตีความเนื้อหาสาระของสื่อ เหมือน หรือต่างจากคนอื่น อย่างไร
  • 55.  การรู้เท่าทันสื่อจาเป็นต้องอาศัยพลังจากภาคสังคม  เช่น - การสร้างกิจกรรมรู้เท่าทันสื่อในเด็กเล็ก - ค่ายเยาวชนรู้เท่าทันสื่อ - หลักสูตรรู้เท่าทันสื่อในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย - เว็บไซต์รู้เท่าทันสื่อ - งานเขียนเผยแพร่ให้รู้เท่าทันสื่อ - การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการรู้เท่าทันสื่อ - การคิดค้นรูปแบบและกลยุทธ์การกระตุ้นเตือนสังคมให้รู้เท่าทันสื่อ ฯลฯ
  • 56. จิตวิทยาการเรียนรู้. (ม.ป.ป.).ม.ป.ท: ม.ป.พ. (เอกสารอัดสาเนา) นวลน้อย ตระกูลกิตติไพศาล. (2555). การรู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้า ไทย. (เอกสารอัดสาเนา). ประภาวดี สืบสนธิ์. (2543) สารสนเทศในบริบทสังคม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สมาคม ห้องสมุดแห่งประเทศไทย. มนตรี แย้มกสิกร. (ม.ป.ป.).ความหมายของการเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2555, จาก http://blog.buu.ac.th/blog/learning/info รติรัตน์ มหาทรัพย์. (ม.ป.ป.).เอกสารประกอบการสอน เรื่อง สารสนเทศกับการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
  • 57. IS Wiki CMU. (2555). บทที่ 1 สารสนเทศ. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2555, จาก http://www.human.cmu.ac.th/home/lib/hmjournal/wiki/index.p hp/บทที่ 1 สารสนเทศ บริษัท Idea Grow. (2012, May 2). Animation ทาไมต้องเท่า ทันสื่อ [Video file]. Retrieved from http://www.youtube.com/watch?v=TAzwCeUPB VI