SlideShare a Scribd company logo
1 of 112
Download to read offline
ความหมายของการย่อยอาหาร
1. การย่อยเชิงกล(Mechanical digestion) เป็นการย่อยอาหารโดยไม่ใช้
เอ็นไซม์มาช่วยเป็นการบดเคี้ยวให้อาหารมีขนาดเล็กลง ได้แก่ การบดเคี้ย
อาหารในปาก
2. การย่อยทางเคมี (Chanical digestion) เป็นการย่อยที่ต้องใช้เอ็นไซ
มาช่วยทาให้โมเลกุลของอาหารมีขนาดเล็กลง เช่น การเปลี่ยนโมเลกุลของ
แป้งเป็นน้าตาล
อวัยวะและหน้าที่ในการย่อยอาหาร
1. ปาก ( mouth) เคี้ยวอาหารโดยการทางานร่วมกันของฟัน ลิ้นและแก้ม
เป็นการย่อยเชิงกลทาให้อาหารกลายเป็นชิ้นเล็กๆ มีพื้นที่ผิวสัมผัสกับเอนไซม์
ได้มากขึ้นในขณะเดียวกันต่อมน้าลายจะหลั่งน้าลายออกมาช่วยคลุกเคล้าให้
อาหารเป็นก้อนลื่นสะดวกต่อการกลืน เอนไซม์ในน้าลายคือไทยาลินหรือ
อะไมเลสจะย่อยแป้งในระยะเวลาสั้นๆ ในขณะที่อยู่ในช่องปากให้กลายเป็น
เดกซ์ทริน (Dextrin) ซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กกว่าแป้งแต่ใหญ่กว่า
น้าตาล
อวัยวะช่วยย่อย
ต่อมน้าลาย (Silvary Gland) เป็นต่อมมีท่อทาหน้าที่ผลิตน้าลาย (Saliva)
ที่มีเอนไซม์อะไมเลสย่อยแป้ง ต่อมน้าลายของคนมีอยู่ 3 คู่คือ
1. ต่อมน้าลายใต้ลิ้น (Sublingual Gland) 1 คู่
2. ต่อมน้าลายใต้ขากรรไกรล่าง (Submandibulary Gland) 1 คู่
3. ต่อมน้าลายข้างกกหู (Parotid Gland) 1 คู่
2. คอหอยและการกลืน หลังจากที่อาหารถูกเคี้ยวและผสมกับน้าลายจนอ่อน
นิ่มแล้วอาหารก็พร้อมที่จะถูกกลืนโดยลิ้นจนดันก้อนอาหาร (Bolus) ไป
ทางด้านหลังให้ลงสู่ช่องคอซึ่งจะมีผลให้เกิดรีเฟล็กซ์ (Reflex)ตามลาดับ ดังนี้
2.1 เพดานอ่อน (Solf Palate) ถูกดันยกขึ้นไปปิดช่องจมูกเพื่อไม่ให้เกิดการ
สาลักและไม่ให้อาหารเข้าไปในช่องจมูก
2.2 เส้นเลียง (Vocal Cord) ถูกดึงให้มาชิดกันและฝาปิดกล่องเสียง
(Epiglottis) จะเคลื่อนมาทางข้างหลังปิดหลอดลมเอาไว้ป้องกันไม่ให้อาหาร
ตกเข้าสู่หลอดลม
2.3 กล่องเสียง (Larynx) ถูกยกขึ้นทาให้รูเปิดช่องคอมีขนาดใหญ่ขึ้น
2.4 กล้ามเนื้อบริเวณคอหอยหดตัวให้ก้อนอาหาร (Bolus) เคลื่อนลงไปไหล
อดอาหารได้โดยไม่พลัดตกลงไปในหลอดลมหรือเคลื่อนขึ้นไปในช่องจมูก
3. หลอดอาหาร เป็นท่อกลวงขนาดสั้นมีความยาวประมาณ 25 เซนติเมตร
ส่วนปลายของหลอดอาหารเป็นกล้ามเนื้อหูรูดซึ่งสามารถบีบตัวให้หลอด
อาหารปิดเพื่อป้องกันไม่ให้อาหารที่อยู่ในกระเพาะอาหารไหลย้อยกลับสู่
หลอดอาหารอีกทาหน้าที่เป็นทางลาเลียงอาหารไปสู่กระเพาะอาหารโดยการ
บีบรัดขอผนังกล้ามเนื้อ
4. กระเพาะอาหาร เป็นอวัยวะที่เชื่อมต่อจากหลอดอาหารอยู่บริเวณด้านบน
ซ้ายของช่องท้องถัดจากกระบังลมลงมามีความยาวประมาณ 10 นิ้ว กว้าง
5 นิ้วจึงถือว่าเป็นส่วนของทางเดินอาหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุด แบ่งออกได้เป็น
3ส่วนคือ
4.1 ส่วนบนสุดหรือส่วนใกล้หัวใจ (Cardiac Region หรือCardium) อยู่
ต่อจากหลอดอาหารมีกล้ามเนื้อหูรูด (Cardiac Sphincter)
4.2 ฟันดัส (Fundus) เป็นส่วนที่ 2 มีลักษณะเป็นกระพุ้ง
3. ไพโลรัส (Pylorus) เป็นส่วนปลายที่ติดต่อกับลาไส้เล็กเป็นส่วนที่แคบกว่า
ส่วนอื่นๆตอนปลายของกระเพาะอาหารส่วนนี้มีกล้ามเนื้อหูรูด เรียกว่า
ไพโลริดสฟิงก์เตอร์ (Pyloric Sphincter)
ป้องกันไม่ให้อาหารเคลื่อนเลยกระเพาะ
อาหารขณะย่อย มีกล้ามเนื้อหนาแข็งแรง
และยืดหยุ่นขยายขนาดบรรจุได้ถึง
1000-2000 ลูกบาศก์เซนติเมตร
5. ลาไส้เล็ก(small intestine) เป็นส่วนที่ยาวที่สุดของทางเดินอาหาร
ต่อมาจากกระเพาะอาหารมีความยาวประมาณ 7-8 เมตรผนังด้านในของ
ลาไส้เล็กมีลักษณะเป็นลอนตามขวางมีส่วนยื่นเล็กๆมากมายเป็นตุ่มเรียกว่า
วิลลัส (Villus พหูพจน์เรียกว่า Villi) เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึม
สารอาหารที่ย่อยแล้วได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โครงสร้างของลาไส้เล็ก
1. ดูโอดีนัม (Duodenum) ยาวประมาณ 30 เซนติเมตรมีรูปร่างเหมือนตัวยู
คลุมอยู่รอบๆบริเวณส่วนหัวของตับอ่อน (Pancreas) ภายในดูโอดีนัมมีต่อม
สร้างน้าย่อยและเป็นตาแหน่งที่ของเหลวจาก
ตับอ่อนและน้าดีจากตับมาเปิดเข้าจึงเป็น
ตาแหน่งที่มีการย่อยเกิดขึ้นมากที่สุด
2. จิจูนัม (Jejunum) ยาวประมาณ 2 ใน 6
ของลาไส้เล็กหรือประมาณ 3-4 เมตร
3. ไอเลียม (Ileum) เป็นลาไส้เล็กส่วนสุดท้ายปลายสุดของไอเลียมต่อกับ
ลาไส้ใหญ่บริเวณลาไส้ตอนต้น (Duodenum) จะมีน้าย่อยจากสามแหล่งมา
ผสมกับไคม์ (Chyme = อาหารที่คลุกเคล้ากับน้าย่อยและถูกย่อยไปบางส่วน
มีลักษณะคล้ายซุปข้นๆ) ได้แก่ น้าย่อยจาก
ผนังลาไส้เล็ก (Intestinal Juice)
น้าย่อยจากตับอ่อน (Pancreatic Juice)
น้าดี (Bile) จากตับ ซึ่งนามาเก็บไว้ที่ถุงน้าดี
การย่อย เอนไซม์ ผลิตภัณฑ์
คาร์โบไฮเดรต แป้ง อะไมเลส มอลโทส
มอลโทส มอลเทส กลูโคส + กลูโคส
ซูโครส ซูเครส กลูโคส + ฟรักโทส
แล็กโทส ทริปซิน กลูโคส + กาแล็กโทส
โปรตีน เปปไทด์ ทริปซิน กรดอะมิโน
ไขมัน ไขมัน-น้าดี ไลเพส กรดไขมัน + กลีเซอรอล
ตารางการย่อยอาหารในลาไส้เล็ก
6. ลาไส้ใหญ่ (large intestine ) สาไส้ใหญ่มีความยาวประมาณ 1.50
เมตรกว้างประมาณ 6 เซนติเมตร ไม่มีการย่อยแต่ทาหน้าที่เก็บกากอาหาร
และดูดซึมน้าออกจากกากอาหาร
ซีกัม (Caecum) ลาไส้ใหญ่ส่วนต้นยาวประมาณ 6.3-7.5 เซนติเมตรมี
ไส้ติ่ง (Appendix) ยื่นออกมาขนาดราวนิ้วก้อย (ยาวประมาณ 3 นิ้ว)
เหนือท้องน้อยทางด้านขวาไส้ติ่งถือว่าเป็นต่อมน้าเหลืองชนิดหนึ่งในสัตว์กิน
พืชจะมีขนาดยาวทาหน้าที่ช่วยในการย่อยอาหารในคนไม่มีประโยชน์ถ้า
อักเสบต้องรีบผ่าตัดออกโดยเร็ว
กลไกการทางานของระบบย่อยอาหาร
โคลอน (Colon) เป็นส่วนที่ยาวที่สุดแบ่งออกเป็น 3 ส่วนย่อย คือ
-โคลอนส่วนขึ้น (AscendingColon) เป็นส่วนของโคลอนที่ยื่นตรงขึ้นไปเป็น
แนวตั้งฉากทางด้านขวาของช่องท้องยาวประมาณ 20 เซนติเมตร
-โคลอนส่วนขวาง (Transverse Colon) เป็นส่วนที่วางพาดตามแนวขวาง
ของช่องท้องยาวประมาณ 50 เซนติเมตร
-โคลอนส่วนล่าง (Descending Colon)
เป็นส่วนที่วิ่งตรงลงมาเป็นแนวตั้งฉากทาง
ด้านซ้ายของช่องท้องยาวประมาณ 30 เซนติเมตร
1. อวัยวะที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร
1.1 ตับมีหน้ามี่สร้างน้าดีส่งไปเก็บที่ถุงน้าดี
1.2 ตับอ่อนมีหน้าที่สร้างเอนไซม์ส่งไปย่อยอาหารที่ลาไส้เล็ก
1.3 ลาไส้เล็กสร้างเอนไซม์มอลเทสซูเครส
และแล็คเทสย่อยอาหารที่ลาไส้เล็ก
เอนไซม์ (Enzyme) เป็นสารประกอบประเภทโปรตีนที่ร่างกายสร้างขึ้น
เพื่อทาหน้าที่เร่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในร่างกายเอนไซม์ที่ใช้ในการย่อย
สารอาหารเรียกว่า “ น้าย่อย ”เอนไซม์มีสมบัติที่สาคัญดังนี้
1. เป็นสารประเภทโปรตีนที่สร้างขึ้นจากเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
2. ช่วยเร่งปฏิกิริยาในการย่อยอาหารให้เร็วขึ้นและเมื่อเร่งปฏิกิริยาแล้วยังคง
มีสภาพเดิมสามารถใช้เร่งปฏิกิริยาโมเลกุลอื่นได้อีก
3. มีความจาเพาะต่อสารที่เกิดปฏิกิริยาชนิดหนึ่งๆ
4. เอนไซม์จะทางานได้ดีเมื่ออยู่ในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม
การทางานของเอนไซม์
1. เอนไซม์ในน้าลายทางานได้ดีในสภาวะเป็นเบสเล็กน้อยเป็นกลางหรือ
กรดเล็กน้อยจะขึ้นอยู่กับชนิดของน้าตาลและที่อุณหภูมิปกติของร่างกาย
ประมาณ 37 องศาเซลเซียส
2. เอนไซม์ในกระเพาะอาหารทางานได้ดีในสภาวะเป็นกรดและอุณหภูมิปกติ
ของร่างกาย
3. เอนไซม์ในลาไส้เล็กทางานได้ดีในสภาวะเป็นเบสและอุณหภูมิปกติร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการทางานของเอนไซม์
1. อุณหภูมิเอนไซม์แต่ละชนิดทางานได้ดีที่อุณหภูมิต่างกันแต่เอนไซม์ใน
ร่างกายทางานได้ดีที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส
2. ความเป็นกรด – เบสเอนไซม์บางชนิดทางานได้ดีเมื่อมีสภาพที่เป็นกรดเช่น
เอนไซม์เพปซินในกระเพาะอาหารเอนไซม์บางอย่างทางานได้ดีในสภาพที่เป็น
เบสเช่นเอนไซม์ในลาไส้เล็กเป็นต้น
3. ความเข้มเอนไซม์ที่มีความเข้มข้นมากจะทางานได้ดีกว่าเอนไซม์ที่มีความ
เข้มข้นน้อย
2. อวัยวะที่เป็นทางเดินอาหาร
2.1 ปาก มีการย่อยเชิงกลโดยการบดเคี้ยวของฟันและมีการย่อยทางเคมีโดย
เอนไซม์อะไมเลสหรือไทยาลีนซึ่งทางานได้ดีในสภาพที่เป็นเบสเล็กน้อย
2.2 คอหอย (pharynx) เป็นทางผ่านของอาหารซึ่งไม่มีการย่อยใดๆทั้งสิ้น
2.3 หลอดอาหาร(esophagus)มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อเรียบมีการย่อยเชิงกล
โดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อทางเดินอาหารเป็นช่วงๆเรียกว่า “ เพอริสตัสซิส
(peristalsis)” เพื่อให้อาหารเคลื่อนที่ลงสู่กระเพาะอาหาร
2.4 กระเพาะอาหาร (stomach) มีการย่อยเชิงกลโดยการบีบตัวของ
กล้ามเนื้อทางเดินอาหารและมีการย่อยทางเคมีโดยเอนไซม์เพปซิน (pepsin)
ซึ่งจะทางานได้ดีในสภาพที่เป็นกรดโดยชั้นในสุดของกระเพาะจะมีต่อมสร้าง
น้าย่อยซึ่งมีเอนไซม์เพปซินและกรดไฮโดรคลอริกเป็นส่วนประกอบเอนไซม์
เพปซินจะย่อยโปรตีนให้เป็นเพปไทด์ (peptide) ในกระเพาะอาหารนี้ยังมี
เอนไซม์อยู่อีกชนิดหนึ่งชื่อว่า“เรนนิน”ทาหน้าที่ย่อยโปรตีนในน้านมในขณะที่
ไม่มีอาหารกระเพาะอาหารจะมีขนาด 50 ลูกบาศก์เซนติเมตรแต่เมื่อมีอาหาร
จะมีการขยายได้อีก 10 – 40 เท่า
2.5 ลาไส้เล็ก (small intestine)เป็นบริเวณที่มีการย่อยและการดูดซึมมาก
ที่สุดโดยเอนไซม์ในลาไส้เล็กจะทางานได้ดีในสภาพที่เป็นเบส
2.6 ลาไส้ใหญ่ (large intestine )ที่ลาไส้ใหญ่ไม่มีการย่อยแต่ทาหน้าที่เก็บ
กากอาหารและดูดซึมน้าออกจากกากอาหารดังนั้นถ้าไม่ถ่ายอุจจาระเป็น
เวลาหลายวันติดต่อกันจะทาให้เกิดอาการท้องผูกถ้าเป็นบ่อยๆจะทาให้
เกิดโรคริดสีดวงทวาร
การเสริมสร้างประสิทธิภาพการทางานของ
ระบบทางเดินอาหาร
1. รับประทานอาหารให้ครบทุกประเภทในแต่ละมื้อและรับประทานอาหาร
แต่พอควรไม่มากหรือน้อยจนเกินไปโดยเคี้ยวอาหารให้ละเอียด
2. รับประทานอาหารที่สะอาดและปรุงสุกใหม่ๆ
3. ไม่รับประทานอาหารพร่าเพรื่อจุกจิกและทานให้ตรงเวลา
4. อย่ารีบรับประทานอาหารขณะกาลังเหนื่อย
5.ไม่ควรรับประทานอาหารที่มีรสจัดจนเกินไป
6. ถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลาและสม่าเสมอ
ความหมายของระบบหายใจ
ระบบการหายใจ คือ ระบบที่ประกอบด้วยอวัยวะเกี่ยวข้องกับการหายใจ
เป็นการนาอากาศเข้าและออกจากร่างกายส่งผลให้แก๊สออกซิเจนทาปฏิกิริยา
กับสารอาหารได้พลังงานน้าและแก๊สคาร์บอนได-
ออกไซด์กระบวนการหายใจเกิดขึ้นกับทุกเซลล์
ตลอดเวลาการหายใจจาเป็นต้องอาศัยโครงสร้าง
2 ชนิดคือกล้ามเนื้อกะบังลมและกระดูกซี่โครง
กลไกการทางานของระบบหายใจ
การหายใจ กะบังลม ซี่โครง ปริมาตรช่องอก ลักษณะ
เข้า
(Inspiration)
ต่าลง สูงขึ้น เพิ่มขึ้น
ออก
(Expiration)
สูงขึ้น ต่าลง ลดลง
อวัยวะเกี่ยวกับระบบการหายใจ
1.จมูก (Nose) จมูกเป็นทางผ่านของอากาศด่านแรกประกอบด้วยโครงสร้าง
รูปสามเหลี่ยมของกระดูกและกระดูกอ่อนผิวด้านนอกปกคลุมด้วยผิวหนัง
ส่วนผิวด้านในบุด้วยเยื่อเมือก (Mucous membrane) มีช่องเปิดของช่อง
จมูกอยู่ 2 ช่องแยกจากกันโดยผนังกั้น (Septum) ภายในเยื่อเมือกจะมีต่อม
น้ามันทาหน้าที่เป็นด่านป้องกันฝุ่นละอองไม่ให้ลงไปสู่ปอดช่องจมูกในส่วนที่
อยู่ลึกเข้าไปแบ่งออกเป็น2 ส่วน
ส่วนบน จะเป็นพื้นที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น
ส่วนล่าง จะเป็นทางผ่านของอากาศโดยมีส่วนของกระดูกเอทมอยด์
(Ethmoid) และกระดูกคอนคีส่วนล่าง (Inferior conchae) ยื่นออกมา 3 อัน
เพื่อให้อากาศผ่านเข้าไปได้มากและระหว่างกระดูกที่ยื่นออกมานี้จะมีร่องเนื้อ
แดง (Metus) ซึ่งเป็นทางผ่านของอากาศและมีอยู่ข้างละ 3 อันนอกจากทา
หน้าที่เป็นทางผ่านของอากาศไปสู่ปอดแล้วยังทาหน้าที่รับกลิ่นช่วยทาให้เสียง
ชัดเจนอากาศชุ่มชื้นและกรองฝุ่นละอองนอกจากนี้ยังมีท่อน้าตา (Naso-
lacrimal duct) มาเปิดที่หัวตาอีกด้วย
2. หลอดคอ (Pharynx) หลอดคอหรือคอหอยเป็นส่วนที่อยู่ต่อจากจมูกและ
ปากเป็นหลอดตั้งตรงยาวประมาณยาวประมาณ 5 นิ้วมีลักษณะคล้ายกรวยหลอด
คอแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
2.1 คอหอยส่วนที่อยู่ติดต่อกับจมูก (Naso-pharynx) ทางผ่านของอากาศที่ส่วนนี้
จะมีช่องไปติดต่อกับหูส่วนกลาง เรียกช่องนี้ว่าหลอดยูสเตเชียน (Eustachian’s
tube)
2.2 คอหอยส่วนที่อยู่ติดกับปาก (Oro-pharynx) เป็นทางผ่านของอาหารและ
อากาศ
2.3 คอหอยส่วนที่อยู่ติดกับกล่องเสียง (Laryngo-pharynx) เป็นทางผ่านของ
อากาศอย่างเดียว
3. หลอดเสียง (Larynx) หลอดเสียงหรือกล่องเสียง (Larynx) เป็นอวัยวะ
พิเศษเพศชายมีลูกกระเดือก (Adam’s apple) ด้านหน้าของหลอดอาหาร
ประกอบด้วยกระดูกอ่อนทั้งชนิดใสและชนิดยืดหยุ่น 9 ชิ้นด้วยกันยึดติดกัน
ด้วยเอ็นยึดข้อต่อและกล้ามเนื้อกระดูกอ่อนต่างๆ ได้แก่
1. กระดูกอ่อนไทรอยด์ (Thyroid Cartilage) เป็นกระดูกอ่อนชิ้นใหญ่ที่สุด
ประกอบด้วยกระดูกอ่อนแผ่นสี่เหลี่ยม 2 แผ่นมาประกบกันเป็นลูกกระเดือก
2.กระดูกอ่อนคริคอยด์ (Cricoid Cartilage) รูปร่างเหมือนวงแหวนริมล่างจะ
ติดต่อกับหลอดลม
3.ฝาปิดกล่องเสียง (Epiglottis) เป็นกระดูกอ่อนยืดหยุ่นมีรูปร่างคล้ายใบไม้
ยึดติดกับกระดูกอ่อนไทรอยด์เมื่อเวลากลืนอาหารลงไปฝาปิดกล่องเสียงจะ
ปิดเพื่อไม่ให้อาหารตกลงไป
4.กระดูกอ่อนอาริทีนอยด์ (Arytenoid Cartilage) อยู่ส่วนบนของกระดูก
อ่อนคริคอยด์ซึ่งจะเป็นที่ยึดปลายข้างหนึ่งของสายเสียง (Vocal cord) ส่วน
ปลายอีกข้างหนึ่งจะยึดติดกับกระดูกอ่อนไทรอยด์
4. หลอดลม (Trachea) อยู่ด้านหน้าของหลอดอาหาร ยาวประมาณ 4.5
นิ้ว ส่วนประกอบของหลอดลมประกอบด้วยกระดูกอ่อนรูปครึ่งวงกลม 16-20
ชิ้นทั้งนี้เพื่อป้องกันมิให้หลอดลมแฟบได้ง่ายและทาให้อากาศผ่านเข้าออกได้
สะดวกฝาปิดกล่องเสียงก็สามารถขยายตัวได้สะดวกในการกลืนอาหาร
ภายในจะบุด้วยเยื่อเมือกและมีขน (Cilia) ซึ่งจะขับเมือกออกมาคอยดักฝุ่น
ละอองหรือสิ่งที่หายใจปนไปกับอากาศเอาไว้หลอดลมขั้วปอด (Bronchi)
เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากหลอดลมแยกออกเป็น 2 ข้างคือซ้ายและขวาโดยข้างขวา
จะสั้นกว่ากว้างกว่าและอยู่ในแนวดิ่งมากกว่าข้างซ้าย
หลอดลมขั้วปอดนี้จะทอดเข้าสู่ปอดข้างขวาและซ้ายแตกแขนงออกเป็น
แขนงเล็กๆเป็นหลอดลมในปอด (Bronchioles) หลอดลมขั้วปอดมี
ส่วนประกอบเหมือนหลอดลมแต่มีขนาดเล็กกว่าและผนังก็จะบางลงไปเรื่อยๆ
จนถึงขนาดเล็กและไม่มีกระดูกอ่อนเหลืออยู่คงมีชั้นกล้ามเนื้อบางๆที่ปลาย
หลอดลมในปอดจะมีถุงลม (Alveoli) รวมกันอยู่เป็นพวงซึ่งเป็นที่แลกเปลี่ยน
อากาศทั้งนี้เพราะที่ผนังถุงลมจะมีหลอดเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยงมาก
5. ปอด (Lung) ปอดมีอยู่สองข้างวางอยู่ในทรวงอกมีรูปร่างคล้ายกรวยมี
ปลายหรือยอดชี้ขึ้นไปข้างบนและไปสวมพอดีกับช่องเปิดแคบๆของทรวงอก
กระดูกสันหลังฐานของปอดแต่ละข้างจะใหญ่และวางแนบสนิทกับกระบังลม
ระหว่างปอด 2 ข้างจะพบว่ามีหัวใจอยู่ปอดข้างขวาจะโตกว่าปอดข้างซ้าย
เล็กน้อยและมีอยู่ 3 ก้อนส่วนข้างซ้ายมี 2 ก้อนหน้าที่ของปอดคือการนาก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือดและนาออกซิเจนเข้าสู่เลือดปอดจึงมีรูปร่าง
ใหญ่มีลักษณะยืดหยุ่นคล้ายฟองน้า
6. เยื่อหุ้มปอด (Pleura) เป็นเยื่อที่บางและละเอียดอ่อนเปียกชื้นและเป็น
มันลื่นหุ้มผิวภายนอกของปอดเยื่อหุ้มนี้ไม่เพียงคลุมปอดเท่านั้นยังไปบุผิวหนัง
ด้านในของทรวงอกอีกหรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่าเยื่อหุ้มปอดซึ่งมี2 ชั้น
ระหว่าง 2 ชั้นนี้มีของเหลวอยู่นิดหน่อยเพื่อลดแรงเสียดสีระหว่างเยื่อหุ้มมี
โพรงว่างเรียกว่าช่องระหว่างเยื่อหุ้มปอด
กระบวนการทางานของระบบการหายใจ
การแลกเปลี่ยนแก๊สที่ถุงลม อากาศเมื่อเข้าสู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลมซึ่งมี
ลักษณะกลมคล้ายลูกองุ่นซึ่งปอดแต่ละข้างจะมีถุงลมข้างละ 150 ล้าน ถุงลม
ทุกอันมีหลอดเลือดฝอยมาห่อหุ้มไว้การแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ออกซิเจน ไนโตรเจนและไอน้าผ่านเข้าออกถุงลมโดยผ่านเยื่อบางๆของถุงลม
เลือดจากหัวใจมาสู่ปอดเป็นเลือดที่มีออกซิเจนต่า คาร์บอนไดออกไซด์สูงเมื่อมาสู่
ถุงลมจะมีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยออกซิเจนในถุงลมจะแพร่เข้าสู่เส้นเลือด
ขณะเดียวกันคาร์บอนไดออกไซด์ในเส้นเลือดจะแพร่เข้าสู่ถุงลม แล้วขับออกทาง
ลมหายใจออก
การดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบหายใจ
1. รักษาสุขภาพให้ดีโดยการรับประทานอาหารพักผ่อนและออกกาลังกาย
อย่างสม่าเสมอ
2. แต่งกายให้เหมาะสมกับสภาพอากาศเหมาะสมกับฤดูกาลเพื่อป้องกันการ
เป็นหวัด
3.หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ
4. ปิดปากและจมูกเวลาไอหรือจาม
5. ไม่ใช้สิ่งของปนกับผู้อื่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ
อาการที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
1. การจามเกิดจากสิ่งแปลกปลอมเข้าร่างกายจึงขับออกมานอกร่างกายโดย
การหายใจเข้าลึกแล้วหายใจออกทันที
2. การหาวเกิดจากการที่มีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมอยู่ในเลือด
มากเกินไปจึงต้องขับออก
3. การสะอึกเกิดจากกะบังลมหดตัวเป็นจังหวะๆขณะหดตัวอากาศจะถูกดัน
ผ่านลงสู่ปอดทันทีทาให้สายเสียงสั่นเกิดเสียงขึ้น
4. การไอเป็นการหายใจอย่างรุนแรงเพื่อป้องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอมหลุดเข้าไปใน
กล่องเสียงและหลอดลมร่างกายจะมีการหายใจเข้ายาวและหายใจออกอย่างแรง .
ระบบประสาทส่วนกลาง
(The Central Nervous System หรือ Somatic Nervous System)
เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของ
ร่างกายซึ่งทางานพร้อมกันทั้งในด้าน
กลไกและทางเคมีภายใต้อานาจจิตใจ
ซึ่งประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง
1.สมอง(Brain) แบ่งออกเป็น3 ส่วนดังนี้
1.1 เซรีบรัม (Cerebrum) คือสมองส่วนหน้าทาหน้าที่ควบคุมพฤติกรรรมที่
ซับซ้อนเกี่ยวกับความรู้สึกและอารมณ์ ความคิดความจาและความเฉลียว
ฉลาดเชื่อมโยงความรู้สึกต่างๆ เช่นการได้ยิน การมองเห็น การรับกลิ่น
การรับรส การรับสัมผัส เป็นต้น
1.2 เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) คือส่วนที่อยู่ติดกับ
ไขสันหลังควบคุมการทางานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น การหายใจ
การเต้นของหัวใจ การไอ การจาม การกะพริบตา ความดันเลือด เป็นต้น
1.3 เซรีเบลลัม (Cerebellum) คือสมองส่วนท้ายเป็นส่วนที่ควบคุมการ
เคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการทรงตัวช่วยให้เคลื่อนไหวได้อย่างแม่นยา
เช่น การเดิน การวิ่ง การขี่รถจักรยาน เป็นต้น
2. ไขสันหลัง (Spinal Cord) เป็นเนื้อเยื่อประสาทที่ทอดยาวจากสมองไป
ภายในโพรงกระดูกสันหลังกระแสประสาทจาก
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะผ่านไขสันหลังมีทั้ง
กระแสประสาทเข้าและกระแสประสาทออกจาก
สมองและกระแสประสาทที่ติดต่อกับไขสันหลัง
โดยตรง
3. เซลล์ประสาท (Neuron) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบประสาทเซลล์
ประสาทมีเยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาสซึมและนิวเคลียสเหมือนเซลล์อื่นๆแต่มี
รูปร่างลักษณะแตกต่างออกไปเซลล์ประสาทประกอบด้วยตัวเซลล์และเส้นใย
ประสาทที่มี 2 แบบคือเดนไดรต์ (Dendrite) ทาหน้าที่นากระแสประสาทเข้า
สู่ตัวเซลล์และแอกซอน (Axon) ทาหน้าที่นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์
ไปยังเซลล์ประสาทอื่นๆเซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่การทางานได้ 3 ชนิด
คือ
3.1 เซลล์ประสาทรับความรู้สึกรับความรู้สึกจากอวัยวะสัมผัสเช่นหูตาจมูก
ผิวหนังส่งกระแสประสาทผ่านเซลล์ประสาทประสานงาน
3.2 เซลล์ประสาทประสานงานเป็นตัวเชื่อมโยงกระแสประสาทระหว่างเซลล์
รับความรู้สึกกับสมองไขสันหลังและเซลล์ประสาท
สั่งการพบในสมองและไขสันหลังเท่านั้น
3.3 เซลล์ประสาทสั่งการรับคาสั่งจากสมอง
หรือไขสันหลังเพื่อควบคุมการทางานของอวัยวะ
ต่างๆ
การทางานของระบบประสาทส่วนกลาง
สิ่งเร้าหรือการกระตุ้นจัดเป็นข้อมูลหรือเส้นประสาทส่วนกลางเรียกว่า
“ กระแสประสาท ” เป็นสัญญาณไฟฟ้าที่นาไปสู่เซลล์ประสาททางด้านเดน
ไดรต์และเดินทางออกอย่างรวดเร็วทางด้านแอกซอนแอกซอนส่วนใหญ่มีแผ่น
ไขมันหุ้มไว้เป็นช่วงๆแผ่นไขมันนี้ทาหน้าที่เป็นฉนวนและทาให้กระแส
ประสาทเดินทางได้เร็วขึ้นถ้าแผ่นไขมันนี้ฉีกขาดอาจทาให้กระแสประสาทช้า
ลงทาให้สูญเสียความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อเนื่องจากการรับคาสั่งจาก
ระบบประสาทส่วนกลางได้ไม่ดี
ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System)
ทาหน้าที่รับและนาความรู้สึกเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาท
รอบนอกจาแนกตามลักษณะการทางานได้2 แบบดังนี้
1. ระบบประสาทภายใต้อานาจจิตใจเป็นระบบควบคุมการทางานของ
กล้ามเนื้อที่บังคับได้รวมทั้งการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก
2. ระบบประสาทนอกอานาจจิตใจเป็นระบบประสาทที่ทางานโดยอัตโนมัติมี
ศูนย์กลางควบคุมอยู่ในสมองและไขสันหลัง ได้แก่ การเกิดรีเฟลกซ์แอกชัน
(Reflex Action)
ระบบประสาท
ส่วนกลาง
ระบบประสาท
รอบนอก
พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
1. การตอบสนองเมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า แสงจ้ามนุษย์จะหรี่ตาเพื่อลดปริมาณแสงที่ตาได้รับ
2. การตอบสนองเมื่ออุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า อากาศร้อนจะมีเหงื่อมากเหงื่อจะช่วยระบายความ
ร้อนออกจากร่างกายเพื่อปรับอุณหภูมิภายในร่างกายไม่ให้สูงเกินไป อากาศเย็นคนเราจะ
เกิดอาการหดเกร็งกล้ามเนื้อหรือเรียกว่า “ ขนลุก ”
3. เมื่ออาหารหรือน้าเข้าไปในหลอดลมเกิดพฤติกรรมการไอหรือจามเพื่อขับออกจาก
หลอดลม
4. การเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ พฤติกรรมการตอบสนองหรือตอบโต้ทันทีเพื่อความ
ปลอดภัยจากอันตรายเช่น เมื่อฝุ่นเข้าตา เมื่อสัมผัสวัตถุร้อน เมื่อเหยียบหนาม
การกาจัดของเสียทางไต
ไต (Kidney) ทาหน้าที่กาจัดของเสียในรูปของน้าปัสสาวะ มี 1 คู่ รูปร่างคล้าย
เมล็ดถั่วดา ถ้าผ่าไตตามยาวจะพบว่าไตประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือเปลือกไต
ชั้นนอกกับเปลือกไตชั้นใน บริเวณตรงกลางของไตมีส่วนเว้าเป็นกรวยไต มีหลอด
ไตต่อไปยังกระเพาะปัสสาวะ ไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยไต (nephron) นับ
ล้านหน่วยเป็นท่อที่ขดไปมาโดยมีปลายท่อข้างหนึ่งต้น เรียกปลายท่อที่ตันนี้ว่า
“โบว์แมนส์แคปซูล (Bowman’s capsule)” ซึ่งมีลักษณะเป็นแอ่งคล้ายถ้วย
ภายในแอ่งจะมีกลุ่มเลือดฝอยพันกันเป็นกระจุกเรียกว่า “ โกลเมอรูลัส
(glomerulus)” ซึ่งทาหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือดที่ไหลผ่านไต
บริเวณท่อของหน่วยไตจะมีการดูดซึมสารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น
แร่ธาตุ น้าตาลกลูโคส กรดอะมิโนรวมทั้งน้ากลับคืนสู่หลอดเลือดฝอยและเข้า
สู่หลอดเลือดดา ส่วนของเสียอื่นๆ ที่เหลือคือ น้าปัสสาวะ จะถูกส่งมาตาม
หลอดไตเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ ซึ่งมีความจุประมาณ 500 ลูกบาศก์
เซนติเมตร แต่กระเพาะปัสสาวะสามารถที่จะหดตัวขับน้าปัสสาวะออกมาได้
เมื่อมีปัสสาวะมาคลั่งอยู่ประมาณ 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร
การกาจัดของเสียทางผิวหนัง
เหงื่อ (sweat) ประกอบด้วยน้าเป็นส่วนใหญ่ และมีสารอื่นๆ ปนอยู่ด้วย เช่น
เกลือโซเดียมคลอไรด์ ยูเรีย เป็นต้นเหงื่อจะถูกขับออกจากร่างกายทางผิวหนัง
โดยผ่านทาวต่อมเหงื่อ ซึ่งมีอยู่ทั่วร่างกายใต้ผิวหนังต่อมเหงื่อของคนเราแบ่ง
ได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. ต่อมเหงื่อขนาดเล็ก มีอยู่ที่ผิวหนังทั่วทุกแห่งของร่างกาย ยกเว้นที่ริม
ฝีปากและที่อวัยวะสืบพันธุ์บางส่วน
2. ต่อมเหงื่อขนาดใหญ่ พบได้เฉพาะบางแห่ง ได้แก่ รักแร้ รอบหัวนม รอบ
สะดือ อวัยวะสืบพันธุ์บางส่วน
ผิวหนังนอกจากจะทาหน้าที่กาจัดของเสียในรูปของเหงื่อแล้วยังทาหน้าที่
ช่วยระบายความร้อนออกจากร่างกายด้วยโดยความร้อน ที่ขับออกจาก
ร่างกายทางผิวหนังมีประมาณร้อยละ 87.5 ของความร้อนทั้งหมด
การกาจัดของเสียทางลาไส้ใหญ่
หลังจากการย่อยอาหารเสร็จสิ้นลง อาหารส่วนที่เหลือและส่วนที่ร่างกาย
ไม่สามารถย่อยได้จะถูกกาจัดออกจากร่างกายทางไส้ใหญ่( ทวารหนัก ) ในรูป
รวมที่เรียกว่า “ อุจจาระ ” ถ้าอุจจาระตกค้างอยู่ในลาไส้ใหญ่หลายวัน ผนัง
ลาไส้ใหญ่จะดูดน้ากลับเข้าไปในเส้นเลือด ทาให้อุจจาระแข็งเกิดความยากใน
การขับถ่าย เรียกว่า “ท้องผูก”
การกาจัดของเสียทางปอด
1. น้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นแพร่ออก
จากเซลล์เข้าสู่หลอดเลือดโดยจะละลายปนอยู่ในเลือด
2. เลือดที่มีของเสียละลายปนอยู่จะถูกลาเลียงส่งไปยัง
ปอดโดยการลาเลียงผ่านหัวใจเพื่อส่งต่อไปแลก เปลี่ยนแก๊สที่ปอด
3. เลือดที่มีของเสียละลายปนอยู่เมื่อไปถึงปอดของเสียต่างๆที่สะสมอยู่ใน
เลือดจะแพร่ผ่านผนังของ หลอดเลือดเข้าสู่ถุงลมของปอดแล้วลาเลียงไปตาม
หลอดลม เพื่อกาจัดออกจากร่างกาย ทางจมูกพร้อมกับลมหายใจออก
ระบบโครงกระดูก
ประกอบด้วยโครงกระดูกมากกว่า 200 ชิ้น โครงกระดูกมีหน้าที่สาคัญ ดังนี้
1. ค้าจุนละรักษารูปร่างให้ทรงตัวอยู่ได้
2. ป้องกันอวัยวะภายในร่างกายเช่นกระดูกซี่โครงป้องกันหัวใจปอดและตับ
กะโหลกศีรษะป้องกันเนื้อเยื่อสมองเป็นต้น
3. เป็นที่ยึดเกาะของเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อเยื่อช่วยในการเคลื่อนที่
4. สร้างเม็ดเลือดไขกระดูกที่อยู่ภายในกระดูกจะทาหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง
และเม็ดเลือดขาว
5. เป็นแหล่งสะสมสาคัญของธาตุแคลเซียมละฟอสฟอรัส
1.กระดูกแกน (Axial Skeleton) หมายถึงกระดูกที่อยู่บริเวณกลางๆของร่างกาย
1.1 กระดูกกะโหลกศีรษะ (Skull) ภายในกะโหลกศีรษะเป็นโพรงสาหรับบรรจุ
สมองจะมีกระดูกกะโหลกศีรษะและกระดูกย่อยหลายๆชิ้นเชื่อมติดกันกระดูก
กะโหลกศีรษะจึงทาหน้าที่ห่อหุ้มและป้องกันสมองด้วย
1.2 กระดูกสันหลัง (Vertebra) เป็นส่วนของกระดูกแกนที่ช่วยค้าจุนและรองรับ
น้าหนักของร่างกายข้อๆติดกันด้วยกล้ามเนื้อและเอ็นระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละ
ข้อจะมีแผ่นกระดูกอ่อนหรือที่เรียกทั่วไปว่า “ หมอนรองกระดูก (Intervertebral
disc)” ทาหน้าที่รองและเชื่อมกระดูกสันหลังแต่ละข้อเพื่อป้องกันการเสียดสี
1.3 กระดูกซี่โครง (Ribe) มีลักษณะเป็นซี่ๆมีทั้งหมด12 คู่หรือ 24 ชิ้นทา
หน้าที่เป็นกาแพงให้ส่วนอกกระดูกซี่โครงจะเชื่อมกบกระดูกอก (Sternum)
ด้วยกระดูกอ่อนระหว่างกระดูกซี่โครงมีกล้ามเนื้อยึดซี่โครงทั้งแถบนอกและ
แถบในการหดตัวและการคลายตัวของกล้ามเนื้อ 2 ชุดนี้สลับกัน
2. กระดูกรยางค์ (Appendicular Skeleton) หมายถึง โครงกระดูกที่อยู่
รอบนอกกระดูกแกนซึ่งช่วยในการเคลื่อนไหวของแขนขาโดยตรงรวมทั้ง
กระดูกสะบักและกระดูกเชิงกรานที่เป็นฐานรองกระดูกแขนและกระดูกขา
ข้อต่อและเอ็นเชื่อมกระดูก ข้อต่อเกิดจากกระดูกตั้งแต่2 ชิ้นขึ้นไปที่อยู่
ใกล้กันมาเชื่อมต่อกันโดยมีเอ็นละกล้ามเนื้อช่วยยึดเสริมความแข็งแรงทาให้มี
ความยืดหยุ่นในการเคลื่อนไหวได้สะดวกขึ้น
ระบบกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ (Muscle) เป็นเนื้อเยื่อยืดหยุ่นพิเศษพบได้ทุกส่วนของร่างกาย
กล้ามเนื้อบางชนิดอยู่ใต้อานาจจิตใจสามารถบังคับได้อีกกลุ่มหนึ่งเป็น
กล้ามเนื้อนอกอานาจจิตใจหรือกล้ามเนื้อที่ไม่สามารถบังคับได้กล้ามเนื้อใน
ร่างกายแบ่งเป็น3 ชนิดดังนี้
1. กล้ามเนื้อลาย (Skeletal Muscle) เป็นกล้ามเนื้อเดียวที่ยึดติดกับกระดูก
บางครั้งจึงเรียกว่า “ กล้ามเนื้อกระดูก ” แถบลายขาวดาสลับกัน ในหนึ่งเซลล์จะมี
หลายนิวเคลียสเช่น กล้ามเนื้อแขนกล้ามเนื้อขากล้ามเนื้อลาตัวเป็นต้น
2. กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่มีลักษณะเรียบไม่มี
ลายเซลล์มีลักษณะแบนยาวปลายแหลมเรียว รูปร่างคล้ายกระสวยภายในมี
นิวเคลียสอันเดียวหดตัวได้ใช้พลังงานน้อยควบคุมการทางานโดยระบบ
ประสาทอัตโนมัติ เช่น ผนังลาไส้ ปอด ผนังกระเพาะอาหาร เป็นต้น
3. กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle) เป็นเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจโยเฉพาะ
เซลล์จะมีลายพาดขวางมีนิวเคลียสหลายอัน เหมือนกล้ามเนื้อลายควบคุม
การทางานของระบบประสาทอัตโนมัติเช่นเดียวกับกล้ามเนื้อเรียบ
การทางานของกระดูกและกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อคือส่วนที่เป็นเนื้อของเรากล้ามเนื้อแต่ละมัดประกอบด้วยใย
กล้ามเนื้อจานวนมากรวมกันเป็นมัดที่ปลายมัดคือเอ็นทาหน้าที่เชื่อม
กล้ามเนื้อเข้ากับกระดูกเมื่อกล้ามเนื้อหดตัวใยกล้ามเนื้อแต่ละเส้นจะสั้นลง
กล้ามเนื้อทั้งมัดจะหดตัวลงดึงเอ็นซึ่งจะดึงกระดูกเข้ามาใกล้กันมากขึ้นเช่นการ
เคลื่อนไหวของนักกีฬากล้ามเนื้อด้านหลังและด้านหน้าต้นขาหัวเข่างอและเหยียด
ตามลาดับขณะที่กล้ามเนื้อน่องและหน้าแข้งจะงอและเหยียดข้อเท้าตามลาดับ
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย (Male Reproductive System)
1. อัณฑะ (Testis) เป็นต่อมรูปไข่ มี 2 อัน ทาหน้าที่สร้างตัวอสุจิและสร้าง
ฮอร์โมนเพศชายเพื่อควบคุมลักษณะต่างๆ ภายในอัณฑะจะประกอบด้วย หลอด
สร้างตัวอสุจิ (Seminiferous Tubule) มีลักษณะเป็นหลอดเล็กๆ ขดไปขดมาอยู่
ภายใน ทาหน้าที่สร้างตัวอสุจิ หลอดสร้างตัวอสุจิมีข้างละประมาณ 800 หลอด แต่
ละหลอดมีขนาดเท่าเส้นด้ายขนาดหยาบ และยาวทั้งหมดประมาณ 800 เมตร
2. ถุงหุ้มอัณฑะ (Scrotum) ทาหน้าที่ห่อหุ้มลูกอัณฑะควบคุมอุณหภูมิให้
พอเหมาะในการสร้าง ตัวอสุจิ ซึ่งตัวอสุจิจะเจริญได้ดีในอุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิ
ปกติของร่างกายประมาณ 3-5 องศาเซลเซียส
3. หลอดเก็บตัวอสุจิ (Epididymis) อยู่ด้านบนของอัณฑะมีลักษณะเป็นท่
เล็กๆยาวประมาณ 6 เมตรขดทบไปมาทาหน้าที่เก็บตัวอสุจิจนตัวอสุจิเติบโต
และแข็งแรงพร้อมที่จะปฏิสนธิ
4. หลอดนาตัวอสุจิ (Vas Deferens) อยู่ต่อจากหลอดเก็บตัวอสุจิทาหน้าที่
ลาเลียงตัวอสุจิไปเก็บไว้ที่ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ
5. ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (Seminal Vesicle) ทาหน้าที่สร้างอาหารเพื่อใช้
เลี้ยงตัวอสุจิเช่นน้าตาลฟรักโทสวิตามินซีโปรตีนโกลบูลินเป็นต้นและสร้าง
ของเหลวมาผสมกับตัวอสุจิเพื่อให้เกิดสภาพที่เหมาะสมสาหรับตัวอสุจิ
6. ต่อมลูกหมาก (Prostate Gland) อยู่ตอนต้นของท่อปัสสาวะทาหน้าที่
หลั่งสารที่มีฤทธิ์เป็นเบสอ่อนๆเข้าไปในท่อปัสสาวะเพื่อทาลายฤทธิ์กรดในท่อ
ปัสสาวะทาให้เกิดสภาพที่เหมาะสมกับตัวอสุจิ
7. ต่อมคาวเปอร์ (Cowper Gland) อยู่ใต้ต่อมลูกหมากลงไปเป็นกระเปาะ
เล็กๆทาหน้าที่หลั่งสารไปหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะที่เกิดการกระตุ้นทาง
เพศ
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (Female Reproductive System)
1. รังไข่ (Ovary) มีรูปร่างคล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ยาวประมาณ 2-36
เซนติเมตรหนา 1 เซนติเมตรมีน้าหนักประมาณ2-3 กรัมและมี 2 อันอยู่
บริเวณปีกมดลูกแต่ละข้างทาหน้าที่ดังนี้
1.1 ผลิตไข่ (Ovum) ซึ่งเป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงโดยปกติไข่จะสุกเดือนละ 1
ใบจากรังไข่แต่ละข้างสลับกันทุกเดือนและออกจากรังไข่ทุกรอบเดือนเรียกว่าการ
ตกไข่ตลอดช่วงชีวิตของเพศหญิงปกติจะมีการผลิตไข่ประมาณ 400 ใบคือตั้งแต่
อายุ 12 -50 ปีจึงหยุดผลิตเซลล์ไข่จะมีอายุอยู่ได้นานประมาณ 24 ชั่วโมง
1.2 สร้างฮอร์โมนเพศหญิงซึ่งมีอยู่หลายชนิดที่สาคัญได้แก่
•อีสโทรเจน (Estrogen) เป็นฮอร์โมนที่ทาหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับมดลูกช่อง
คลอดต่อมน้านมและควบคุมการเกิดลักษณะต่างๆของเพศหญิงเช่นเสียง
แหลมเล็กตะโพกผายหน้าอกและอวัยวะเพศขยายใหญ่ขึ้นเป็นต้น
•โพรเจสเทอโรน (Progesterone)เป็นฮอร์โมนที่ทางานร่วมกับอีสโทรเจน
ในการควบคุมเกี่ยวกับการเจิญของมดลูกการเปลี่ยนแปลงเยื่อบุมดลูกเพื่อ
เตรียมรับไข่ที่ผสมแล้ว
2. ท่อนาไข่ (Oviduct) หรือปีกมดลูก (Fallopian Tube) ทางเชื่อมต่อระหว่าง
รังไข่กับมดลูกภายในกลวงทาหน้าที่เป็นทางผ่านของไข่ที่ออกจากรังไข่เข้าสู่มดลูก
โดยมีปลายข้างหนึ่งเปิดอยู่ใกล้กับรังไข่เรียกว่าปากแตร (Funnel) ทาหน้าที่พัด
โบกไข่ที่ตกมาจากรังไข่ให้เข้าไปในท่อนาไข่ท่อนาไข่เป็นบริเวณที่อสุจิจะเข้า
ปฏิสนธิกับไข่
3. มดลูก (Uterus) มีรูปร่างคล้ายผลชมพูหรือรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยมหัวกลับลง
อยู่ในบริเวณอุ้งกระดูกเชิงกรานระหว่างกระเพาะปัสสาวะกับทวารหนักภายในเป็น
โพรงทาหน้าที่เป็นที่ฝังตัวของไข่ที่ได้รับการผสมแล้วและเป็นที่เจริญเติบโตของ
ทารกในครรภ์
4. ช่องคลอด (Vagina) อยู่ต่อจากมดลูกลงมาทาหน้าที่เป็นทางผ่านของตัว
อสุจิเข้าสู่มดลูกเป็นทางออกของทารกเมื่อครบกาหนดคลอดและยังเป็นช่อง
ให้ประจาเดือนออกมาด้วย
หัวใจ (Heart )
หัวใจ (Heart) เป็นอวัยวะที่รับผิดชอบหน้าที่สูบฉีดเลือดให้ไหลเวียนไป
ยังอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกายอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง หัวใจของมนุษย์จะอยู่
บริเวณช่องอกค่อนไปทางซ้าย แบ่งออกเป็น 4 ห้อง
ได้แก่ด้านบน 2 ห้องและด้านล่างอีก 2 ห้องทาหน้าที่
สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยทาให้
เกิดความดันเลือดในหลอดเลือดแดง เพื่อให้เลือด
เคลื่อนที่ไปยังอวัยวะส่วน ต่างๆ ของร่างกายได้ทั่วถึง
หัวใจห้องบนขวา ทาหน้าที่รับเลือดจากหลอดเลือดดาที่ส่งเลือดมาจา
ร่างกายช่วงบนและช่วงล่าง
หัวใจห้องล่างขวา ตาแหน่งของหัวใจห้องนี้จะอยู่ด้านหน้าสุดของหัวใจ
หน้าที่รับเลือดต่อจากหัวใจ ห้องบนขวา และส่งเลือดไปยังปอดผ่านลิ้นหัวใจ
และหลอดเลือดแดง
หัวใจห้องบนซ้าย ตาแหน่งของห้องหัวใจบนซ้าย จะอยู่ด้านหลังสุด และเป็น
ห้องหัวใจที่มีขนาดเล็ก ที่สุดด้วย เมื่อเทียบกับห้องหัวใจอื่น ๆ หัวใจห้องบน
ซ้ายจะคอยรับเลือดที่มีออกซิเจนจากปอด ซึ่งส่งมาทางทางหลอดเลือดแดง
หัวใจห้องล่างซ้าย ห้องหัวใจที่มีผนังหัวใจหนาที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดด้วย
ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดที่มี ออกซิเจนซึ่งได้รับ
มาจากหัวใจห้องบนซ้ายไปยังส่วนต่าง ๆ
ของร่างกาย
2. หลอดเลือด
หลอดเลือดแดง ( Artery ) หมายถึง หลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจ ซึ่งจะ
เป็นเลือดที่ มีปริมาณออกซิเจนสูงเป็นเลือดที่มีสีแดงสด ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆทั่ว
ร่างกาย ( ยกเว้นหลอดเลือดที่ ไปสู่ปอดชื่อ pulmonary artery ซึ่งจะนาเลือดดา
จากหัวใจที่มีคาร์บอนไดออกไซด์สูงไปฟอกที่ปอด )
ลักษณะของหลอดเลือดแดง มีผนังหนา โดยจะมีลักษณะเป็นชั้นกล้ามเนื้อที่หนา
และยืดหยุ่น ประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือเนื้อเยื่อด้านในสุดเป็นเนื้อเยื่อบุผิว
ชั้นกลางเป็นเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อที่สามารถยืดหยุ่นได้ เนื้อเยื่อชั้นนอกเป็นเนื้อเยื่อ
เกี่ยวพันที่ยืดหยุ่นได้
หลอดเลือดแดงมี 3 ขนาด เรียงจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก คือ
-เอออร์ตา ( aorta ) หลอดเลือดแดงขนาดใหญ่สุด ทาหน้าที่ลาเลียงเลือด
แดงที่ถูกสูบฉีด ออกจากหัวใจห้องล่างซ้ายโค้งไปทางด้านหลัง ทอดผ่านช่อง
อกและช่องท้อง ขนาดใหญ่สุด มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว
-อาร์เทอรี ( artery ) หลอดเลือดแดง ทาหน้าที่นาเลือดไปเลี้ยวส่วนต่างๆ
ของร่างกาย หลอดเลือดมีผนังกล้ามเนื้อหนาเพื่อให้ทนต่อแรงดันเลือด
-อาร์เทอริโอล ( arteriole ) หลอดเลือดแดงเล็ก ซึ่งสามารถจะขยายตัวหรือ
หดตัวได้ เพื่อบังคับการไหลของเลือด
หลอดเลือดดา ( Vein ) หมายถึง หลอดเลือดที่นาเลือดที่มีของเสีย และ
คาร์บอนไดออกไซด์ ( เลือดดา ) ที่ร่างกายใช้แล้วจากส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา ( Right atrium ) เพื่อนากลับไปฟอกที่
ปอด ( ยกเว้นหลอดเลือดดาปอดที่ชื่อ pulmonary vein ซึ่งจะนาเลือดแดง
ที่ผ่านการฟอกจากปอดแล้วนากลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย )
ภายในหลอดเลือดดาจะมีความดันต่า ถ้าหลอดเลือดดาฉีกขาด เลือดที่
ไหลออกมาจะไหลรินๆคงที่ และสม่าเสมอ ห้ามเลือดหยุดได้ง่ายกว่า หลอด
เลือดแดงฉีกขาด
ลักษณะของเส้นเลือดดา
-มีผนังบาง ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น เช่นเดียวกับ
หลอดเลือดแดงแต่บางกว่า
-ผนังมีความยืดหยุ่นได้น้อย เพราะมีเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ
และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันน้อย
-มีลิ้นกั้นไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ
หลอดเลือดฝอย ( Capillary ) หมายถึง หลอดเลือดที่เชื่อมต่อระหว่าง
หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ไปยังหลอดเลือดดาขนาดเล็ก โดยจะแทรกอยู่ใน
เนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เช่น ผิวหนัง กล้ามเนื้อ สมอง และอวัยวะอื่นๆ
ยกเว้นเส้นผม และเล็บจะไม่มีหลอดเลือดฝอย
ลักษณะของเส้นเลือดฝอย
-หลอดเลือดฝอยเป็นหลอดเลือดที่มีขนาดเล็กที่สุดในร่างกายมีทั้งเส้นเลือด
แดงฝอย และเส้นเลือดดาฝอย
-มีเนื้อเยื่อบางมาก มีจานวนมากเพราะเป็นส่วนที่ต้องแยกไปสู่ส่วนต่างๆของ
ร่างกาย มีผนังบาง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 ไมโครเมตร
-ประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียว มีหน้าที่เป็นแหล่งที่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
และสารต่างๆระหว่างเลือดกับเซลล์ของร่างกายโดยวิธีการแพร่
3. ความดันเลือด (Blood pressure)
ความดันเลือด ( blood pressure) หมายถึง ความดันในหลอด
เลือดแดงเป็นส่วนใหญ่เกิดจาก บีบตัวของหัวใจที่ดันเลือดให้ไหลไปตามหลอด
เลือดความดันของหลอดเลือดแดงที่อยู่ใกล้หัวใจจะมี ความดันสูงกว่าหลอด
เลือดแดงที่อยู่ไกลหัวใจ ส่วนในหลอดเลือดดาจะมีความดันต่ากว่าหลอดเลือด
แดงเสมอความดันเลือดมีหน่วยวัดเป็นมิลลิเมตรปรอท (mmHg) เป็นตัวเลข
2 ค่าคือ
ค่าความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัว และค่าความดันเลือดขณะหัวใจคลาย
ตัว เช่น 120/80 มิลลิเมตรปรอท
ค่าตัวเลข 120 แสดงค่าความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัวให้เลือดออกจาก
หัวใจ เรียกว่า ความดันระยะหัวใจบีบตัว (Systolic Pressure)
ส่วนตัวเลข 80 แสดงความดันเลือดขณะหัวใจคลายตัว เพื่อรับเลือดเข้าสู่
หัวใจ เรียกว่า ความดันระยะหัวใจคลายตัว (Diastolic Pressure)
4. เลือด (Blood)
เลือด (Blood) ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นของเหลว 55 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเรียกว่า น้าเลือดหรือพลาสมา
(plasma)
2. ส่วนที่เป็นของแข็งมี 45 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งได้แก่ เซลล์เม็ดเลือดและเกล็ด
เลือด
1. น้าเลือดหรือพลาสมา ประกอบด้วยน้าประมาณ 91 เปอร์เซ็นต์ ทา
หน้าที่ลาเลียงเอนไซม์ ฮอร์โมน แก๊ส แร่ธาตุ วิตามิน และสารอาหารประเภท
ต่างๆที่ผ่านการย่อยอาหารมาแล้วไปให้เซลล์และรับของเสียจากเซลล์ เช่น
ยูเรีย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า ส่งไปกาจัดออกนอกร่างกาย
2. เซลล์เม็ดเลือด และเกล็ดเลือด
เซลล์เม็ดเลือด(red blood cell) มีลักษณะค่อนข้างกลมตรงกลางจะเว้าเข้า
หากันเนื่องจากไม่มีนิวเคลียส องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประเภทโปรตีนที่
เรียกว่า “ ฮีโมโกลบิน ” ซึ่งมีสมบัติในการรวมตัวกับแก๊สต่างๆ ได้ดี เช่น แก๊ส
ออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หน้าที่ แลกเปลี่ยนแก๊ส โดยจะลาเลียงแก๊ส
ออกซิเจน ไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย และลาเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จาก
ส่วนต่างๆ ของร่างกายกลับไปที่ปอด
แหล่งสร้างเม็ดเลือดแดง คือ ไขกระดูก อายุประมาณ 110-120 วัน
แหล่งทาลายเม็ดเลือดแดง คือ ตับและม้าม
เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell) มีลักษณะค่อนข้างกลม ไม่มีสีและ
มีนิวเคลียส เม็ดเลือดขาวในร่างกายมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด หน้าที่ ทาลายเชื้อ
โรคหรือสารแปลกปลอมที่เข้ามาสู่ร่างกาย
แหล่งสร้างเม็ดเลือดขาว คือ ม้าม ไขกระดูก และต่อมน้าเหลือง มีอายุ
ประมาณ 7-14 วัน
2.2 เกล็ดเลือดหรือแผ่นเลือด (blood platelet)
ไม่ใช่เซลล์แต่เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ซึ่ง มีรูปร่างกลมรีและแบนเกล็ดเลือดมี
อายุประมาณ 4 วัน หน้าที่ ช่วยให้เลือดแข็งตัวเมื่อมีการไหล ของเลือดจาก
หลอดเลือดออกสู่ภายนอก
การเสริมสร้างประสิทธิภาพการทางาน
ของหัวใจและระบบไหลเวียนโลหิต
1. ควบคุมน้าหนักตัว คือ รับประทานอาหารประเภทต่าง ๆ ตามสัดส่วนที่
พอเหมาะ ถูกหลักโภชนาการ
2. ออกกาลังกาย อย่างน้อยวันละ 30 นาที
3. ละเว้นจากความเครียดและวิตกกังวล
4. งดสูบบุหรี่
5. งดดื่มสุราและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์
คลิปวีดีโอ
คลิปวีดีโอ
คลิปวีดีโอ
คลิปวีดีโอ
คลิปวีดีโอ
คลิปวีดีโอ
คลิปวีดีโอ
คลิปวีดีโอ
บรรณานุกรม
• คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มปป. “ระบบกาจัดของเสีย”.
[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มาhttp://www.med.cmu.ac.th/dept/
vascular/human/lesson/lesson4.php (1 กุมภาพันธ์ 2559).
• นางสาวอุทุมพรแสนสี. มปป. “ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ม.5”.
[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.sopon.ac.th/sopon
/sema_web/secondary5/health_educ/lesson1r
espiratory/3The%20Human%20Body__respiratory2.htm
(1 กุมภาพันธ์ 2559).
• นายธนัตชัยกุลวงศ์และคณะ. มปป. “อวัยวะการหายใจ”. [ระบบออนไลน์].
แหล่งที่มา http://respiratorysystem609.weebly.com
(1 กุมภาพันธ์ 2559).
• นายสราวุธสุธีรวงศ์. 2557. “ระบบหมุนเวียนโลหิต”.[ระบบออนไลน์].
แหล่งที่มา http://www.krusarawut.net/wp/?p=1370
(1 กุมภาพันธ์ 2559).
• พรหมพชรเกตดี (Mr.PK).2553. “การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์”.
[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.gotoknow.org/posts/
307136 (6 มกราคม 2559).
บรรณานุกรม
สมาชิก
1. นางสาวนภาดล สิทธิจินดา เลขที่ 20
2. นางสาวฐิติชญา เพี้ยงจันทร์ เลขที่ 24
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/8

More Related Content

What's hot

10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกแผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกEnormity_tung
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์subhapit
 

What's hot (20)

10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็ม
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติกแผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
แผ่นพับ เรื่อง เครื่องดักจับแมลงจากขวดพลาสติก
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
Lesson02
Lesson02Lesson02
Lesson02
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 

Viewers also liked

บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thitichaya24
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thitichaya24
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมPinutchaya Nakchumroon
 
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2Mayuree Paitoon
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
 

Similar to ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์

ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์kanitnun
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมTa Lattapol
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6issarayuth
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2Y'tt Khnkt
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
Didestive system
Didestive systemDidestive system
Didestive systemSiri Tan
 

Similar to ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ (20)

ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ 2
 
ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
Didestive system
Didestive systemDidestive system
Didestive system
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 

ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์