SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ
 ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ
 อุปสรรคทางการค้า
เนื้อหาในวันนี้
 ลัทธิการค้านิยม Mercantilism
 ทฤษฎีการได้เปรียบสมบูรณ์ Absolute Advantage
 ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ Comparative Advantage
 ทฤษฎีเฮกเชอร์-ออแลง Heckscher-Ohlin Theory
 ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ The Product Life-Cycle Theory
 ทฤษฎีความได้เปรียบในการแข่งขันระหว่างประเทศ
National Competitive Advantage
ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ
 Thomas Mun
 เป็นทฤษฎีแรกที่เกี่ยวข้องกับการค้าระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 16
 เกิดจากแนวคิดที่ว่า การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ รัฐควร
ส่งเสริมพัฒนาการทางธุรกิจและการค้าระหว่างประเทศ
 เงินและทองเป็นโลหะมีมูลค่า ดังนั้นการค้าระหว่างประเทศที่ส่งออก
มากกว่านาเข้าทาให้เกิดการเกินดุลการค้า ประเทศได้เงินและทองมา
เป็นทุนสารองของประเทศ
 การดาเนินธุรกิจระหว่างประเทศเน้นกลยุทธ์การได้เปรียบทางการค้า
 เพื่อให้เกิดการเกินดุลการค้า มีการตั้งกาแพงภาษี สนับสนุนการ
ส่งออก การแสวงหาอาณานิคมเพื่อความมั่งคั่งของประเทศ
ลัทธิการค้านิยม Mercantilism
 ประเทศจะได้รับประโยชน์เมื่อเกินดุลการค้า (ส่งออก มากกว่า นาเข้า)
 เน้นนโยบายส่งออกไปต่างประเทศให้มากที่สุด และนาเข้าให้น้อยที่สุด
 เมื่อเกินดุล  ทองคามากขึ้น  ประเทศมั่นคง  เพิ่มอานาจทาง
ทหาร  ล่าอาณานิคม
ลัทธิการค้านิยม Mercantilism
 Adam Smith
 พิจารณาข้อด้อยของลัทธิการค้านิยมได้แก่ การที่แต่ละประเทศมี
ความชานาญไม่เหมือนกันในการผลิตสินค้าและบริการเฉพาะอย่าง
ดังนั้นการผลิตสินค้าทุกชนิดเพื่อส่งออกจึงไม่เหมาะสม
 ประเทศที่ไม่ชานาญในการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งแต่ทาการผลิตสินค้า
ชนิดนั้น ทาให้ต้นทุนการผลิตสูง
 ควรให้แต่ละประเทศผลิตสินค้าที่ตนชานาญและแลกเปลี่ยนกัน
เพื่อต้นทุนที่ต่ากว่า ทาให้แต่ละประเทศรู้ว่าควรผลิตอะไร ไม่ควร
ผลิตอะไร
ทฤษฏีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ Absolute Advantage
ปัจจัยการผลิต (หน่วย)
มาเลเซีย 800
ไทย 800
ทฤษฏีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ Absolute Advantage
จานวนทรัพยากร (หน่วย) ที่ต้องใช้ในการผลิต
น้ามันปาล์มข้าวสารต่อ 1 ตัน
น้ามันปาล์ม ข้าวสาร
มาเลเซีย 20 40
ไทย 80 20
ทฤษฏีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ Absolute Advantage
กรณีที่แต่ประเทศใช้ทรัพยากรผลิตสินค้าที่ตนมีความ
ชานาญและได้เปรียบ
น้ามันปาล์ม ข้าวสาร
มาเลเซีย 800/20 = 40 0
ไทย 0 800/20 = 40
ผลผลิตรวม 40 40
ผลผลิตที่เกิดจากปริมาณทรัพยากรดังกล่าว
ของแต่ละประเทศ (ตัน)
น้ามันปาล์ม ข้าวสาร
มาเลเซีย 400/20 = 20 400/40 = 10
ไทย 400/80 = 5 400/20 = 20
ผลผลิตรวม 20 + 5 = 25 10 + 20 = 30
ทฤษฏีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ Absolute Advantage
ส่วนเพิ่มที่เกิดจากการค้าระหว่างประเทศ
เมื่อเทียบกับการผลิตเองทั้งหมด
น้ามันปาล์ม ข้าวสาร
มาเลเซีย 28 - 20 = 8 12 - 10 = 2
ไทย 12 - 5 = 7 28 - 20 = 8
เมื่อไทยกับมาเลเซียมีการค้าระหว่างประเทศ
โดยไทยซื้อน้ามันปาล์ม 12 ตัน มาเลเซียซื้อข้าว 12 ตัน
น้ามันปาล์ม ข้าวสาร
มาเลเซีย 40 - 12 = 28 12
ไทย 12 40 - 12 = 28
 แต่ละประเทศสามารถนาไปใช้วางแผนการผลิต โดยเฉพาะในการกาหนด
นโยบายระยะยาว
 ประเทศที่มีการวางแผนทางเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบ จึงไม่ควรผลิตสินค้า
บางชนิดที่ประเทศอื่นมีต้นทุนการผลิตต่ากว่า
 ผู้บริหารประเทศสามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อกาหนดนโยบายในการ
ส่งเสริมธุรกิจที่เหมาะสมกับความสามารถของประเทศ
 สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในระดับองค์กรได้อีกด้วย
ทฤษฏีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ Absolute Advantage
 David Ricardo
 ให้ความสาคัญที่ผลผลิต โดยมีรากฐานมาจากแรงงาน
 เสนอแนวคิดที่ว่า ประเทศที่มีความได้เปรียบในการผลิตสินค้าชนิดใดควร
ทาการผลิตสินค้านั้น
 สั่งสินค้าที่ตนไม่มีความชานาญและต้องใช้ต้นทุนการผลิตสูงจากประเทศที่มี
ความชานาญและสามารถผลิตได้ในต้นทุนต่ากว่า
 ทาให้เกิดผลรวมของทั้งสองประเทศสูงกว่าที่แต่ละประเทศจะผลิตสินค้าทุก
ชนิด
 หากประเทศใดได้เปรียบในการผลิตสินค้าหลายชนิด ความสามารถในการ
ผลิตสินค้าชนิดใดได้เปรียบสูงกว่า ก็ควรใช้ทรัพยากรผลิตสินค้าชนิดที่ให้
ผลผลิตสูงกว่า
ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ ComparativeAdvantage
ปัจจัยการผลิต (หน่วย)
มาเลเซีย 800
ไทย 800
ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ ComparativeAdvantage
จานวนทรัพยากร (หน่วย) ที่ต้องใช้ในการผลิต
น้ามันปาล์มข้าวสารต่อ 1 ตัน
น้ามันปาล์ม ข้าวสาร
มาเลเซีย 20 25
ไทย 80 40
มาเลเซีย : ไทย 1 : 4 1 : 1.6
ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ ComparativeAdvantage
กรณีที่แต่ประเทศใช้ทรัพยากรผลิตสินค้าที่ตนมีความ
ชานาญและได้เปรียบ
น้ามันปาล์ม ข้าวสาร
มาเลเซีย (600 หน่วย) 600/20 = 30 200/25 = 8
ไทย (800 หน่วย) 0 800/40 = 20
ผลผลิตรวม 30 28
ผลผลิตที่เกิดจากปริมาณทรัพยากรดังกล่าว
ของแต่ละประเทศ (ตัน)
น้ามันปาล์ม ข้าวสาร
มาเลเซีย 400/20 = 20 400/25 = 16
ไทย 400/80 = 5 400/40 = 10
ผลผลิตรวม 20 + 5 = 25 16 + 10 = 26
ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ ComparativeAdvantage
ส่วนเพิ่มที่เกิดจากการค้าระหว่างประเทศ
เมื่อเทียบกับการผลิตเองทั้งหมด
น้ามันปาล์ม ข้าวสาร
มาเลเซีย 21 - 20 = 1 17 - 16 = 1
ไทย 9 - 5 = 4 11 - 10 = 1
เมื่อไทยกับมาเลเซียมีการค้าระหว่างประเทศ โดยไทยซื้อ
น้ามันปาล์ม 9 ตัน มาเลเซียซื้อข้าว 9 ตัน
น้ามันปาล์ม ข้าวสาร
มาเลเซีย 30 - 9 = 21 8 + 9 = 17
ไทย 0 + 9 = 9 20 - 9 = 11
 ในการวางแผนและกาหนดนโยบายของรัฐ ต้องคานึงถึงความ
ได้เปรียบในด้านความสามารถในการผลิต ใช้ความได้เปรียบจาก
ทรัพยากรที่มีผลิตสินค้าที่ชานาญ และไม่นาทรัพยากรไปใช้ผลิตสิ่งที่
ไม่ชานาญ
 การกาหนดแผนทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศจึงต้องพิจารณาจาก
ผลรวมของการผลิตและการค้าระหว่างประเทศ เพื่อเลือกผลิตสินค้าที่
ตนสามารถผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 ทฤษฎีนี้เป็นองค์ประกอบสาคัญต่อการส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
 ในทางปฏิบัติ ต้องคานึงถึงปัจจัยในส่วนที่เกี่ยวกับค่าขนส่งและ
ข้อจากัดทางการค้าระหว่างประเทศอีกด้วย
ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ ComparativeAdvantage
 Eli Heckscher and Bertil Ohlin
 ได้ขยายแนวคิดเดิมไปสู่ ปัจจัยสาคัญอื่นๆ ของประเทศ เนื่องจากแต่ละ
ประเทศมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเหล่านี้แตกต่างกัน ทาให้ต้นทุน
การผลิตต่างกัน ยิ่งทรัพยากรเหล่านี้มีมาก ต้นทุนการผลิตยิ่งต่า
 แต่ละประเทศจะส่งสินค้าที่ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่มากในประเทศในการ
ผลิตออกจาหน่ายต่างประเทศ และสั่งสินค้าเข้าที่ไม่สามารถทาใน
ประเทศได้เนื่องจากขาดแคลนทรัพยากร
 ดังนั้นการค้าระหว่างประเทศถูกกาหนดโดยปัจจัยพื้นฐานของประเทศ
มิใช่จากแรงงานเพียงประการเดียว
ทฤษฎีเฮกเชอร์ ออแลง Heckscher-OhlinTheory
ทฤษฎีเฮกเชอร์ ออแลง Heckscher-OhlinTheory
 พิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในภาพรวมมากกว่าในลักษณะของตัวแบบ
(Model) เช่นทฤษฏีของริคาโด (ผลผลิตและแรงงาน) ซึ่งเป็นเพียง
หนึ่งในปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการค้าระหว่างประเทศ
 Wassily Leontief
 ค้บพบสิ่งที่ขัดแย้งกับทฤษฎีของเฮกเชอร์ ออแลง และขัดแย้งกับ
ความน่าจะเป็น Leontief Paradox
 ประเทศที่ควรจะส่งออกสินค้าที่ใช้ทุนสูง เนื่องจากได้เปรียบด้าน
เงินทุน กลับส่งออกสินค้าที่ใช้ทุนต่ากว่า นาเข้าสินค้าที่ใช้ทุนสูงกว่า
 สินค้าบางชนิดที่ต้องใช้ทุนในการผลิตมาก กลับผลิตในประเทศที่
ค่าแรงต่ากว่าเพื่อให้ต้นทุนไม่สูงจนเกินไป
ทฤษฎีเฮกเชอร์ ออแลง Heckscher-OhlinTheory
 สินค้าบางอย่างใช้เทคโนโลยีสูง กลายเป็นสินค้าราคาไม่แพง และ
ล้าสมัยเร็วเช่น คอมพิวเตอร์
 สาหรับประเทศไทย เป็นประเทศส่งออกรถยนต์ซึ่งเป็นธุรกิจที่ต้องใช้
ทุนและเทคโนโลยีที่ประเทศไทยไม่มีเลย แต่การไหลเข้าของทุนและ
เทคโนโลยีจากต่างประเทศทาให้ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกรถยนต์ได้
ทั้ง ๆ ที่ประเทศไทยควรส่งออกสินค้าเกษตรเพราะมีที่ดินและแรงงาน
 ในความเป็นจริง ประเทศไทยจึงเป็นเพียงฐานแรงงานและฐานการ
ผลิตของต่างชาติ เป็นเพียงทางผ่านของทุนและผลกาไรของต่างชาติ
เท่านั้น
 Raymond Vernon
 เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับพัฒนาการของวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ตั้งแต่
จุดเริ่มต้นจนพัฒนาไปสู่จุดสูงสุด
 ในระยะแรก ราคาไม่ใช่ปัจจัยสาคัญในการเลือกซื้อสินค้า เนื่องจาก
เป็นสินค้าใหม่ที่แตกต่างจากสินค้าอื่นในตลาด
 เมื่อความต้องการสินค้าถึงจุดอิ่มตัว ราคาจะเข้ามามีบทบาทในการ
รักษาส่วนแบ่งตลาด ต้นทุนการผลิตจึงมีส่วนสาคัญ ทาให้ต้องย้าย
ฐานการผลิตไปประเทศที่มีค่าแรงต่ากว่า
ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ The Product Life-CycleTheory
ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ The Product Life-CycleTheory
ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ The Product Life-CycleTheory
 ขั้นตอนที่ 1 ช่วงแนะนา เป็นช่วงการคิดค้นนวัตกรรมด้วยการวิจัย
พัฒนาที่ทันสมัยที่ยังไม่มีผู้อื่นทาได้ การใช้แรงงานมีความชานาญสูง
ราคาผลิตภัณฑ์ค่อนข้างสูง มีการพัฒนาไปสู่การผลิตที่มีมาตรฐาน
 ขั้นตอนที่ 2 ช่วงเจริญเติบโต หลังจากแนะนาออกสู่ตลาดจะมีการการ
ส่งออก ทาให้มีการย้ายฐานการผลิตไปยังต่างประเทศเพราะคู่แข่งใน
ประเทศมีมากขึ้น
 ขั้นตอนที่ 3 ช่วงอิ่มตัว การนาเข้าจากประเทศต้นแบบหมดไป แต่จะ
ใช้ประโยชน์จากค่าจ้างแรงงานราคาถูกในประเทศกาลังพัฒนาเป็น
ฐานการผลิต
 ขั้นตอนที่ 4 ช่วงลดลง สินค้าตกรุ่น ยอดขายลดลง ทาให้ผลักดันให้มี
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
 Michael Porter
 หาข้อสรุปว่าเหตุใดบางประเทศประสบความสาเร็จหรือความล้มเหลว
ในธุรกิจระหว่างประเทศ
 พบว่ามีกลุ่มปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 4 กลุ่มคือ
 ปัจจัยพื้นฐานของประเทศ (Factor endowments)
 ความต้องการสินค้าของประเทศนั้น (Demand conditions)
 อุตสาหกรรมสนับสนุนและกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Related and supporting
industries)
 โครงสร้างทางการบริหารและคู่แข่งขันขององค์กรธุรกิจ (Firm strategy,
structure, and rivalry)
ทฤษฎีความได้เปรียบในการแข่งขันระหว่างประเทศ
NationalCompetitive Advantage
 หมายถึงปัจจัยขั้นพื้นฐานที่จาเป็นต่อการผลิต
 จัดกลุ่มปัจจัยออกเป็น
 ปัจจัยพื้นฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ สถานที่ จานวนประชากร
 ปัจจัยระดับสูง (Advanced factors)
ระบบคมนาคมขนส่งและสาธารณูปโภค ความชานาญของแรงงาน
ประสิทธิภาพในการวิจัยค้นคว้า ปัจจัยระดับสูงเกิดจากตัวบุคคล
องค์กร และการดาเนินงานของรัฐในการส่งเสริมด้วย
 ทฤษฏีนี้ให้ความสาคัญกับปัจจัยระดับสูงมาก เนื่องจากปัจจัยระดับสูง
บางชนิดสาคัญต่อความสาเร็จอย่างมาก
ปัจจัยพื้นฐานของประเทศ Factor Endowments
 ความต้องการสินค้าของประชาชนในประเทศ มีบทบาทต่อความสาเร็จ
ของธุรกิจทั้งในแง่การพัฒนาและปริมาณการผลิต
 ถ้าผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าที่แข็งแรงและทนทาน จะเป็นแรง
กดดันให้ผู้ผลิตเน้นที่คุณภาพและความทนทาน
 ถ้าผู้บริโภคต้องการความทันสมัยและแตกต่าง ผู้ผลิตต้องทาการวิจัย
เพื่อหาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆออกสู่ตลาด
 ปริมาณความต้องการก่อให้เกิดต้นทุนต่อหน่วยต่า (Economy of
Scale) แม้จะเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและใช้เทคโนโลยีสูงก็ตาม
ความต้องการสินค้าชนิดดังกล่าวของประเทศนั้น ๆ
Demand Conditions
 ธุรกิจแต่ละชนิดไม่สามารถดาเนินการทุกอย่างได้ตามลาพัง จาเป็นต้อง
พึ่งพาอาศัยธุรกิจอื่นเป็นส่วนประกอบ เช่นการผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ
 อุตสาหกรรมสนับสนุนจึงเป็นรากฐานสาคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรม
 ประเทศที่มีอุตสาหกรรมสนับสนุนตั้งแต่แรกเริ่มจนถึงขั้นสุดท้าย ย่อม
ได้เปรียบในการพัฒนาธุรกิจและศักยภาพในการแข่งขันกับประเทศอื่น
อุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวข้อง
Related and Supporting Industries
 ปัจจัยในการสร้างความสาเร็จให้แก่การค้าระหว่างประเทศได้แก่
องค์กรธุรกิจของแต่ละประเทศและการแข่งขันภายในประเทศ
 สัมพันธ์กับระบบวัฒนธรรมและแนวคิดของประชาชนแต่ละเชื้อชาติ
อีกด้วย
 นอกจากนี้เมื่อธุรกิจขยายตัว ผู้บริหารจาเป็นต้องศึกษาในเรื่องของ
การปรับโครงสร้างองค์กร
 นอกจากนั้น เมื่อคู่แข่งในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น แต่ขนาดของตลาดมีจากัด
ธุรกิจจะอยู่รอดได้จึงจาเป็นต้องออกสู่ตลาดโลก
กลยุทธ์ทางธุรกิจ โครงสร้างทางการบริหารและคู่แข่งขันขององค์กรธุรกิจ
Firm Strategy, Structure, and Rivalry
 ปัจจัยที่ทาให้การค้าระหว่างประเทศไม่เป็นไปตามทฤษฏี
 หมายถึงปัจจัยที่มีผลทาให้ปริมาณและราคาของสินค้าที่ซื้อขายกัน
ระหว่างประเทศต่างๆไม่เป็นไปตามกลไกตลาด หรือทาให้กลไกตลาด
ไม่สามารถดาเนินได้อย่างอิสระ
 เหตุผลในการสร้างอุปสรรคทางการค้าของรัฐบาลประเทศต่างๆ
 ลดปัญหาการขาดดุลการค้าและดุลการชาระเงิน
 ส่งเสริมให้ธุรกิจท้องถิ่นสามารถแข่งขันกับธุรกิจต่างประเทศได้
 กระตุ้นให้เกิดการลงทุนภายในซึ่งส่งผลต่อการจ้างงาน
 ทาให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการนาเข้า
 เหตุผลทางการเมือง โดยประเทศมหาอานาจกดดันให้ปฏิบัติตามพันธกรณี
อุปสรรคทางการค้า Trade Barriers
อุปสรรคจากภาษีและโควต้า Tariff and Quota
 อุปสรรคจากภาษีขาเข้า Tariff
 รัฐกาหนดภาษีขาเข้าสูงทาให้สินค้าชนิดนั้นราคาสูงกว่าสินค้าภายในประเทศทา
ให้แข่งขันได้ยาก
 การจากัดปริมาณนาเข้า Quantity Limit or Quota
 การกาหนดปริมาณการนาเข้าของสินค้าเพื่อมิให้สินค้าต่างประเทศมีส่วนครอง
ตลาดจนทาให้กิจการท้องถิ่นเสียหาย
 อาจมีผลทาให้อุตสาหกรรมภายในไม่พัฒนา เนื่องจากไม่มีคู่แข่ง
 การกาหนดราคาขายร่วมในตลาดระหว่างประเทศ International price
fixing
 มีการร่วมตัวกันของประเทศหรือผู้ผลิตสินค้าเพื่อกาหนดราคาขายใน
ต่างประเทศร่วมกัน เช่นกลุ่มประเทศผู้ผลิตน้ามันออกจาหน่ายหรือกลุ่ม OPEC
 การควบคุมทางการเงิน Financial control
 การควบคุมเกี่ยวกับระบบการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Exchange
control) การควบคุมดังกล่าวมีผลต่อการค้าระหว่างประเทศโดยตรง
เนื่องจากระบบเงินตรา (Currency) เป็นปัจจัยสาคัญของการค้าระหว่าง
ประเทศ
 การควบคุมการลงทุนจากต่างประเทศ Foreign investment
control
 เป็นการควบคุมการลงทุนจากต่างประเทศในรูปแบบต่าง ๆ เช่นห้ามถือหุ้น
เกินสัดส่วนที่กาหนด ห้ามมิให้ส่งกาไรออกเกินกาหนด การควบคุมรายจ่าย
ค่าสัมปทาน royalty
 การควบคุมเหล่านี้ไม่เกิดผลดีต่อธุรกิจระยะยาวของประเทศเหล่านั้นเอง
อุปสรรคจากปัจจัยที่ไม่ใช่ภาษี Nontariff Barrier
 ปัจจัยอื่น
 กฏหมาย ข้อบังคับ หรือระเบียบราชการต่างๆที่ก่อให้เกิดความล่าช้า และ
ความสับสนในการนาเข้า ส่งออก หรือการลงทุน
 อุปสรรคทางเทคนิค (Technical barrier) เช่น การกาหนดมาตราฐาน
ของผลิตภัณฑ์ให้สูง จนต่างประเทศไม่สามารถนาเข้าได้
 การกาหนดปัจจัยทางสังคมที่แต่ละประเทศมีความพร้อมไม่เท่ากัน
 นโยบายของรัฐ เช่น สนับสนุนให้ใช้ของที่ผลิตในประเทศแทนการใช้
สินค้าชนิดเดียวกันจากต่างประเทศ
อุปสรรคจากปัจจัยที่ไม่ใช่ภาษี Nontariff Barrier

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
Ornkapat Bualom
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
Nattakorn Sunkdon
 
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพChapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Ronnarit Junsiri
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
Thida Noodaeng
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
Nattakorn Sunkdon
 
Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์
neena988
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
Ornkapat Bualom
 

What's hot (20)

บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
PDSA
PDSAPDSA
PDSA
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
 
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพChapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์Rate มหิดลนุสรณ์
Rate มหิดลนุสรณ์
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 

Viewers also liked

การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
Amarin Unchanum
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
thnaporn999
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
พัชชา พลับ
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
thnaporn999
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
apple_clubx
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
thnaporn999
 
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศการพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
Dr.Choen Krainara
 
Bmc skill training ppt
Bmc skill training pptBmc skill training ppt
Bmc skill training ppt
danielmary
 
International TradeTheories
International TradeTheoriesInternational TradeTheories
International TradeTheories
Zaheer Khawaja
 

Viewers also liked (20)

การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรองบทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติบทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
 
เทคนิคการทำ Paraphrase
เทคนิคการทำ Paraphrase เทคนิคการทำ Paraphrase
เทคนิคการทำ Paraphrase
 
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศpptหน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
หน่วยที่ 10 เศรษฐกิจระหว่างประเทศppt
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
Exim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากรExim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากร
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศการพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
 
Bmc skill training ppt
Bmc skill training pptBmc skill training ppt
Bmc skill training ppt
 
International TradeTheories
International TradeTheoriesInternational TradeTheories
International TradeTheories
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 

More from tumetr

ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
tumetr
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebook
tumetr
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_p
tumetr
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
tumetr
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
tumetr
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
tumetr
 

More from tumetr (20)

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebook
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_p
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projects
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introduction
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffman
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-tree
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
 

ทฤษฏีการค้าระหว่างประเทศ

  • 3.  ลัทธิการค้านิยม Mercantilism  ทฤษฎีการได้เปรียบสมบูรณ์ Absolute Advantage  ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ Comparative Advantage  ทฤษฎีเฮกเชอร์-ออแลง Heckscher-Ohlin Theory  ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ The Product Life-Cycle Theory  ทฤษฎีความได้เปรียบในการแข่งขันระหว่างประเทศ National Competitive Advantage ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ
  • 4.  Thomas Mun  เป็นทฤษฎีแรกที่เกี่ยวข้องกับการค้าระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 16  เกิดจากแนวคิดที่ว่า การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ รัฐควร ส่งเสริมพัฒนาการทางธุรกิจและการค้าระหว่างประเทศ  เงินและทองเป็นโลหะมีมูลค่า ดังนั้นการค้าระหว่างประเทศที่ส่งออก มากกว่านาเข้าทาให้เกิดการเกินดุลการค้า ประเทศได้เงินและทองมา เป็นทุนสารองของประเทศ  การดาเนินธุรกิจระหว่างประเทศเน้นกลยุทธ์การได้เปรียบทางการค้า  เพื่อให้เกิดการเกินดุลการค้า มีการตั้งกาแพงภาษี สนับสนุนการ ส่งออก การแสวงหาอาณานิคมเพื่อความมั่งคั่งของประเทศ ลัทธิการค้านิยม Mercantilism
  • 5.  ประเทศจะได้รับประโยชน์เมื่อเกินดุลการค้า (ส่งออก มากกว่า นาเข้า)  เน้นนโยบายส่งออกไปต่างประเทศให้มากที่สุด และนาเข้าให้น้อยที่สุด  เมื่อเกินดุล  ทองคามากขึ้น  ประเทศมั่นคง  เพิ่มอานาจทาง ทหาร  ล่าอาณานิคม ลัทธิการค้านิยม Mercantilism
  • 6.  Adam Smith  พิจารณาข้อด้อยของลัทธิการค้านิยมได้แก่ การที่แต่ละประเทศมี ความชานาญไม่เหมือนกันในการผลิตสินค้าและบริการเฉพาะอย่าง ดังนั้นการผลิตสินค้าทุกชนิดเพื่อส่งออกจึงไม่เหมาะสม  ประเทศที่ไม่ชานาญในการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งแต่ทาการผลิตสินค้า ชนิดนั้น ทาให้ต้นทุนการผลิตสูง  ควรให้แต่ละประเทศผลิตสินค้าที่ตนชานาญและแลกเปลี่ยนกัน เพื่อต้นทุนที่ต่ากว่า ทาให้แต่ละประเทศรู้ว่าควรผลิตอะไร ไม่ควร ผลิตอะไร ทฤษฏีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ Absolute Advantage
  • 7. ปัจจัยการผลิต (หน่วย) มาเลเซีย 800 ไทย 800 ทฤษฏีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ Absolute Advantage จานวนทรัพยากร (หน่วย) ที่ต้องใช้ในการผลิต น้ามันปาล์มข้าวสารต่อ 1 ตัน น้ามันปาล์ม ข้าวสาร มาเลเซีย 20 40 ไทย 80 20
  • 8. ทฤษฏีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ Absolute Advantage กรณีที่แต่ประเทศใช้ทรัพยากรผลิตสินค้าที่ตนมีความ ชานาญและได้เปรียบ น้ามันปาล์ม ข้าวสาร มาเลเซีย 800/20 = 40 0 ไทย 0 800/20 = 40 ผลผลิตรวม 40 40 ผลผลิตที่เกิดจากปริมาณทรัพยากรดังกล่าว ของแต่ละประเทศ (ตัน) น้ามันปาล์ม ข้าวสาร มาเลเซีย 400/20 = 20 400/40 = 10 ไทย 400/80 = 5 400/20 = 20 ผลผลิตรวม 20 + 5 = 25 10 + 20 = 30
  • 9. ทฤษฏีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ Absolute Advantage ส่วนเพิ่มที่เกิดจากการค้าระหว่างประเทศ เมื่อเทียบกับการผลิตเองทั้งหมด น้ามันปาล์ม ข้าวสาร มาเลเซีย 28 - 20 = 8 12 - 10 = 2 ไทย 12 - 5 = 7 28 - 20 = 8 เมื่อไทยกับมาเลเซียมีการค้าระหว่างประเทศ โดยไทยซื้อน้ามันปาล์ม 12 ตัน มาเลเซียซื้อข้าว 12 ตัน น้ามันปาล์ม ข้าวสาร มาเลเซีย 40 - 12 = 28 12 ไทย 12 40 - 12 = 28
  • 10.  แต่ละประเทศสามารถนาไปใช้วางแผนการผลิต โดยเฉพาะในการกาหนด นโยบายระยะยาว  ประเทศที่มีการวางแผนทางเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบ จึงไม่ควรผลิตสินค้า บางชนิดที่ประเทศอื่นมีต้นทุนการผลิตต่ากว่า  ผู้บริหารประเทศสามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อกาหนดนโยบายในการ ส่งเสริมธุรกิจที่เหมาะสมกับความสามารถของประเทศ  สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในระดับองค์กรได้อีกด้วย ทฤษฏีการได้เปรียบโดยสมบูรณ์ Absolute Advantage
  • 11.  David Ricardo  ให้ความสาคัญที่ผลผลิต โดยมีรากฐานมาจากแรงงาน  เสนอแนวคิดที่ว่า ประเทศที่มีความได้เปรียบในการผลิตสินค้าชนิดใดควร ทาการผลิตสินค้านั้น  สั่งสินค้าที่ตนไม่มีความชานาญและต้องใช้ต้นทุนการผลิตสูงจากประเทศที่มี ความชานาญและสามารถผลิตได้ในต้นทุนต่ากว่า  ทาให้เกิดผลรวมของทั้งสองประเทศสูงกว่าที่แต่ละประเทศจะผลิตสินค้าทุก ชนิด  หากประเทศใดได้เปรียบในการผลิตสินค้าหลายชนิด ความสามารถในการ ผลิตสินค้าชนิดใดได้เปรียบสูงกว่า ก็ควรใช้ทรัพยากรผลิตสินค้าชนิดที่ให้ ผลผลิตสูงกว่า ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ ComparativeAdvantage
  • 12. ปัจจัยการผลิต (หน่วย) มาเลเซีย 800 ไทย 800 ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ ComparativeAdvantage จานวนทรัพยากร (หน่วย) ที่ต้องใช้ในการผลิต น้ามันปาล์มข้าวสารต่อ 1 ตัน น้ามันปาล์ม ข้าวสาร มาเลเซีย 20 25 ไทย 80 40 มาเลเซีย : ไทย 1 : 4 1 : 1.6
  • 13. ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ ComparativeAdvantage กรณีที่แต่ประเทศใช้ทรัพยากรผลิตสินค้าที่ตนมีความ ชานาญและได้เปรียบ น้ามันปาล์ม ข้าวสาร มาเลเซีย (600 หน่วย) 600/20 = 30 200/25 = 8 ไทย (800 หน่วย) 0 800/40 = 20 ผลผลิตรวม 30 28 ผลผลิตที่เกิดจากปริมาณทรัพยากรดังกล่าว ของแต่ละประเทศ (ตัน) น้ามันปาล์ม ข้าวสาร มาเลเซีย 400/20 = 20 400/25 = 16 ไทย 400/80 = 5 400/40 = 10 ผลผลิตรวม 20 + 5 = 25 16 + 10 = 26
  • 14. ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ ComparativeAdvantage ส่วนเพิ่มที่เกิดจากการค้าระหว่างประเทศ เมื่อเทียบกับการผลิตเองทั้งหมด น้ามันปาล์ม ข้าวสาร มาเลเซีย 21 - 20 = 1 17 - 16 = 1 ไทย 9 - 5 = 4 11 - 10 = 1 เมื่อไทยกับมาเลเซียมีการค้าระหว่างประเทศ โดยไทยซื้อ น้ามันปาล์ม 9 ตัน มาเลเซียซื้อข้าว 9 ตัน น้ามันปาล์ม ข้าวสาร มาเลเซีย 30 - 9 = 21 8 + 9 = 17 ไทย 0 + 9 = 9 20 - 9 = 11
  • 15.  ในการวางแผนและกาหนดนโยบายของรัฐ ต้องคานึงถึงความ ได้เปรียบในด้านความสามารถในการผลิต ใช้ความได้เปรียบจาก ทรัพยากรที่มีผลิตสินค้าที่ชานาญ และไม่นาทรัพยากรไปใช้ผลิตสิ่งที่ ไม่ชานาญ  การกาหนดแผนทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศจึงต้องพิจารณาจาก ผลรวมของการผลิตและการค้าระหว่างประเทศ เพื่อเลือกผลิตสินค้าที่ ตนสามารถผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ทฤษฎีนี้เป็นองค์ประกอบสาคัญต่อการส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ  ในทางปฏิบัติ ต้องคานึงถึงปัจจัยในส่วนที่เกี่ยวกับค่าขนส่งและ ข้อจากัดทางการค้าระหว่างประเทศอีกด้วย ทฤษฎีความได้เปรียบเปรียบเทียบ ComparativeAdvantage
  • 16.  Eli Heckscher and Bertil Ohlin  ได้ขยายแนวคิดเดิมไปสู่ ปัจจัยสาคัญอื่นๆ ของประเทศ เนื่องจากแต่ละ ประเทศมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเหล่านี้แตกต่างกัน ทาให้ต้นทุน การผลิตต่างกัน ยิ่งทรัพยากรเหล่านี้มีมาก ต้นทุนการผลิตยิ่งต่า  แต่ละประเทศจะส่งสินค้าที่ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่มากในประเทศในการ ผลิตออกจาหน่ายต่างประเทศ และสั่งสินค้าเข้าที่ไม่สามารถทาใน ประเทศได้เนื่องจากขาดแคลนทรัพยากร  ดังนั้นการค้าระหว่างประเทศถูกกาหนดโดยปัจจัยพื้นฐานของประเทศ มิใช่จากแรงงานเพียงประการเดียว ทฤษฎีเฮกเชอร์ ออแลง Heckscher-OhlinTheory
  • 17. ทฤษฎีเฮกเชอร์ ออแลง Heckscher-OhlinTheory  พิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในภาพรวมมากกว่าในลักษณะของตัวแบบ (Model) เช่นทฤษฏีของริคาโด (ผลผลิตและแรงงาน) ซึ่งเป็นเพียง หนึ่งในปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการค้าระหว่างประเทศ  Wassily Leontief  ค้บพบสิ่งที่ขัดแย้งกับทฤษฎีของเฮกเชอร์ ออแลง และขัดแย้งกับ ความน่าจะเป็น Leontief Paradox  ประเทศที่ควรจะส่งออกสินค้าที่ใช้ทุนสูง เนื่องจากได้เปรียบด้าน เงินทุน กลับส่งออกสินค้าที่ใช้ทุนต่ากว่า นาเข้าสินค้าที่ใช้ทุนสูงกว่า  สินค้าบางชนิดที่ต้องใช้ทุนในการผลิตมาก กลับผลิตในประเทศที่ ค่าแรงต่ากว่าเพื่อให้ต้นทุนไม่สูงจนเกินไป
  • 18. ทฤษฎีเฮกเชอร์ ออแลง Heckscher-OhlinTheory  สินค้าบางอย่างใช้เทคโนโลยีสูง กลายเป็นสินค้าราคาไม่แพง และ ล้าสมัยเร็วเช่น คอมพิวเตอร์  สาหรับประเทศไทย เป็นประเทศส่งออกรถยนต์ซึ่งเป็นธุรกิจที่ต้องใช้ ทุนและเทคโนโลยีที่ประเทศไทยไม่มีเลย แต่การไหลเข้าของทุนและ เทคโนโลยีจากต่างประเทศทาให้ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกรถยนต์ได้ ทั้ง ๆ ที่ประเทศไทยควรส่งออกสินค้าเกษตรเพราะมีที่ดินและแรงงาน  ในความเป็นจริง ประเทศไทยจึงเป็นเพียงฐานแรงงานและฐานการ ผลิตของต่างชาติ เป็นเพียงทางผ่านของทุนและผลกาไรของต่างชาติ เท่านั้น
  • 19.  Raymond Vernon  เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับพัฒนาการของวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ จุดเริ่มต้นจนพัฒนาไปสู่จุดสูงสุด  ในระยะแรก ราคาไม่ใช่ปัจจัยสาคัญในการเลือกซื้อสินค้า เนื่องจาก เป็นสินค้าใหม่ที่แตกต่างจากสินค้าอื่นในตลาด  เมื่อความต้องการสินค้าถึงจุดอิ่มตัว ราคาจะเข้ามามีบทบาทในการ รักษาส่วนแบ่งตลาด ต้นทุนการผลิตจึงมีส่วนสาคัญ ทาให้ต้องย้าย ฐานการผลิตไปประเทศที่มีค่าแรงต่ากว่า ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ The Product Life-CycleTheory
  • 21. ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ The Product Life-CycleTheory  ขั้นตอนที่ 1 ช่วงแนะนา เป็นช่วงการคิดค้นนวัตกรรมด้วยการวิจัย พัฒนาที่ทันสมัยที่ยังไม่มีผู้อื่นทาได้ การใช้แรงงานมีความชานาญสูง ราคาผลิตภัณฑ์ค่อนข้างสูง มีการพัฒนาไปสู่การผลิตที่มีมาตรฐาน  ขั้นตอนที่ 2 ช่วงเจริญเติบโต หลังจากแนะนาออกสู่ตลาดจะมีการการ ส่งออก ทาให้มีการย้ายฐานการผลิตไปยังต่างประเทศเพราะคู่แข่งใน ประเทศมีมากขึ้น  ขั้นตอนที่ 3 ช่วงอิ่มตัว การนาเข้าจากประเทศต้นแบบหมดไป แต่จะ ใช้ประโยชน์จากค่าจ้างแรงงานราคาถูกในประเทศกาลังพัฒนาเป็น ฐานการผลิต  ขั้นตอนที่ 4 ช่วงลดลง สินค้าตกรุ่น ยอดขายลดลง ทาให้ผลักดันให้มี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
  • 22.  Michael Porter  หาข้อสรุปว่าเหตุใดบางประเทศประสบความสาเร็จหรือความล้มเหลว ในธุรกิจระหว่างประเทศ  พบว่ามีกลุ่มปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 4 กลุ่มคือ  ปัจจัยพื้นฐานของประเทศ (Factor endowments)  ความต้องการสินค้าของประเทศนั้น (Demand conditions)  อุตสาหกรรมสนับสนุนและกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Related and supporting industries)  โครงสร้างทางการบริหารและคู่แข่งขันขององค์กรธุรกิจ (Firm strategy, structure, and rivalry) ทฤษฎีความได้เปรียบในการแข่งขันระหว่างประเทศ NationalCompetitive Advantage
  • 23.  หมายถึงปัจจัยขั้นพื้นฐานที่จาเป็นต่อการผลิต  จัดกลุ่มปัจจัยออกเป็น  ปัจจัยพื้นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ สถานที่ จานวนประชากร  ปัจจัยระดับสูง (Advanced factors) ระบบคมนาคมขนส่งและสาธารณูปโภค ความชานาญของแรงงาน ประสิทธิภาพในการวิจัยค้นคว้า ปัจจัยระดับสูงเกิดจากตัวบุคคล องค์กร และการดาเนินงานของรัฐในการส่งเสริมด้วย  ทฤษฏีนี้ให้ความสาคัญกับปัจจัยระดับสูงมาก เนื่องจากปัจจัยระดับสูง บางชนิดสาคัญต่อความสาเร็จอย่างมาก ปัจจัยพื้นฐานของประเทศ Factor Endowments
  • 24.  ความต้องการสินค้าของประชาชนในประเทศ มีบทบาทต่อความสาเร็จ ของธุรกิจทั้งในแง่การพัฒนาและปริมาณการผลิต  ถ้าผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าที่แข็งแรงและทนทาน จะเป็นแรง กดดันให้ผู้ผลิตเน้นที่คุณภาพและความทนทาน  ถ้าผู้บริโภคต้องการความทันสมัยและแตกต่าง ผู้ผลิตต้องทาการวิจัย เพื่อหาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆออกสู่ตลาด  ปริมาณความต้องการก่อให้เกิดต้นทุนต่อหน่วยต่า (Economy of Scale) แม้จะเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและใช้เทคโนโลยีสูงก็ตาม ความต้องการสินค้าชนิดดังกล่าวของประเทศนั้น ๆ Demand Conditions
  • 25.  ธุรกิจแต่ละชนิดไม่สามารถดาเนินการทุกอย่างได้ตามลาพัง จาเป็นต้อง พึ่งพาอาศัยธุรกิจอื่นเป็นส่วนประกอบ เช่นการผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ  อุตสาหกรรมสนับสนุนจึงเป็นรากฐานสาคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรม  ประเทศที่มีอุตสาหกรรมสนับสนุนตั้งแต่แรกเริ่มจนถึงขั้นสุดท้าย ย่อม ได้เปรียบในการพัฒนาธุรกิจและศักยภาพในการแข่งขันกับประเทศอื่น อุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวข้อง Related and Supporting Industries
  • 26.  ปัจจัยในการสร้างความสาเร็จให้แก่การค้าระหว่างประเทศได้แก่ องค์กรธุรกิจของแต่ละประเทศและการแข่งขันภายในประเทศ  สัมพันธ์กับระบบวัฒนธรรมและแนวคิดของประชาชนแต่ละเชื้อชาติ อีกด้วย  นอกจากนี้เมื่อธุรกิจขยายตัว ผู้บริหารจาเป็นต้องศึกษาในเรื่องของ การปรับโครงสร้างองค์กร  นอกจากนั้น เมื่อคู่แข่งในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น แต่ขนาดของตลาดมีจากัด ธุรกิจจะอยู่รอดได้จึงจาเป็นต้องออกสู่ตลาดโลก กลยุทธ์ทางธุรกิจ โครงสร้างทางการบริหารและคู่แข่งขันขององค์กรธุรกิจ Firm Strategy, Structure, and Rivalry
  • 27.  ปัจจัยที่ทาให้การค้าระหว่างประเทศไม่เป็นไปตามทฤษฏี  หมายถึงปัจจัยที่มีผลทาให้ปริมาณและราคาของสินค้าที่ซื้อขายกัน ระหว่างประเทศต่างๆไม่เป็นไปตามกลไกตลาด หรือทาให้กลไกตลาด ไม่สามารถดาเนินได้อย่างอิสระ  เหตุผลในการสร้างอุปสรรคทางการค้าของรัฐบาลประเทศต่างๆ  ลดปัญหาการขาดดุลการค้าและดุลการชาระเงิน  ส่งเสริมให้ธุรกิจท้องถิ่นสามารถแข่งขันกับธุรกิจต่างประเทศได้  กระตุ้นให้เกิดการลงทุนภายในซึ่งส่งผลต่อการจ้างงาน  ทาให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการนาเข้า  เหตุผลทางการเมือง โดยประเทศมหาอานาจกดดันให้ปฏิบัติตามพันธกรณี อุปสรรคทางการค้า Trade Barriers
  • 28. อุปสรรคจากภาษีและโควต้า Tariff and Quota  อุปสรรคจากภาษีขาเข้า Tariff  รัฐกาหนดภาษีขาเข้าสูงทาให้สินค้าชนิดนั้นราคาสูงกว่าสินค้าภายในประเทศทา ให้แข่งขันได้ยาก  การจากัดปริมาณนาเข้า Quantity Limit or Quota  การกาหนดปริมาณการนาเข้าของสินค้าเพื่อมิให้สินค้าต่างประเทศมีส่วนครอง ตลาดจนทาให้กิจการท้องถิ่นเสียหาย  อาจมีผลทาให้อุตสาหกรรมภายในไม่พัฒนา เนื่องจากไม่มีคู่แข่ง  การกาหนดราคาขายร่วมในตลาดระหว่างประเทศ International price fixing  มีการร่วมตัวกันของประเทศหรือผู้ผลิตสินค้าเพื่อกาหนดราคาขายใน ต่างประเทศร่วมกัน เช่นกลุ่มประเทศผู้ผลิตน้ามันออกจาหน่ายหรือกลุ่ม OPEC
  • 29.  การควบคุมทางการเงิน Financial control  การควบคุมเกี่ยวกับระบบการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Exchange control) การควบคุมดังกล่าวมีผลต่อการค้าระหว่างประเทศโดยตรง เนื่องจากระบบเงินตรา (Currency) เป็นปัจจัยสาคัญของการค้าระหว่าง ประเทศ  การควบคุมการลงทุนจากต่างประเทศ Foreign investment control  เป็นการควบคุมการลงทุนจากต่างประเทศในรูปแบบต่าง ๆ เช่นห้ามถือหุ้น เกินสัดส่วนที่กาหนด ห้ามมิให้ส่งกาไรออกเกินกาหนด การควบคุมรายจ่าย ค่าสัมปทาน royalty  การควบคุมเหล่านี้ไม่เกิดผลดีต่อธุรกิจระยะยาวของประเทศเหล่านั้นเอง อุปสรรคจากปัจจัยที่ไม่ใช่ภาษี Nontariff Barrier
  • 30.  ปัจจัยอื่น  กฏหมาย ข้อบังคับ หรือระเบียบราชการต่างๆที่ก่อให้เกิดความล่าช้า และ ความสับสนในการนาเข้า ส่งออก หรือการลงทุน  อุปสรรคทางเทคนิค (Technical barrier) เช่น การกาหนดมาตราฐาน ของผลิตภัณฑ์ให้สูง จนต่างประเทศไม่สามารถนาเข้าได้  การกาหนดปัจจัยทางสังคมที่แต่ละประเทศมีความพร้อมไม่เท่ากัน  นโยบายของรัฐ เช่น สนับสนุนให้ใช้ของที่ผลิตในประเทศแทนการใช้ สินค้าชนิดเดียวกันจากต่างประเทศ อุปสรรคจากปัจจัยที่ไม่ใช่ภาษี Nontariff Barrier