SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
Species ทางชีววิทยา
           และ
  การเกิด Species ใหม่

ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
นกหัวขวานเขียวป่าไผ่       นกหัวขวานเขียวหัวดา     นกหัวขวานเขียวตะโพกแดง


                       นกในภาพมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
                       แต่จัดว่าเป็นคนละสปีชส์เพราะเหตุใด
                                            ี
                                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
สปีชส์ (species)
     ี                            หมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เรา
เห็นว่ามีความคล้ายคลึงกันมาก ดังเช่น สปีชส์ "พัฟฟิน"
                                                ี
(Puffin) หมายถึง นกกลุมหนึ่งที่พบทั่วไปในแถบแอตแลนติก
                             ่
เหนือ พัฟฟินผสมพันธุในโพรงบนพื้นดิน และมีจะงอยปาก
                          ์
หลายสี ตีนสีสม และมีท่าเดินน่าขบขัน คาอธิบายเช่นนีมี
                     ้                                         ้
ประโยชน์ แต่นักวิวัฒนาการแยกสิ่งมีชีวิตออกเป็นสปีชีสได้ด้วย  ์
วิธีที่ง่ายกว่านี้มาก กล่าวคือ สิ่งมีชีวิตสปีชีสเ์ ดียวกัน จะต้อง
ผสมพันธุ์กนได้และมีลูกด้วยกันได้ พัฟฟินจะผสมกับพัฟฟินด้วย
              ั
กันเอง มิใช่กบนกชนิดอื่น เช่น เรเซอร์บิลล์ (razorbill) หรือ
                   ั
กิลลิมอต (guillemot) ดังนันนกเหล่านี้จึงเป็นนกต่างสปีชีส์
                               ้
ไปจากพัฟฟิน
                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
ปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับความหมายของสปีชีส์ ไม่
สามารถประยุกต์ใช้กับสิ่งมีชีวิตได้ทุกชนิด มีนัก
ชีววิทยาหลายคนได้ให้แนวคิดเกี่ยกับความหมาย
ของสปีชีส์ ไว้ดังนี้
                                      1. สปีชีสทางด้านสัณฐานวิทยา หมายถึง
                                                   ์
                                     สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันในลักษณะทาง
                                     สัณฐานและโครงสร้างทางกายวิภาค ของ
                                     สิ่งมีชีวิตใช้เป็นแนวคิดในการศึกษาด้าน
                                     อนุกรมวิธาน
                        2. สปีชีสทางด้านชีววิทยา หมายถึง
                                    ์
                    สิ่งมีชีวิตที่สามารถผสมพันธุ์กนได้ใน
                                                  ั
                    ธรรมชาติ ให้กาเนิดลูกที่ไม่เป็นหมัน
                                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
 การศึกษาเพื่อจาแนกสปีชีสของซากดึกดาบรรพ์ควรใช้
                             ์
ความหมายของสปีชีส์ตามแนวคิดใด เพราะเหตุใด
     ตอบ

           ควรใช้ความหมายทางสปีชีส์ทางด้านสัณฐานวิทยา
           เนื่องจากไม่มีโอกาสที่ซากดึกดาบรรพ์จะมาผสมพันธุ์ใน
           ธรรมชาติได้

                                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
กลไกที่แบ่งแยกการสืบพันธุ์ มีผลยับยั้งมิให้เกิดการผสมพันธุ์
ข้ามสปีชีส์ อาจแบ่งได้เป็น 2 ระดับ

               1. กลไกแบ่งแยกระดับก่อนไซโกต
                     (prezygotic isolating mechanism)

                2. กลไกการแยกทางสืบพันธ์ระยะหลังไซโกต
                   (postzygotic isolating mechanism)


                                                         ฉวีวรรณ นาคบุตร
กลไกการแยกทางสืบพันธุ์ก่อนระยะไซโกต

        เป็นกลไกที่ป้องกันไม่ให้เซลล์สืบพันธุ์จากสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีสกัน
                                                                      ์
    ได้มาผสมพันธุ์กัน กลไกเหล่านี้ได้แก่
            1. ถิ่นที่อยูอาศัย สิงมีชีวิตต่างสปีชีสกันทีอาศัยในถิ่นที่อยู่
                         ่          ่              ์ ่
    ต่างกัน เช่น กบป่า อาศัยอยู่ในแอ่งน้าซึ่งเป็นแหล่งน้าจืดขนาดเล็ก
    ส่วนกบบูลฟรอกอาศัยอยูในหนองน้าหรือบึงขนาดใหญ่ที่มีน้า
                               ่
    ตลอดปี กบทั้งสองสปีชีสนี้มีลักษณะรูปร่างใกล้เคียงกันมากแต่
                                  ์
    อาศัยและผสมพันธุ์ในแหล่งน้าที่แตกต่างกันทาให้ไม่มีโอกาสได้จับ
    คู่ผสมพันธุกัน์

                                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
กบป่า (Wood frog; Rana sylvatica )




                                กบบูลฟรอก (Lithobates catesbeianus)



                                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
2.พฤติกรรมการผสมพันธุ์ เช่น พฤติกรรม
ในการเกี้ยวพาราสีของนกยุงเพศผู้ ลักษณะการ
                                                 รังนกกระจาบ
สร้างรังที่แตกต่างกันของนกและการใช้ฟีโรโมน
ของแมลง เป็นต้น พฤติกรรมต่างๆ นี้ จะมีผล
ต่อสัตว์เพศตรงข้ามในสปีชีส์เดียวกันเท่านั้นที่
จะจับคู่ผสมพันธุ์กัน




        ฉวีวรรณ นาคบุตร
3. ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์ อาจเป็นวัน ฤดูกาล หรือ
ช่วงเวลาของการผสมพันธุ์ ตัวอย่างเช่น แมลงหวี่
Drosophila pseudoobscura
มีช่วงเวลาเหมาะสมในการผสมพันธุ์ในตอนบ่าย แต่
Drosophila persimilis จะมีช่วงเวลาที่เหมาะสมใน
ตอนเช้า ทาให้ไม่มีโอกาสในการผสมพันธุ์กันได้




                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
4. โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์ สิ่งมีชีวิตต่างสปีชีสกนจะมีขนาดและ
                                                    ์ั
รูปร่างของอวัยวะสืบพันธุ์แตกต่างกันทาให้ไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้
เช่น โครงสร้างของดอกไม้บางชนิดมีลักษณะสอดคล้องกับลักษณะของแมลง
หรือสัตว์บางชนิด ทาให้แมลงหรือสัตว์นั้นๆถ่ายละอองเรณูเฉพาะพืชในสปีชีส์
เดียวกันเท่านั้น




                              โครงสร้างของดอกไม้ที่แตกต่างกัน
          ก. กลีบดอกที่มีขนาดเหมาะสมกับชนิดของผึ้งตัวเล็ก
         ข. กลีบดอกที่มีขนาดใหญ่ และเกสรตัวผู้ที่ยาวเหมาะสมกับชนิดของผึ้งตัวใหญ่
                                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
5. สรีรวิทยาของเซลล์สบพันธุ์
                            ื
       เมื่อเซลล์สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตต่างสปีชส์กันมีโอกาสมาพบกัน แต่ไม่
                                                ี
สามารถปฎิสนธิกันได้ อาจเป็นเพราะอสุจิไม่สามารถอยู่ภายในร่างกายเพศ
เมียได้ หรืออสุจิไม่สามารถสลายสารเคมีที่หุ้มเซลล์ไข่ของสิ่งมีชีวิตต่าง
สปีชส์ได้
     ี




                                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
2. กลไกการแยกทางสืบพันธ์ระยะหลังไซโกต
. กลไกการแบ่งแยกระยะหลังไซโกต เมื่อกลไกการแบ่งแยกในระดับแรกไม่
อาจป้องกันการผสมพันธุ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต 2 สปีชีส์ (hybridization)ไว้ได้
เกิดการผสมข้ามสปีชีสและเกิดลูกผสม (hybrid) ที่เป็นตัวเต็มวัย แต่ยีนโฟลว์
                     ์
ระหว่างสปีชีสทั้ง 2 จะไม่เกิด เพราะไซโกตหรือลูกผสมมีองค์ประกอบของยีน
             ์
(genome = จีโนม) ไม่สอดคล้องกัน เกิดความผิดปกติขึ้นกับลูกผสมคือ

                 2. 1. ลูกผสมตายก่อนถึงวัยเจริญพันธุ์ เช่น การผสมพันธุ์
                กบ (Rana spp.) ต่างสปีชีสกัน พบว่าจะมีการตายของตัว
                                            ์
                อ่อนในระยะต่างๆกัน และไม่สามารถ เจริญเติบโตเป็นตัว
                เต็มวัยได้
                                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
2. 2. ลูกผสมเป็นหมัน
     เช่น ล่อ เกิดจากการผสมระหว่างม้ากับลา แต่ล่อเป็นหมันไม่สามารถ
ให้กาเนิดลูกในรุ่นต่อไปได้




              ม้า                   ลา                   ล่อ

                                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
 ม้ามีโครโมโซมจานวน 64 โครโมโซม ส่วนลามีจานวน
โครโมโซม 62 โครโมโซม นักเรียนคิดว่าล่อควรมีจานวนโครโมโซม
เท่าใด และเพราะเหตุใดล่อจึงเป็นหมัน

                      ล่อเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ของม้าที่มีจานวน
      ตอบ             32 โครโมโซม และเซลล์สบพันธุ์ของลาที่มี
                                                   ื
                      จานวน 31 โครโมโซม ดังนั้นล่อจะมี
                      โครโมโซม 63 โครโมโซม ล่อเป็นหมัน
                      เพราะในการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเพื่อสร้าง
                      เซลล์สืบพันธุ์ โครโมโซมของม้ากับลาจะไม่
                      มาเข้าคู่กัน ทาให้ได้เซลล์สืบพันธุ์ทผิดปกติ
                                                           ี่
                                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
- นอกจากล่อแล้วมีลูกผสมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์ชนิดใดอีกบ้าง

      ตอบ          เช่น ไทกอน เกิดจากเสือเพศผู้ผสมกับสิงโต
                   เพศเมีย และไลเกอร์เกิดจากสิงโตเพศผู้ผสมกับ
                   เสือเพศเมีย




                ไทกอน                            ไลเกอร์
                                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
2.3. ลูกผสมล้มเหลว
     เช่น การผสมระหว่างดอกทานตะวัน(Layia spp.) 2 สปีชีส์
พบว่า ลูกผสมที่เกิดขึ้นสามารถเจริญเติบโต และให้ลูกผสมในรุ่น
F1 ได้ แต่ในรุ่น F2 เริ่มอ่อนแอและเป็นหมันประมาณร้อยละ 80
และ จะปรากฏเช่นนี้ในรุ่นต่อๆไป




                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
การเกิดสปีชสใหม่ี ์
     สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันเมื่อแบ่งกันอยู่เป็นกลุ่มย่อยๆ
ด้วยสาเหตุจากสภาพภูมิศาสตร์หรือเหตุใดๆก็ตามแล้ว มี
ผลให้เกิดการผสมพันธุ์เฉพาะภายในกลุ่ม ไม่ผสมพันธุ์ข้าม
กลุ่มซึ่งอาจมีผลมาจากการปรับเปลียนพฤติกรรมในการ
                                        ่
สืบพันธุ์ การหาอาหารและอื่นๆ กรณีนี้ ลักษณะของ
สิ่งมีชีวิตในประชากรแต่ละกลุ่มจะเปลี่ยนไปจนกลายเป็น
สปีชีสใหม่ขึ้น เมื่อกลับมารวมกันอีกครั้งก็ไม่ผสมพันธุ์กัน
         ์
หรือผสมพันธ์อาจได้ลูกที่เป็นหมัน


                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
1. การเกิดสปีชสใหม่จากการแบ่งแยกทางภูมศาสตร์
              ี ์                     ิ
   กลไกการเกิดสปีชีสใหม่ลักษณะนี้ เกิดจากประชากรดั้งเดิมในรุ่น
                       ์
บรรพบุรุษที่เคยอาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน เมื่อมีอุปสรรคมาขวางกั้น
เช่น ภูเขา แม่น้า ทะเล เป็นต้น ทาให้ประชากรในรุ่นบรรพบุรุษที่เคย
อาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน เกิดการแบ่งแยกออกจากกันเป็นประชากร
ย่อยๆและไม่ค่อยมีการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกัน ประกอบกับ
ประชากรแต่ละแห่งต่างก็มีการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบทางพันธุกรรม
ไปตามทิศทางการคัดเลือกโดยธรรมชาติจนกระทั่งเกิดเป็นสปีชีสใหม่ ์
 เพราะเหตุใดประชากรของสิ่งมีชีวิตที่แยกจากกันในลักษณะนี้
เมื่อกลับมาอยู่ร่วมกันอีกครั้งจึงไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้อีก

     ตอบ

                  เนื่องจากยีนพูลของประชากรทั้งสอง
            แตกต่างกัน ทาให้ไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้


                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
การเกิดสปีชีสใหม่ในลักษณะแบบนี้เป็นกระบวนการค่อยเป็นค่อยไป
              ์
อาจใช้เวลานานนับเป็นพัน ๆ หรือล้าน ๆ รุ่น เช่น กระรอก 2
สปีชีสในรัฐอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกัน
        ์
มาก แต่พบว่าอาศัยอยู่บริเวณขอบเหว แต่ละด้านของแกรนด์แคนยอน
ซึ่งเป็นหุบผาที่ลึกและกว้าง นักชีววิทยาเชื่อกันว่ากระรอก 2 สปีชีสนี้
                                                                 ์
เคยอยูในสปีชีสเ์ ดียวกันมาก่อน ที่จะเกิดการแยกของแผ่นดินขึ้น
          ่




                                                          ฉวีวรรณ นาคบุตร
A.harrisi   A.leucurus




                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
การเกิดสปีชีสใหม่ของกุ้งในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลคาริเบียนจากกุ้งสปีชีสเ์ ดียวกันแต่
              ์
ถูกแยกกันด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์

        ที่มารูปภาพ
      :http://www.atom.rmutphysics.com/CHARUD/scibook/bio2/chapter6/image/i
      magedifuse1.jpg                                         ฉวีวรรณ นาคบุตร
2. การเกิดสปีชีส์ใหม่ในเขตภูมิศาสตร์เดียวกันเป็นการเกิด
species ใหม่ของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในเขตภูมิศาสตร์เดียวกันแต่มี
กลไกการแบ่งแยกทางการสืบพันธุเ์ กิดขึ้น จนได้ species
ใหม่เห็นได้ชัดเจนในพืช




                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
 นักเรียนคิดว่ากลไกใดที่ทาให้สมาชิกของประชากรเดียวกันและอาศัย
อยู่ในพื้นที่เดียวกันไม่สามารถเกิดการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกันได้

         ตอบ

                การเปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซมของประชากรทาให้
                ประชากรทีมีจานวนโครโมโซมเปลี่ยนแปลงไปไม่สามารถ
                            ่
                ผสมพันธุ์กบประชากรดั้งเดิม
                          ั


                                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
การเกิดสปีชีสใหม่ลักษณะนี้เห็นได้ชัดเจนใน
              ์
วิวัฒนาการของพืช เช่น การเกิดพอลิพลอยดี
ของพืชในการเพิ่มจานวนชุดของโครโมโซม

             พอลิพลอยดีเกิดจากความผิดปกติของกระบวนการแบ่งเซลล์
            แบบไมโอซิสในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ทาให้เซลล์สืบพันธุ์
            มีจานวนโครโมโซม 2 ชุด (2n) เมื่อเซลล์สบพันธุ์นี้เกิดการ
                                                   ื
            ปฏิสนธิจะได้ไซโกตที่มีจานวนโครโมโซมมากกว่า 2 ชุด
            เช่น มีโครโมโซม 3 ชุด (3n) หรือมีโครโมโซม 4 ชุด (4n)
            เป็นต้น การเกิดพอลิพลอยดีอาจเกิดจากสิ่งมีชีวิตสปีชีสเ์ ดียวกัน
            หรือสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีสกัน
                                     ์

                                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
ตัวอย่างการเกิดพอลิพลอยดีของสิงมีชีวิตต่างสปีชีสกน
                              ่                 ์ั
  คือ การทดลองของคาร์ปเิ ชงโก (Karpechengo)




                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
ผักกาดแดง                                            กะหล่าปลี
 รุ่น P         (18 โครโมโซม)                                        (18 โครโมโซม)


 รุ่น F1
ลูกผสม
            เซลล์สืบพันธุ์                     36 โครโมโซม
                                                                              }      18 โครโมโซม
                                                                                    (ผักกาดแดง 9
                                                                                    กะหล่าปลี 9)

            18 โครโมโซม                (ผักกาดแดง 18 กะหล่าปลี 18)           เซลล์สืบพันธุ์
           (ผักกาดแดง 9                                                      18 โครโมโซม
            กะหล่าปลี 9)                                                    (ผักกาดแดง 9
                         รุ่น F2                                             กะหล่าปลี 9)
                         ลูกผสม

                             การเกิดพอลิพลอยดีในสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กัน
                                                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
คาร์ปิเชงโกนักพันธุศาสตร์ชาวรัสเซียซึ่งได้ผสมพันธุผักกาดแดง ซึ่ง
                                                       ์
มีจานวนโครโมโซม 18 โครโมโซม (2n = 18)
กับกระหล่าปลีซึ่งมีจานวนโครโมโซม 18 โครโมโซม (2n = 18)
เท่ากัน พบว่าลูกผสมที่เกิดขึ้นในรุ่น F1 มีขนาดแข็งแรง
แต่ไม่สามารถผสมพันธุ์ต่อไปได้ แต่ลูกผสมในรุ่น F1 บางต้นสามารถ
ผสมพันธุ์กันและได้ลูกผสมในรุ่น F2 ซึ่งมีโอกาสเกิดได้น้อยมาก
เมื่อนาลูกผสมในรุ่น F2 มาตรวจดูโครโมโซมพบว่ามีจานวนโครโมโซม
36 โครโมโซม (2n = 36) และไม่เป็นหมัน




                                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
ถึงแม้ว่าการเกิดสปีชีสใหม่แบบพอลิพลอยดีในสัตว์จะพบได้
                         ์
น้อยกว่าในพืช แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้
    อย่างไรก็ตามยังมีกลไกอื่นอีกที่สามารถทาให้สัตว์เกิดสปีชีส์
ใหม่ แม้ว่าจะยังคงอาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกับบรรพบุรุษ เช่น การ
เปลี่ยนแปลงยีนเพียงไม่กี่ยีนในตัวต่อซึ่งเป็นแมลงช่วยในการผสม
เกสรของพืชพวกมะเดื่อ ทาให้ตัวต่อที่มียีนเปลี่ยนแปลง เลือกไป
อาศัยอยู่ในต้นมะเดื่อสปีชีส์ใหม่ทาให้ไม่มีโอกาสได้พบและผสมกับ
ตัวต่อประชากรเดิม แต่จะได้พบและผสมกับตัวต่อที่มียีน
เปลี่ยนแปลงเหมือนกัน จนกระทั่งเกิดตัวต่อ 2 สปีชีสที่อาศัยอยู่
                                                     ์
ในบริเวณเดียวกันในที่สุด

                                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
 ปัจจัยใดที่ทาให้ตัวต่อสปีชีส์ใหม่เกิดขึ้นในบริเวณเดียวกัน

   ตอบ
             เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงยีนในตัวต่อ
             ทาให้โครงสร้างทางพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงและ
             เกิดเป็นสปีชีส์ใหม่


                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
การพัฒนา
                  กับ
             วิวัฒนาการ

ฉวีวรรณ นาคบุตร
การดื้อสารฆ่าแมลง
       มนุษย์ใช้สารเคมีกาจัดแมลงกันมานาน แม้ว่า
สารเคมีที่ใช้จะได้ผล แต่ความเป็นพิษของสารเคมียังตกค้าง
อยู่ในสภาพแวดล้อมและก่อให้เกิดปัญหาทางด้านมลพิษ
อย่างมาก การใช้ยาฆ่าแมลงครั้งแรกอาจกาจัดแมลงได้ผล
แมลงตายเกือบหมด แต่แมลงบางตัวมียีนต้านทานต่อสาร
ฆ่าแมลงจะมีชีวิตรอดและให้กาเนิดลูกหลานที่มียีนต้านทาน
ต่อสารฆ่าแมลงในประชากรมากขึ้น ทาให้แมลงดื้อยา
จนต้องเปลี่ยนชนิดของยาฆ่าแมลงใหม่



                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
การดื้อยาปฏิชวนะ  ี
            การใช้ยาปฏิชีวนะทาให้แบคทีเรียบางสายพันธุ์ตายไป
บางสายพันธุสามารถต้านทานได้ และมีชีวิตอยู่รอดและสืบทอด
                ์
ไปยังรุ่นต่อไปเจริญขึ้นมาแทนที่ ทาให้มีการดื้อต่อยาปฏิชีวนะ
เพิ่มขึ้น นักวิทยาศาสตร์จึงต้องคิดยาตัวใหม่ขึ้น ในขณะเดียวกัน
กับที่แบคทีเรียมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางพันธุกรรมใน
ประชากรให้ต้านทานยาปฏิชีวนะด้วยเช่นกัน การดื้อยานอกจาก
จะเกิดในระหว่างที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะรักษาโรคแล้ว ยังเกิดจาก
การได้รบยาปฏิชีวนะที่ติดมากับอาหารได้อีกด้วย
          ั


                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
 นักเรียนคิดว่าสารฆ่าแมลงมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
ในประชากรแมลงอย่างไร และสิ่งที่ทาให้เกิดการคัดเลือกในประชากรแมลงคือ
อะไร

   ตอบ
              แมลงที่ไม่มียีนต้านทานสารฆ่าแมลงจะตายไป ส่วนแมลงที่มี
              ยีนต้านทานสารฆ่าแมลงจะยังคงมีชีวิตอยู่ และสืบทอดยีนนี้
              ให้แก่ลูกหลานต่อไป ฉะนั้นยีนบางยีนจะถูกคัดทิ้ง ส่วนยีน
              ที่เหลืออยู่ก็จะมีมากขึ้นในประชากรแมลง ทาให้เกิดการ
              เปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร

                                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
 ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกรจะมีวีหลีกเลี่ยงการใช้สาร
ฆ่าแมลงอย่างไร

ตอบ
         ใช้สิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ล่าหรือศัตรูของแมลงนั้นกาจัด
         แมลง จะทาให้จานวนของแมลงลดลงเรียกว่า ชีววิธี



                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
 นักเรียนคิดว่าควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อป้องกันการดื้อยาของ
  แบคทีเรีย

          รับประทานยาปฏิชีวนะให้ครบตามที่แพทย์สั่งเพื่อป้องกันการดื้อยา
ตอบ
          ของแบคทีเรีย
                    นักเรียนคิดว่าการดื้อยาของแบคทีเรียเป็นกลไกการ
                  เกิดวิวัฒนาการหรือไม่ เพราะเหตุใด

 ตอบ      เป็น เนื่องจากแบคทีเรียที่ไม่มียีนต้านทานต่อยาปฏิชีวนะจะตายไป
          ขณะที่แบคทีเรียที่มียีนต้านทานยาปฏิชีวนะจะยังคงมีชีวิตอยู่และสืบ
          ทอดลักษณะดังกล่าวนี้ไปยังรุนต่อๆไป ทาให้แบคทีเรียมีลักษณะ
                                       ่
          ที่เปลี่ยนแปลงไป หรือเกิดวิวัฒนาการ                  ฉวีวรรณ นาคบุตร
The End


ฉวีวรรณ นาคบุตร

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6TataNitchakan
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานTanachai Junsuk
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 

Viewers also liked

แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซมWan Ngamwongwan
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (16)

แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Similar to กำเนิดสปีชีส์

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์Wan Ngamwongwan
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptrathachokharaluya
 
ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957Myundo
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมwijitcom
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนNokko Bio
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 

Similar to กำเนิดสปีชีส์ (20)

1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
 
ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
1
11
1
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 

More from Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 

กำเนิดสปีชีส์

  • 1. Species ทางชีววิทยา และ การเกิด Species ใหม่ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
  • 2. นกหัวขวานเขียวป่าไผ่ นกหัวขวานเขียวหัวดา นกหัวขวานเขียวตะโพกแดง นกในภาพมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่จัดว่าเป็นคนละสปีชส์เพราะเหตุใด ี ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 3. สปีชส์ (species) ี หมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เรา เห็นว่ามีความคล้ายคลึงกันมาก ดังเช่น สปีชส์ "พัฟฟิน" ี (Puffin) หมายถึง นกกลุมหนึ่งที่พบทั่วไปในแถบแอตแลนติก ่ เหนือ พัฟฟินผสมพันธุในโพรงบนพื้นดิน และมีจะงอยปาก ์ หลายสี ตีนสีสม และมีท่าเดินน่าขบขัน คาอธิบายเช่นนีมี ้ ้ ประโยชน์ แต่นักวิวัฒนาการแยกสิ่งมีชีวิตออกเป็นสปีชีสได้ด้วย ์ วิธีที่ง่ายกว่านี้มาก กล่าวคือ สิ่งมีชีวิตสปีชีสเ์ ดียวกัน จะต้อง ผสมพันธุ์กนได้และมีลูกด้วยกันได้ พัฟฟินจะผสมกับพัฟฟินด้วย ั กันเอง มิใช่กบนกชนิดอื่น เช่น เรเซอร์บิลล์ (razorbill) หรือ ั กิลลิมอต (guillemot) ดังนันนกเหล่านี้จึงเป็นนกต่างสปีชีส์ ้ ไปจากพัฟฟิน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 4. ปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับความหมายของสปีชีส์ ไม่ สามารถประยุกต์ใช้กับสิ่งมีชีวิตได้ทุกชนิด มีนัก ชีววิทยาหลายคนได้ให้แนวคิดเกี่ยกับความหมาย ของสปีชีส์ ไว้ดังนี้ 1. สปีชีสทางด้านสัณฐานวิทยา หมายถึง ์ สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันในลักษณะทาง สัณฐานและโครงสร้างทางกายวิภาค ของ สิ่งมีชีวิตใช้เป็นแนวคิดในการศึกษาด้าน อนุกรมวิธาน 2. สปีชีสทางด้านชีววิทยา หมายถึง ์ สิ่งมีชีวิตที่สามารถผสมพันธุ์กนได้ใน ั ธรรมชาติ ให้กาเนิดลูกที่ไม่เป็นหมัน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 5.  การศึกษาเพื่อจาแนกสปีชีสของซากดึกดาบรรพ์ควรใช้ ์ ความหมายของสปีชีส์ตามแนวคิดใด เพราะเหตุใด ตอบ ควรใช้ความหมายทางสปีชีส์ทางด้านสัณฐานวิทยา เนื่องจากไม่มีโอกาสที่ซากดึกดาบรรพ์จะมาผสมพันธุ์ใน ธรรมชาติได้ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 6. กลไกที่แบ่งแยกการสืบพันธุ์ มีผลยับยั้งมิให้เกิดการผสมพันธุ์ ข้ามสปีชีส์ อาจแบ่งได้เป็น 2 ระดับ 1. กลไกแบ่งแยกระดับก่อนไซโกต (prezygotic isolating mechanism) 2. กลไกการแยกทางสืบพันธ์ระยะหลังไซโกต (postzygotic isolating mechanism) ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 7. กลไกการแยกทางสืบพันธุ์ก่อนระยะไซโกต เป็นกลไกที่ป้องกันไม่ให้เซลล์สืบพันธุ์จากสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีสกัน ์ ได้มาผสมพันธุ์กัน กลไกเหล่านี้ได้แก่ 1. ถิ่นที่อยูอาศัย สิงมีชีวิตต่างสปีชีสกันทีอาศัยในถิ่นที่อยู่ ่ ่ ์ ่ ต่างกัน เช่น กบป่า อาศัยอยู่ในแอ่งน้าซึ่งเป็นแหล่งน้าจืดขนาดเล็ก ส่วนกบบูลฟรอกอาศัยอยูในหนองน้าหรือบึงขนาดใหญ่ที่มีน้า ่ ตลอดปี กบทั้งสองสปีชีสนี้มีลักษณะรูปร่างใกล้เคียงกันมากแต่ ์ อาศัยและผสมพันธุ์ในแหล่งน้าที่แตกต่างกันทาให้ไม่มีโอกาสได้จับ คู่ผสมพันธุกัน์ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 8. กบป่า (Wood frog; Rana sylvatica ) กบบูลฟรอก (Lithobates catesbeianus) ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 9. 2.พฤติกรรมการผสมพันธุ์ เช่น พฤติกรรม ในการเกี้ยวพาราสีของนกยุงเพศผู้ ลักษณะการ รังนกกระจาบ สร้างรังที่แตกต่างกันของนกและการใช้ฟีโรโมน ของแมลง เป็นต้น พฤติกรรมต่างๆ นี้ จะมีผล ต่อสัตว์เพศตรงข้ามในสปีชีส์เดียวกันเท่านั้นที่ จะจับคู่ผสมพันธุ์กัน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 10. 3. ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์ อาจเป็นวัน ฤดูกาล หรือ ช่วงเวลาของการผสมพันธุ์ ตัวอย่างเช่น แมลงหวี่ Drosophila pseudoobscura มีช่วงเวลาเหมาะสมในการผสมพันธุ์ในตอนบ่าย แต่ Drosophila persimilis จะมีช่วงเวลาที่เหมาะสมใน ตอนเช้า ทาให้ไม่มีโอกาสในการผสมพันธุ์กันได้ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 11. 4. โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์ สิ่งมีชีวิตต่างสปีชีสกนจะมีขนาดและ ์ั รูปร่างของอวัยวะสืบพันธุ์แตกต่างกันทาให้ไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้ เช่น โครงสร้างของดอกไม้บางชนิดมีลักษณะสอดคล้องกับลักษณะของแมลง หรือสัตว์บางชนิด ทาให้แมลงหรือสัตว์นั้นๆถ่ายละอองเรณูเฉพาะพืชในสปีชีส์ เดียวกันเท่านั้น โครงสร้างของดอกไม้ที่แตกต่างกัน ก. กลีบดอกที่มีขนาดเหมาะสมกับชนิดของผึ้งตัวเล็ก ข. กลีบดอกที่มีขนาดใหญ่ และเกสรตัวผู้ที่ยาวเหมาะสมกับชนิดของผึ้งตัวใหญ่ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 12. 5. สรีรวิทยาของเซลล์สบพันธุ์ ื เมื่อเซลล์สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตต่างสปีชส์กันมีโอกาสมาพบกัน แต่ไม่ ี สามารถปฎิสนธิกันได้ อาจเป็นเพราะอสุจิไม่สามารถอยู่ภายในร่างกายเพศ เมียได้ หรืออสุจิไม่สามารถสลายสารเคมีที่หุ้มเซลล์ไข่ของสิ่งมีชีวิตต่าง สปีชส์ได้ ี ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 13. 2. กลไกการแยกทางสืบพันธ์ระยะหลังไซโกต . กลไกการแบ่งแยกระยะหลังไซโกต เมื่อกลไกการแบ่งแยกในระดับแรกไม่ อาจป้องกันการผสมพันธุ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต 2 สปีชีส์ (hybridization)ไว้ได้ เกิดการผสมข้ามสปีชีสและเกิดลูกผสม (hybrid) ที่เป็นตัวเต็มวัย แต่ยีนโฟลว์ ์ ระหว่างสปีชีสทั้ง 2 จะไม่เกิด เพราะไซโกตหรือลูกผสมมีองค์ประกอบของยีน ์ (genome = จีโนม) ไม่สอดคล้องกัน เกิดความผิดปกติขึ้นกับลูกผสมคือ 2. 1. ลูกผสมตายก่อนถึงวัยเจริญพันธุ์ เช่น การผสมพันธุ์ กบ (Rana spp.) ต่างสปีชีสกัน พบว่าจะมีการตายของตัว ์ อ่อนในระยะต่างๆกัน และไม่สามารถ เจริญเติบโตเป็นตัว เต็มวัยได้ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 14. 2. 2. ลูกผสมเป็นหมัน เช่น ล่อ เกิดจากการผสมระหว่างม้ากับลา แต่ล่อเป็นหมันไม่สามารถ ให้กาเนิดลูกในรุ่นต่อไปได้ ม้า ลา ล่อ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 15.  ม้ามีโครโมโซมจานวน 64 โครโมโซม ส่วนลามีจานวน โครโมโซม 62 โครโมโซม นักเรียนคิดว่าล่อควรมีจานวนโครโมโซม เท่าใด และเพราะเหตุใดล่อจึงเป็นหมัน ล่อเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ของม้าที่มีจานวน ตอบ 32 โครโมโซม และเซลล์สบพันธุ์ของลาที่มี ื จานวน 31 โครโมโซม ดังนั้นล่อจะมี โครโมโซม 63 โครโมโซม ล่อเป็นหมัน เพราะในการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเพื่อสร้าง เซลล์สืบพันธุ์ โครโมโซมของม้ากับลาจะไม่ มาเข้าคู่กัน ทาให้ได้เซลล์สืบพันธุ์ทผิดปกติ ี่ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 16. - นอกจากล่อแล้วมีลูกผสมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์ชนิดใดอีกบ้าง ตอบ เช่น ไทกอน เกิดจากเสือเพศผู้ผสมกับสิงโต เพศเมีย และไลเกอร์เกิดจากสิงโตเพศผู้ผสมกับ เสือเพศเมีย ไทกอน ไลเกอร์ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 17. 2.3. ลูกผสมล้มเหลว เช่น การผสมระหว่างดอกทานตะวัน(Layia spp.) 2 สปีชีส์ พบว่า ลูกผสมที่เกิดขึ้นสามารถเจริญเติบโต และให้ลูกผสมในรุ่น F1 ได้ แต่ในรุ่น F2 เริ่มอ่อนแอและเป็นหมันประมาณร้อยละ 80 และ จะปรากฏเช่นนี้ในรุ่นต่อๆไป ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 19. การเกิดสปีชสใหม่ี ์ สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันเมื่อแบ่งกันอยู่เป็นกลุ่มย่อยๆ ด้วยสาเหตุจากสภาพภูมิศาสตร์หรือเหตุใดๆก็ตามแล้ว มี ผลให้เกิดการผสมพันธุ์เฉพาะภายในกลุ่ม ไม่ผสมพันธุ์ข้าม กลุ่มซึ่งอาจมีผลมาจากการปรับเปลียนพฤติกรรมในการ ่ สืบพันธุ์ การหาอาหารและอื่นๆ กรณีนี้ ลักษณะของ สิ่งมีชีวิตในประชากรแต่ละกลุ่มจะเปลี่ยนไปจนกลายเป็น สปีชีสใหม่ขึ้น เมื่อกลับมารวมกันอีกครั้งก็ไม่ผสมพันธุ์กัน ์ หรือผสมพันธ์อาจได้ลูกที่เป็นหมัน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 20. ฉวีวรรณ นาคบุตร 1. การเกิดสปีชสใหม่จากการแบ่งแยกทางภูมศาสตร์ ี ์ ิ กลไกการเกิดสปีชีสใหม่ลักษณะนี้ เกิดจากประชากรดั้งเดิมในรุ่น ์ บรรพบุรุษที่เคยอาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน เมื่อมีอุปสรรคมาขวางกั้น เช่น ภูเขา แม่น้า ทะเล เป็นต้น ทาให้ประชากรในรุ่นบรรพบุรุษที่เคย อาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน เกิดการแบ่งแยกออกจากกันเป็นประชากร ย่อยๆและไม่ค่อยมีการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกัน ประกอบกับ ประชากรแต่ละแห่งต่างก็มีการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบทางพันธุกรรม ไปตามทิศทางการคัดเลือกโดยธรรมชาติจนกระทั่งเกิดเป็นสปีชีสใหม่ ์
  • 21.  เพราะเหตุใดประชากรของสิ่งมีชีวิตที่แยกจากกันในลักษณะนี้ เมื่อกลับมาอยู่ร่วมกันอีกครั้งจึงไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้อีก ตอบ เนื่องจากยีนพูลของประชากรทั้งสอง แตกต่างกัน ทาให้ไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 22. การเกิดสปีชีสใหม่ในลักษณะแบบนี้เป็นกระบวนการค่อยเป็นค่อยไป ์ อาจใช้เวลานานนับเป็นพัน ๆ หรือล้าน ๆ รุ่น เช่น กระรอก 2 สปีชีสในรัฐอริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกัน ์ มาก แต่พบว่าอาศัยอยู่บริเวณขอบเหว แต่ละด้านของแกรนด์แคนยอน ซึ่งเป็นหุบผาที่ลึกและกว้าง นักชีววิทยาเชื่อกันว่ากระรอก 2 สปีชีสนี้ ์ เคยอยูในสปีชีสเ์ ดียวกันมาก่อน ที่จะเกิดการแยกของแผ่นดินขึ้น ่ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 23. A.harrisi A.leucurus ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 24. การเกิดสปีชีสใหม่ของกุ้งในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลคาริเบียนจากกุ้งสปีชีสเ์ ดียวกันแต่ ์ ถูกแยกกันด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ ที่มารูปภาพ :http://www.atom.rmutphysics.com/CHARUD/scibook/bio2/chapter6/image/i magedifuse1.jpg ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 26.  นักเรียนคิดว่ากลไกใดที่ทาให้สมาชิกของประชากรเดียวกันและอาศัย อยู่ในพื้นที่เดียวกันไม่สามารถเกิดการถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีนระหว่างกันได้ ตอบ การเปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซมของประชากรทาให้ ประชากรทีมีจานวนโครโมโซมเปลี่ยนแปลงไปไม่สามารถ ่ ผสมพันธุ์กบประชากรดั้งเดิม ั ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 27. การเกิดสปีชีสใหม่ลักษณะนี้เห็นได้ชัดเจนใน ์ วิวัฒนาการของพืช เช่น การเกิดพอลิพลอยดี ของพืชในการเพิ่มจานวนชุดของโครโมโซม พอลิพลอยดีเกิดจากความผิดปกติของกระบวนการแบ่งเซลล์ แบบไมโอซิสในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ทาให้เซลล์สืบพันธุ์ มีจานวนโครโมโซม 2 ชุด (2n) เมื่อเซลล์สบพันธุ์นี้เกิดการ ื ปฏิสนธิจะได้ไซโกตที่มีจานวนโครโมโซมมากกว่า 2 ชุด เช่น มีโครโมโซม 3 ชุด (3n) หรือมีโครโมโซม 4 ชุด (4n) เป็นต้น การเกิดพอลิพลอยดีอาจเกิดจากสิ่งมีชีวิตสปีชีสเ์ ดียวกัน หรือสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีสกัน ์ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 28. ตัวอย่างการเกิดพอลิพลอยดีของสิงมีชีวิตต่างสปีชีสกน ่ ์ั คือ การทดลองของคาร์ปเิ ชงโก (Karpechengo) ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 29. ผักกาดแดง กะหล่าปลี รุ่น P (18 โครโมโซม) (18 โครโมโซม) รุ่น F1 ลูกผสม เซลล์สืบพันธุ์ 36 โครโมโซม } 18 โครโมโซม (ผักกาดแดง 9 กะหล่าปลี 9) 18 โครโมโซม (ผักกาดแดง 18 กะหล่าปลี 18) เซลล์สืบพันธุ์ (ผักกาดแดง 9 18 โครโมโซม กะหล่าปลี 9) (ผักกาดแดง 9 รุ่น F2 กะหล่าปลี 9) ลูกผสม การเกิดพอลิพลอยดีในสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กัน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 30. คาร์ปิเชงโกนักพันธุศาสตร์ชาวรัสเซียซึ่งได้ผสมพันธุผักกาดแดง ซึ่ง ์ มีจานวนโครโมโซม 18 โครโมโซม (2n = 18) กับกระหล่าปลีซึ่งมีจานวนโครโมโซม 18 โครโมโซม (2n = 18) เท่ากัน พบว่าลูกผสมที่เกิดขึ้นในรุ่น F1 มีขนาดแข็งแรง แต่ไม่สามารถผสมพันธุ์ต่อไปได้ แต่ลูกผสมในรุ่น F1 บางต้นสามารถ ผสมพันธุ์กันและได้ลูกผสมในรุ่น F2 ซึ่งมีโอกาสเกิดได้น้อยมาก เมื่อนาลูกผสมในรุ่น F2 มาตรวจดูโครโมโซมพบว่ามีจานวนโครโมโซม 36 โครโมโซม (2n = 36) และไม่เป็นหมัน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 31. ถึงแม้ว่าการเกิดสปีชีสใหม่แบบพอลิพลอยดีในสัตว์จะพบได้ ์ น้อยกว่าในพืช แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้ อย่างไรก็ตามยังมีกลไกอื่นอีกที่สามารถทาให้สัตว์เกิดสปีชีส์ ใหม่ แม้ว่าจะยังคงอาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกับบรรพบุรุษ เช่น การ เปลี่ยนแปลงยีนเพียงไม่กี่ยีนในตัวต่อซึ่งเป็นแมลงช่วยในการผสม เกสรของพืชพวกมะเดื่อ ทาให้ตัวต่อที่มียีนเปลี่ยนแปลง เลือกไป อาศัยอยู่ในต้นมะเดื่อสปีชีส์ใหม่ทาให้ไม่มีโอกาสได้พบและผสมกับ ตัวต่อประชากรเดิม แต่จะได้พบและผสมกับตัวต่อที่มียีน เปลี่ยนแปลงเหมือนกัน จนกระทั่งเกิดตัวต่อ 2 สปีชีสที่อาศัยอยู่ ์ ในบริเวณเดียวกันในที่สุด ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 32.  ปัจจัยใดที่ทาให้ตัวต่อสปีชีส์ใหม่เกิดขึ้นในบริเวณเดียวกัน ตอบ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงยีนในตัวต่อ ทาให้โครงสร้างทางพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงและ เกิดเป็นสปีชีส์ใหม่ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 33. การพัฒนา กับ วิวัฒนาการ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 34. การดื้อสารฆ่าแมลง มนุษย์ใช้สารเคมีกาจัดแมลงกันมานาน แม้ว่า สารเคมีที่ใช้จะได้ผล แต่ความเป็นพิษของสารเคมียังตกค้าง อยู่ในสภาพแวดล้อมและก่อให้เกิดปัญหาทางด้านมลพิษ อย่างมาก การใช้ยาฆ่าแมลงครั้งแรกอาจกาจัดแมลงได้ผล แมลงตายเกือบหมด แต่แมลงบางตัวมียีนต้านทานต่อสาร ฆ่าแมลงจะมีชีวิตรอดและให้กาเนิดลูกหลานที่มียีนต้านทาน ต่อสารฆ่าแมลงในประชากรมากขึ้น ทาให้แมลงดื้อยา จนต้องเปลี่ยนชนิดของยาฆ่าแมลงใหม่ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 35. การดื้อยาปฏิชวนะ ี การใช้ยาปฏิชีวนะทาให้แบคทีเรียบางสายพันธุ์ตายไป บางสายพันธุสามารถต้านทานได้ และมีชีวิตอยู่รอดและสืบทอด ์ ไปยังรุ่นต่อไปเจริญขึ้นมาแทนที่ ทาให้มีการดื้อต่อยาปฏิชีวนะ เพิ่มขึ้น นักวิทยาศาสตร์จึงต้องคิดยาตัวใหม่ขึ้น ในขณะเดียวกัน กับที่แบคทีเรียมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางพันธุกรรมใน ประชากรให้ต้านทานยาปฏิชีวนะด้วยเช่นกัน การดื้อยานอกจาก จะเกิดในระหว่างที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะรักษาโรคแล้ว ยังเกิดจาก การได้รบยาปฏิชีวนะที่ติดมากับอาหารได้อีกด้วย ั ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 36.  นักเรียนคิดว่าสารฆ่าแมลงมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล ในประชากรแมลงอย่างไร และสิ่งที่ทาให้เกิดการคัดเลือกในประชากรแมลงคือ อะไร ตอบ แมลงที่ไม่มียีนต้านทานสารฆ่าแมลงจะตายไป ส่วนแมลงที่มี ยีนต้านทานสารฆ่าแมลงจะยังคงมีชีวิตอยู่ และสืบทอดยีนนี้ ให้แก่ลูกหลานต่อไป ฉะนั้นยีนบางยีนจะถูกคัดทิ้ง ส่วนยีน ที่เหลืออยู่ก็จะมีมากขึ้นในประชากรแมลง ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 37.  ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกรจะมีวีหลีกเลี่ยงการใช้สาร ฆ่าแมลงอย่างไร ตอบ ใช้สิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ล่าหรือศัตรูของแมลงนั้นกาจัด แมลง จะทาให้จานวนของแมลงลดลงเรียกว่า ชีววิธี ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 38.  นักเรียนคิดว่าควรปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อป้องกันการดื้อยาของ แบคทีเรีย รับประทานยาปฏิชีวนะให้ครบตามที่แพทย์สั่งเพื่อป้องกันการดื้อยา ตอบ ของแบคทีเรีย  นักเรียนคิดว่าการดื้อยาของแบคทีเรียเป็นกลไกการ เกิดวิวัฒนาการหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ เป็น เนื่องจากแบคทีเรียที่ไม่มียีนต้านทานต่อยาปฏิชีวนะจะตายไป ขณะที่แบคทีเรียที่มียีนต้านทานยาปฏิชีวนะจะยังคงมีชีวิตอยู่และสืบ ทอดลักษณะดังกล่าวนี้ไปยังรุนต่อๆไป ทาให้แบคทีเรียมีลักษณะ ่ ที่เปลี่ยนแปลงไป หรือเกิดวิวัฒนาการ ฉวีวรรณ นาคบุตร