SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
Reading List สัปดาห์ที่ 6 นายวิเชียร วงค์วัน 58032447
เรื่องที่ 1
Blended learning การเรียนรู้แบบผสมผสาน
Blended learning การเรียนรู้แบบผสมผสาน
เบล็นเด็ด เลินนิ่ง หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ ที่ผสมผสานรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการ
เรียนรู้ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ผสมผสานกับการเรียนรู้นอกห้องเรียนที่ผู้เรียนผู้สอนไม่เผชิญหน้ากัน หรือการใช้
แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่หลากหลาย กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเกิดขึ้นจากยุทธวิธี การเรียนการสอนที่หลาก
รูปแบบ เป้าหมายอยู่ที่การให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้เป็นสาคัญ
การ สอนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานนั้น ผู้สอน สามารถใช้วิธีการสอน สองวิธีหรือมากกว่า ในการ
เรียนการสอน เช่น ผู้สอนนาเสนอเนื้อหาบทเรียนผ่านเทคโนโลยีผนวกกับการสอนแบบเผชิญหน้า แต่หลังจาก
นั้นผู้สอนนาเนื้อหาบทความแขวนไว้บนเว็บ จากนั้นติดตามการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อีเลิน
นิ่ง ด้วยระบบแอลเอ็มเอส (Learning Management System ) ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องแล็บ หลังจากนั้น
สรุปบทเรียน ด้วยการอภิปรายร่วมกับอาจารย์ผู้สอนในห้องเรียน
"Blended learning เป็นสิ่งสาคัญของการศึกษาและเทคโนโลยี,blended learning มีการใช้งานที่เพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็ว,เป็นการบูรณาการระหว่างการเรียนในชั้น เรียนและการเรียนแบบออนไลน์,สามารถช่วยส่งเสริมการ
เรียนรู้ของผู้เรียนและการใช้เวลาในชั้นเรียนได้เหมาะสม"
2
การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning)
การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning)การเรียนแบบผสมผสาน เป็นการรวมกันหรือนาสิ่งต่างๆมาผสม
โดยที่สิ่งที่ถูกผสมนั้น คือ
- รวม รูปแบบการเรียนการสอน
- รวม วิธีการเรียนการสอน
- รวมการเรียนแบบออนไลด์และรูปแบบการเรียนการสอนในชั้นเรียนการเติบโตของการเรียนแบบ
ผสมผสานตั้งแต่ อดีต ปัจจุบันและอนาคตการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยในอดีตนั้น การเรียนแบบผสมผสาน
คือส่วนที่ได้มีการรวมเข้าหากันจาก 2 รูปแบบสภาพแวดล้อมของการเรียนแบบเดิมนั้นก็คือ การเรียนแบบ
เผชิญหน้าในชั้นเรียนกับ การเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งในอดีตนั้นการเรียนทั้ง 2 รูปแบบจะมีช่องว่างหรือระยะห่าง
ระหว่างกันค่อยข้างมาก คือจะมีการจัดการเรียนการสอนเฉพาะของตัวเองมีรูปแบบ และการดาเนินการใน
รูปแบบที่ต่างกันเพราะว่าต่างก็ใช้สื่อและเครื่องมือที่ แตกต่างกัน และมีสถานที่ในการเรียนที่แตกต่างกันเพราะมี
กลุ่มผู้เรียนที่ต่างกันด้วย แต่ในขณะเดียวกันนั้นการเรียนแบบทางไกลก็กาลังมีการเติบโตและแผ่ขยายอย่าง
รวดเร็วซึ่งได้เข้ามาในรูปของเทคโนโลยีใหม่ ที่มีความเป็นไปได้อย่างสูงที่การเรียนแบบออนไลน์นั้นจะมีการ
แผ่ขยายเข้ามา สู่การเรียนในชั้นเรียนอย่างรวดเร็วในปัจจุบันการเรียนแบบออนไลน์นั้นได้เข้ามามีส่วนร่วมใน
การติดต่อสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ร่วมในการเรียนการสอนใน ชั้นเรียนเกิดเป็นการเรียนแบบผสมผสานขึ้นมา
ซึ่งคาดว่าในอนาคตนั้นการเรียน แบบผสมผสานจะมีการขยายตัวที่มากขึ้นตามรูปแบบการเรียนแบบออนไลน์ที่
จะมีการ เติบโตขึ้นมากกว่าปัจจุบัน จึงส่งผลให้การเรียนแบบผสมผสานนั้นมีการขยายวงกว้างออกไปจากเดิม
ยิ่งขึ้นอีก ด้วย
ข้อดี-ข้อเสีย
การเรียนแบบผสมผสานสรุป Blended Learning การเรียนการสอนแบบผสมผสาน ความหมายและความสาคัญ
1. การเรียนแบบผสมผสาน (blended learning) เป็นการเรียนที่ใช้กิจกรรมที่ต้องออนไลน์และการพบปะกัน
ในห้องเรียนจริง (hybrid) โดยใช้สื่อที่มีความหลากหลายเหมาะกับบริบทและสถานการณ์ การเรียนรู้ เพื่อ
ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
2. การเรียนแบบผสมผสาน เป็นการรวมกันหรือนาสิ่งต่าง ๆ มาผสม โดยที่สิ่งที่ถูกผสมนั้น การเรียนอาจจะ
เรียนในห้องเรียน 60% เรียนบนเว็บ 40% ไม่ได้มีกฎตายตัวว่าจะต้องผสมผสานกันเท่าใด เช่น- รวม รูปแบบการ
เรียนการสอน- รวม วิธีการเรียนการสอน- รวมการเรียนแบบออนไลน์ และรูปแบบการเรียนการสอนในชั้น
เรียน
3
3. การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเติบโตของการเรียนแบบผสมผสานตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน
และอนาคตการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยในอดีตนั้น การเรียนแบบผสมผสานคือส่วนที่ได้มีการรวมเข้าหากัน
จาก 2 รูปแบบ
3.1 สภาพแวดล้อมของการเรียนแบบเดิม นั้นก็คือการเรียนแบบเผชิญหน้าในชั้นเรียน
3.2 การเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งในอดีตนั้นการเรียนทั้ง 2 รูปแบบจะมีช่องว่างหรือระยะห่างระหว่างกันค่อย
ข้างมาก คือจะมีการจัดการเรียนการสอนเฉพาะของตัวเองมีรูปแบบ และการดาเนินการในรูปแบบที่ต่างกัน
เพราะว่าต่างก็ใช้สื่อและเครื่องมือที่ แตกต่างกัน และมีสถานที่ในการเรียนที่แตกต่างกันเพราะมีกลุ่มผู้เรียนที่
ต่างกันด้วย แต่ในขณะเดียวกันนั้นการเรียนแบบทางไกลก็กาลังมีการเติบโตและแผ่ขยายอย่าง รวดเร็ว ซึ่งได้เข้า
มาในรูปของเทคโนโลยีใหม่ ที่มีความเป็นไปได้อย่างสูงที่การเรียนแบบออนไลน์นั้นจะมีการแผ่ขยายเข้ามา สู่
การเรียนในชั้นเรียนอย่างรวดเร็วในปัจจุบันการเรียนแบบออนไลน์นั้นได้เข้ามามีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสาร
และมีปฏิสัมพันธ์ร่วม ในการเรียนการสอนในชั้นเรียนเกิดเป็นการเรียนแบบผสมผสานขึ้นมาซึ่งคาดว่าใน
อนาคตนั้นการเรียนแบบผสมผสานจะมีการขยายตัวที่มากขึ้นตามรูปแบบการเรียน แบบออนไลน์ที่จะมีการ
เติบโตขึ้นมากกว่าปัจจุบัน จึงส่งผลให้การเรียนแบบผสมผสานนั้นมีการขยายวงกว้างออกไปจากเดิมยิ่งขึ้นอีก
ด้วย
สรุป
1. การเรียนการสอนแบบผสมผสาน Blended Learning เป็นการเรียนรู้แบบผสมผสานหลากหลายวิธี เพื่อให้
ผู้เรียนได้มีการเรียนรู้ที่หลากหลาย และเพื่อผู้เรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพเหมาะกับบริบทและสถานการณ์ การ
เรียนรู้และตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลเกิดการเรียนรู้และเกิดทักษะ ด้านการปฏิบัติ (Practice Skill )
โดยใช้เทคโนโลยีเช่น การเรียนการสอนในชั้นเรียนร่วมกับการเรียนการสอนแบบออนไลน์(a combination of
face-to-face and Onine Learning) การเรียนแบบหมวก 6 ใบ, สตอรี่ไลน์ จุดมุ่งหมายสูงสุดอยู่ที่ผู้เรียน โดย
อัตราส่วนการผสมผสาน จะขึ้นอยู่กับลักษณะเนื้อหา และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กรณี - ครูผู้สอน
สั่งงานทาง e-mail หรือ chatroom หรือ webbord ถือเป็นการเรียนรู้แบบผสมผสาน- ครูสั่งให้ส่งงานเป็นรูปเล่ม
รายงานถือว่าเป็นการเรียนรู้แบบผสมผสานเช่นกัน เพราะต้องไปค้นคว้าสืบค้นข้อมูลและนามาอภิปราย สรุป
เนื้อหาเป็นแนวเดียวกัน ผู้เรียนทุกคนเข้าใจตรงกัน
2. การใช้งานจริง ณ ขณะนี้ สรุปการใช้Blended Learning ในองค์กร หรือบริษัท ช่วยในการประชุมการ
สั่งงาน โดยมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตระบบเครือข่าย ส่วนมาก นิยมใช้ระบบ LMS เป็นระบบการบริหาร ผ่าน
Severเป็นระบบเครือข่ายผู้ใช้งานในระบบ
2.1 กลุ่มผู้บริหาร Administrator ทาหน้าที่ดูแลระบบ
4
2.2 กลุ่ม ครู อาจารย์Instructor/ teacher ทาหน้าที่สอน
2.3 กลุ่มผู้เรียน Student /Guest นักเรียน นักศึกษาสาหรับขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน
ของ Beijing Normal University (BNU) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักดังนี้
1. ขั้นก่อนการวิเคราะห์(Pre-Analysis) เป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบการเรียนรู้แบบ
ผสมผสาน ประกอบการพิจารณาข้อมูลทั่ว ๆ ไป ได้แก่
1.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของผู้เรียน
1.2 การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
1.3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการเรียนรู้แบบผสมผสานผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนแรก จะ
เป็นรายงานผลที่จะนาไปใช้ในขั้นต่อไป
2. ขั้นการออกแบบกิจกรรมและการออกแบบวัสดุการเรียนรู้ (Design of Activity and Resources)
เป็นขั้นตอนที่สองที่นาผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนแรกมาออกแบบกิจกรรมและวัสดุ การเรียนรู้ ซึ่งจาแนก
ออกเป็น 3 ส่วนย่อย ๆ ได้แก่
2.1 การออกแบบภาพรวมของการเรียนรู้แบบผสมผสาน ประกอบด้วย
- กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละหน่วยเรียน
- กลยุทธ์การนาส่งบทเรียนในการเรียนรู้แบบผสมผสาน
- ส่วนสนับสนุนการเรียนรู้แบบผสมผสาน
2.2 การออกแบบกิจกรรมแต่ละหน่วยเรียนประกอบด้วย
- นิยามผลการกระทาของผู้เรียน
- กิจกรรมในแต่ละวัตถุประสงค์
- การจัดกลุ่มของกิจกรรมทั้งหมด
- การประเมินผลในแต่ละหน่วยเรียน
2.3 การออกแบบและพัฒนาวัสดุการเรียนรู้ประกอบด้วย
- การเลือกสรรเนื้อหาสาระ
- การพัฒนากรณีต่าง ๆ
- การนาเสนอผลการออกแบบและการพัฒนาผลที่ได้จากขั้นตอนที่สอง จะเป็นรายละเอียดของ
การออกแบบบทเรียนในแต่ละส่วน
3. ขั้นการประเมินผลการเรียนการสอน (Instructional Assessment) เป็นขั้นตอนสุดท้ายในการ
ออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานประกอบด้วย
5
3.1 การประเมินผลขั้นตอนการเรียนรู้
3.2 การจัดการสอบตามหลักสูตร
3.3 การประเมินผลกิจกรรมทั้งหมดผลที่ได้จากขั้นตอนสุดท้าย จะนาไปพิจารณาตรวจปรับ
กระบวนการออกแบบในแต่ละขั้นที่ผ่านมาทั้งหมด เพื่อให้การเรียนรู้แบบผสมผสานมีประสิทธิภาพ
และเกดประสิทธิผลกับผู้เรียน อย่างแท้จริง
ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน
การเรียนรู้แบบผสมผสานมีสิ่งต่างๆจะต้องพิจารณา ดังนี้
1. เพิ่มทางเลือกของวิธีการนาส่งการเรียนรู้ไปยังผู้เรียนให้มีความหลากหลายมากขึ้น จะเป็นปัจจัย
สาคัญสาหรับผู้ออกแบบ
2. เกณฑ์การตัดสินความสาเร็จในการเรียนรู้แบบผสมผสานไม่ได้มีเพียงเกณฑ์เดียว เช่น รูปแบบการ
เรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ ซึ่งสามารถนามาพิจารณาร่วมกันได้
3. การออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานจะต้องพิจารณาประเด็นของความเร็วในการเรียน รู้ ขนาด
ของผู้เรียน และการสนับสนุนช่วยเหลือผู้เรียน
4. สภาพแวดล้อมทางการเรียนของผู้เรียน จะมีความแตกต่างกันเป็นธรรมชาติซึ่งการจัดการเรียนรู้
จะต้องสนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์เป็นสาคัญ
5. หน้าที่ของผู้เรียน จะต้องศึกษาและค้นพบตัวเอง เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ตามศักยภาพของตนเอง
6. การออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานต้องการทีมงานออกแบบที่มีความรู้เรื่องการปรับปรุงด้าน
ธุรกิจด้วยเช่นกัน
กรณี - การเรียนการสอนทางไกลของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ) ถือว่าเป็นการเรียนการ
สอนแบบผสมผสานเช่นกัน
- คอร์สการเรียนภาษาอังกฤษทางไกล ของ แอนดรูส์ บิ๊ก ที่ใช้ระบบ(Bkended Learning for Distance
Learning) ซึ่งสามารถสอนนักเรียนพร้อมกันทีเดียวได้เป็นพันคน
3. ประโยชน์ ข้อดีและข้อเสีย
ประโยชน์ ข้อดี
6
1. แบ่งเวลาเรียนอย่างอิสระ
2. เลือกสถานที่เรียนอย่างอิสระ
3. เรียนด้วยระดับความเร็วของตนเอง
4. สื่อสารอย่างใกล้ชิดกับครูผู้สอน
5. การผสมผสานระหว่างการเรียนแบบดั้งเดิมและแบบอนาคต
6. เรียนกับสื่อมัลติมีเดีย
7. เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Child center
8. ผู้เรียนสามารถมีเวลาในการค้นคว้าข้อมูลมาก สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างดี
9. สามารถส่งเสริมความแม่นยา ถ่ายโอนความรู้จากผู้หนึ่งไปยังผู้หนึ่งได้สามารถทราบผลปฏิบัติย้อนกลับ
ได้รวดเร็ว (กาเย่)
10. สร้างแรงจูงใจในบทเรียนได้(กาเย่)
11. ให้แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้(กาเย่)
12. สามารถทบทวนความรู้เดิม และสืบค้นความรู้ใหม่ได้ตลอดเวลา (กาเย่)
13. สามารถหลีกเลี่ยงสิ่งที่รบกวนภายในชั้นเรียนได้ทาให้ผู้เรียนมีสมาธิในการเรียน
14. ผู้เรียนมีช่องทางในการเรียน สามารถเข้าถึงผู้สอนได้
15. เหมาะสาหรับผู้เรียนที่ค่อนข้างขาดความมั่นใจในตัวเอง
16. ใช้ในบริษัท หรือองค์กรต่างๆ สามารถลดต้นทุนในการอบรม สัมมนาได้
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถแสดงความคิดเห็น หรือถ่ายทอดความคิดเห็นอย่างรวดเร็ว
2. มีความล่าช้าในการปฏิสัมพันธ์
3. การมีส่วนร่วมน้อย โดยผู้เรียนไม่สามารถมีส่วนร่วมทุกคน
4. ความไม่พร้อมด้าน ซอฟแวร์ Software บางอย่างมีราคาแพง (ของจริง)
5. ใช้งานค่อนข้างยาก สาหรับผู้ไม่มีความรู้ด้าน ซอฟแวร์ Software
6. ผู้เรียนบางคนคิดว่าไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน เพราะราคาอุปกรณ์ค่อนข้างสูง
7. ผู้เรียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าถึงข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
8. ผู้เรียนต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองอย่างสูง ในการเรียนการสอนแบบนี้
9. ความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคนเป็นอุปสรรคในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
10. สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมในการใช้เครือข่าย หรือระบบอินเทอร์เน็ต เกิดปัญหาด้านสัญญาณ
11. ขาดการปฏิสัมพันธ์แบบ face to faec (เรียลไทม์)
7
ความเป็นไปได้ในการไปใช้งานจริงของ Blened Learning การเรียนการสอนแบบผสมผสาน
1. มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุค ICT ทาให้มีการเรียนรู้ที่หลากหลายวิธี เช่น 2 วิธี หรือมากกว่านั้นได้
2. ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้e-Learning
3. สามารถนาไปใช้ได้จริงในสถานศึกษา เช่น โรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย รวมไปถึง บริษัท องค์กร ต่าง ๆ เพื่อ
ประหยัดงบประมาณและต้นทุน
4. เป็นไปได้หรือไม่ในการนาไปใช้งานได้จริงขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ความเหมาะสมขององค์ประกอบใน
การจัดการเรียนการสอน อุปกรณ์ ผู้เรียน และผู้สอน
เอกสารอ้างอิง
อภิชาต อนุกูลเวช.2552.Blended learning การเรียนรู้แบบผสมผสาน.(ออนไลน์).แหล่งที่มา:
http://www.chontech.ac.th/~abhichat/1/index.php?option=com_content&task=view&id=222.15 กุมภาพันธ์
2559
8
เรื่องที่ 2
การเรียนรู้แบบผสมผสาน ด้วยสื่อสังคม Online เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน
ทิพวรรณ มีพึ่ง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยพณิชยการเจ้าพระยา กรุงเทพฯ
การเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน
Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning.
ทิพวรรณ มีพึ่ง1
Tippawan Meepung1
บทคัดยอ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาความพึงพอใจตอการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม
Online และ หาประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวย Blogger โดยทําการศึกษาดวยวิธีการสํารวจ
ความพึงพอใจ จากกลุมตัวอยางนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา
2555 สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ ภาคพิเศษ จํานวน 30 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ สื่อสังคม Online และ
แบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ใชคาสถิติ รอยละ คาเฉลี่ย คาความ
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย
สวนที่ 1 เกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของนักศึกษา นักศึกษา เปนเพศชาย 11 คน (รอยละ 36.67) เพศหญิง
19 คน (รอยละ 63.33) อายุมากที่สุดอยูในชวง 20-25 คือ 20 คน (รอยละ 66.67) จบการศึกษาระดับ ปวช.
11 คน (รอยละ 36.67) กศน. 6 คน (รอยละ 20.00) ม.6 13 คน(รอยละ 43.33) เปน ลูกจาง/พนักงาน 26 คน
(รอยละ 86.67) วางงาน 4 คน (รอยละ 13.33) สื่อสังคม Online ที่ใชงานบอยที่สุดคือ Facebook 25 คน (รอย
ละ 83.33) ไมเคยใช 5 คน (รอยละ 16.67)
สวนที่ 2 เกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษา 1. ดานการใชงานสื่อสังคม Online อยูในระดับ มาก
( =3.59) 2.ดานการจัดการเรียนการสอน อยูในระดับ มาก ( =3.61) 3.ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบ
ผสมผสาน ดวย Blogger อยูในระดับ มาก ( =3.80)
คําสําคัญ : การเรียนรูแบบผสมผสาน สื่อสังคมออนไลน
ABSTRACT
This study aimed to study Blended Learning with Social Media Online and Effective
teaching and learning with Blogger. Were studied by means of a satisfaction survey. The samplings
for this study were the 30 registry students in first term on academic year 2012 on Chaopraya
Commercial Technological College Department of Computer Business Diploma Year 2
A questionnaire was used as the tools in this research and Social Media Online. Data was analyzed
by using The percentage, mean, standard deviation.
The results part 1were found that there were 11 males (36.67 %) 19 females (63.33%) 20-25
age 20 (66.67%) basic of education is Diploma 11 (36.67%). Non-formal education 6 (20%). high
school education 13 (43.33%). The status is Employees 26 (86.66 %) Unemployed 4 (13.33 %) and
use social media Online-Facebook 25 (83.33.%) unused 5 (16.67 %).
The second part about the Complacency of Blended Learning with Social Media Online for
Effective teaching and learning. Was in the subject 1 Use of social media Online at a high level
(X ̅ = 3.57) subject 2 The teaching and learning at a high level (X ̅ = 3.61) and subject 3 Effectiveness
of blended learning with social media Online at a high level (X ̅ = 3.80)
Key Words : Blended Learning, Social Media Online
e-mail address : kmee01@gmail.com
1
สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจาพระยา กรุงเทพฯ 10400
Department of Computer Business, Chaopraya Commercial Technological College, Bangkok 10400
คํานํา
การจัดการศึกษาของประเทศไทยตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15
การจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ เปนการศึกษาที่กําหนดจุดมุงหมายวิธีการศึกษาหลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขของการสําเร็จการศึกษาที่แนนอน การศึกษานอก
ระบบ เปนการศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของ
การศึกษาการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญของการ สําเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมี
ความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของบุคคลแตละกลุม การศึกษาตามอัธยาศัยเปน
การศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความ สนใจศักยภาพความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล
ประสบการณสังคม สภาพแวดลอม สื่อ หรือแหลงความรูอื่นๆการจัดการเรียนการสอนปจจุบัน ผูสอนสามารถนํา
เทคโนโลยีที่มีอยู ผสมผสานกับ กระบวนการจัดการเรียนรู โดยใหเทคโนโลยีเปนตัวกลาง ระหวางผูสอน กับ
ผูเรียนไดทั้งในหองเรียน หรือนอกหองเรียน ไมมีขอจํากัดเรื่องเวลา
สื่อสังคม Online (พิชิต, 2554) คือ สื่อที่ผูสงสารแบงปนสาร ซึ่งอยูในรูปแบบตางๆ ไปยังผูรับสาร
ผานเครือขาย Online โดยสามารถโตตอบกันระหวางผูสงสารและผูรับสาร หรือผูรับสารดวยกันเอง ซึ่งสามารถ
แบงสื่อสังคม Onlineออกเปนประเภทตางๆ ที่นิยมใชกันคือ บล็อก (Blogging) ทวิตเตอรและไมโครบล็อก
(Twitter and Microblogging) เครือขายสังคม Online (Social Networking) และการแบงปนสื่อทาง Online
(Media Sharing)
การเรียนการสอนในชั้นเรียน มีหลายขอจํากัดที่ผูสอนไมสามารถควบคุมได เชนดานระยะเวลาการ
เรียนของนักศึกษาภาคพิเศษที่มีนอยกวาภาคปกติ กิจกรรมเสริมระหวางการศึกษา พฤติกรรมการเขาเรียน
พื้นฐานการศึกษาเดิมการขาดเรียนคือปจจัยหลักที่กอใหเกิดความไมตอเนื่องในการเรียนการสอนและกอใหเกิด
ความไมเขาใจสงผลใหเกิดการเรียนตามไมทันความเบื่อหนายดังนั้นผูวิจัยจึงเลือกใชสื่อสังคมOnlineBlogger
ประเภท Blogspot ดวยสื่อการสอนที่ผูสอนสรางขึ้น เชน สื่อ Ms.word, Ms.Excel, Ms.PowerPoint, สื่อวีดีโอ
ดวยการเรียนรูแบบผสมผสาน ในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน ใชในการรวบรวมสื่อการสอนจากผูสอน เปนแหลง
ติดตอสื่อสารระหวางผูสอนกับผูเรียน เพื่อเกิดความตอเนื่องในการเรียน เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรูและ
เกิดการใชเทคโนโลยีใหเกิดประโยชนสูงสุด
วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online
2. เพื่อหาประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวย Blogger
ประโยชนของการวิจัย
1. นําผลการวิจัยที่ไดไปปรับปรุง การเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Onlineใหดียิ่งขึ้น
2. ทราบถึงความคิดเห็นตอการใชงานสื่อสังคม Online เพื่อหาสื่อสังคม Online ที่เหมาะสมมาใชเปนสื่อกลาง
ในการเรียนการสอน
3. เพื่อแกปญหาขอจํากัดการเรียนการสอน
4. เพื่อกอใหเกิดความตอเนื่องในการเรียนการสอน
5. ผูเรียนเกิดการใชเทคโนโลยีใหเกิดประโยชนสูงสุด
6. ไดแหลงรวบรวมเนื้อหารายวิชาที่สรางจากสื่อตางๆ ไวที่เดียวกัน
7. ไดชองทางการติดตอสื่อสารระหวางผูสอนกับผูเรียนอีกหนึ่งชองทาง
ขอบเขตการวิจัย
ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักศึกษาศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ภาคพิเศษ
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจาพระยา สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ
Concept for Research
Figure 1 Concept of Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning
การเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended learning)
Blended learning เปนการผสมผสานวิธีหลายๆวิธีเพื่อใชในการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนเกิด
การเรียนรู( teaching and learning ) เชน การสอนในชั้นเรียนดวยการสอนผานเครือขาย ( a combination of
face-to-face and Online Learning) ซึ่งตรงกับความคิดของที่วา ไมมีวิธีการสอนแบบใดแบบหนึ่งที่จะชวยให
ผูเรียนเกิดการเรียนรูได ตองอาศัยวิธีการหลายๆ วิธีนํามาผสมผสานกัน จึงจะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และ
Blended learning เหมาะกับการศึกษาดานวิชาชีพ การฝกอบรม การพัฒนาทักษะดานฝมือที่ตองอาศัยความ
Satisfaction with the
teaching and learning.
by using Social Media
Online
การเรียนรูแบบผสมผสาน
( Blended Learning )
Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and
learning.
( Slide Share )
( Word, Excel,
PowerPoint, PDF )
( YouTube )
( VDO )
Blogger ( Blogspot )
ชํานาญ เพื่อพัฒนาผูเรียนจาก Novice ไปสู Expert Blended learning เปนสิ่งสําคัญของการศึกษาและ
เทคโนโลยี blended learning มีการใชงานที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว, เปนการบูรณาการระหวางการเรียนในชั้นเรียน
และการเรียนแบบ Online, สามารถชวยสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนและการใชเวลาในชั้นเรียนไดเหมาะสม
บล็อก ( Blog )
บล็อก (อังกฤษ: blog)เปนคํารวมมาจากคําวา เว็บล็อก (อังกฤษ: weblog)เปนรูปแบบเว็บไซตประเภท
หนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลําดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงขอมูลที่เขียนลาสุดไวแรกสุด บล็อกโดยปกติ
จะประกอบดวย ขอความ ภาพ ลิงก ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อตางๆ ไมวา เพลง หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได จุดที่
แตกตางของบล็อกกับเว็บไซตโดยปกติคือ บล็อกจะเปดใหผูเขามาอานขอมูล สามารถแสดงความคิดเห็นตอทาย
ขอความที่เจาของบล็อกเปนคนเขียน ซึ่งทําใหผูเขียนสามารถไดผลตอบกลับโดยทันที คําวา "บล็อก" ยังใชเปน
คํากริยาไดซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผูที่เขียนบล็อกเปนอาชีพก็จะถูกเรียกวา "บล็อกเกอร"
บล็อกเปนเว็บไซตที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยูกับเจาของบล็อก โดยสามารถใชเปนเครื่องมือสื่อสาร
การประกาศขาวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพรผลงาน ในหลายดานไมวา อาหาร การเมือง เทคโนโลยี
หรือขาวปจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องสวนตัวหรือจะเรียกวาไดอารี Online ซึ่งไดอารี Online
นี่เองเปนจุดเริ่มตนของการใชบล็อกในปจจุบัน นอกจากนี้ตามบริษัทเอกชนหลายแหงไดมีการจัดทําบล็อกของ
ทางบริษัทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหมใหักับลูกคา โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับขาวสั้น
และไดรับการตอบรับจากทางลูกคาที่แสดงความเห็นตอบกลับเขาไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ
บล็อกมาจาก Web+Log แลวยอเหลือ Blog คือ ประเภทของระบบการจัดการเนื้อหา ที่อํานวยความ
สะดวกใหผูเขียน บล็อกเผยแพรและแบงปนบทความของตนเอง โดยบทความที่โพสตลงบล็อก เปนการแสดง
ความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนบล็อก ซึ่งจุดเดนของบล็อก คือ การสื่อสารถึงกันอยางเปนกันเองระหวางผูเขียน
และผูอานบล็อกผาน การแสดงความคิดเห็น (Comment) ซึ่ง Blogger (http://www.blogger.com) และ
WordPress (http://wordpress.com) เปนสองเว็บไซตที่ผูคนนิยม เขาไปสรางบล็อกของตนเอง
SlideShare
SlideShare เปน website ที่ใหบริการฝากไฟล ประเภท งานนําเสนอในรูปแบบไฟล pdf, ppt, pps,
pptx, ppsx, pot, potx (Powerpoint); odp (OpenOffice) เอกสารในรูปแบบไฟล pdf, doc, docx, rtf, xls
(MSOffice); odt, ods(OpenOffice); Apple iWork Pages และวีดีโอในรูปแบบไฟล mp4, m4v (ipod), wmv
(windows media video), mpeg ,avi (windows) ,mov (apple quicktime) Mpg, mkv (h.264), ogg, asf,
vob, 3gp, 3g2 (mobile phones) rm, rmvb (Real), flv (Flash) ขนาดไฟลสูงสุด 100MB และสามารถนาไปแชร
ใหผูอื่นไดเขามาดู หรือ Download ไปใชได นอกจากนี้ยังสามารถคนหาไฟลเอกสาร (word) หรือ งานนําเสนอ
(Powerpoint) ที่ผูอื่นสรางไวมากมาย นํามาประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได โดยไมตองสรางขึ้นมาเอง
YouTube
เปนเว็บไซตที่ใหบริการแลกเปลี่ยนภาพวิดีโอระหวางผูใชไดฟรี โดยนําเทคโนโลยีของ Adobe Flash มา
ใชในการแสดงภาพวิดีโอ ซึ่งยูทูบมีนโนบายไมใหอัพโหลดคลิปที่มีภาพโปเปลือยและคลิปที่มีลิขสิทธิ์ นอกเสีย
จากเจาของลิขสิทธิ์ไดอัพโหลดเอง เมื่อสมัครสมาชิกแลวผูใชจะสามารถใสภาพวิดีโอเขาไปแบงปนภาพวิดีโอให
คนอื่นดูดวย แตหากไมไดสมัครสมาชิกก็สามารถเขาไปเปดดูภาพวิดีโอที่ผูใชคนอื่น ๆ ใสไวใน YouTube ได แม
จะกอตั้งไดเพียงไมนาน (YouTube กอตั้งขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 2005) YouTube เติบโตอยางรวดเร็วมาก
เปนที่รูจักกันแพรหลายและไดรับความนิยมทั่วโลก ตอมาป ค.ศ.2006 กูเกิ้ลซื้อยูทูบ ตอนนี้ยูทูบจึงกลายเปนสวน
หนึ่งของกูเกิ้ลแลว ไฟล WebM - ตัวแปลงสัญญาณภาพ Vp8 และตัวแปลงสัญญาณเสียง Vorbis Audio
.MPEG4, 3GPP และ ไฟล MOV - โดยทั่วไปรองรับ h264, ตัวแปลงสัญญาณภาพ mpeg4 และตัวแปลง
สัญญาณเสียง AAC .AVI - กลองหลายชนิดใชรูปแบบนี้ - โดยทั่วไปตัวแปลงสัญญาณภาพคือ MJPEG และ
สําหรับเสียงคือ PCM .MPEGPS - โดยทั่วไปรองรับตัวแปลงสัญญาณภาพ MPEG2 และสัญญาณเสียง MP2
.WMV .FLV - ตัวแปลงสัญญาณภาพ Adobe-FLV1, สัญญาณเสียง MP3
อุปกรณและวิธีการ
1. กําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง
1. ประชากรคือ นักศึกษาศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ภาคพิเศษ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา
2555 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจาพระยา สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ จํานวน 200 คน
2. กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปที่ 2 ภาคพิเศษ ภาคเรียนที่ 1 ป
การศึกษา 2555 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจาพระยา สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ จํานวน 30 คน ใช
วิธีการเลือกแบบเจาะจง ( ธานินทร, 2550: 54 )
2. ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรตน คือ การเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online
ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจตอการเรียนการสอน โดยใชสื่อสังคม Online
ประสิทธิภาพการเรียนการสอน
3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือ
1. สื่อสังคม Online ประเภท Blogger ( www.atippawan.blogspot.com )
2. แบบสอบถามความพึงพอใจ ประกอบดวย 3 สวน ไดแก
สวนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา,
สถานภาพการทํางาน และสื่อสังคม Online ที่เคยใชงาน
สวนที่ 2 ความคิดเห็นตอการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online เพิ่มประสิทธิภาพการเรียน
การสอน แบบสอบถามครอบคลุม 3 ดาน คือ 1. ดานการใชงานสื่อสังคม Online 2. ดานการจัดการเรียนการ
สอน 3. ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวย Blogger
สวนที่ 3 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
แบบสอบถามความพึงพอใจ ลักษณะของแบบสํารวจความพึงพอใจมีดังนี้
1. แบบสอบถามมีจํานวน 20 ขอ
2. การตอบคําถามมีคําตอบใหเลือก 5 คําตอบ โดยใชแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา
5 ระดับ โดยมีความหมายดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด ,2545 : 103)
ระดับ 5 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับดีมาก
ระดับ 4 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับมาก
ระดับ 3 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับนอย
ระดับ 1 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับนอยที่สุด
4. วิธีดําเนินงาน
การศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูล แบงเปน 3 สวนคือ
สวนที่ 1 คือ ศึกษาปญหาขอจํากัดการเรียนการสอน
ขอจํากัดการเรียนการสอนการเรียนการสอน ภาคพิเศษ ในภาคเรียนที่ผานมาประสบปญหาดังนี้
1. ระยะเวลาในการเรียนที่จํากัด
2. ความแตกตางทางพื้นฐานการศึกษาเดิม เชน ม.6, กศน., ปวช.
3. ความหลากหลายของอาชีพการทํางาน เชน เจาหนาที่เข็นเปล, กุก, พนักงานธุรการ, พนักงานนวด,
พนักงานขับรถสงสินคา ฯลฯ บางตําแหนงไมใชงานคอมพิวเตอร
4. การขาดเรียน
สวนที่ 2 คือ การศึกษาการใชงาน Blogger ของ Blogspot เปนของ google
ผูวิจัยไดทําการศึกษาการทํางานของ Blogger สามารถใชงานได 2 มุมมอง คือมุมมองทั่วไป และ
มุมมองภาษา HTML มีขั้นตอนการทํางานดังนี้
1. การใชงาน Blogger ตองใชดวยอีเมลของ gmail
2. สมัคร ใชงาน Blogger ที่ www.blogger.com
3. ตั้งคาการใชงานเบื้องตนที่ “การตั้งคา”
4. เลือกรูปแบบ Blogger จาก “แมแบบ” สามารถออกแบบเองไดโดยเลือกที่ “รูปแบบ”
5. เขียนบทความตามตองการ
Figure 2 Back of System and Front Blogger
Figure 3 Upload file on www.slideshare.com or www.youture.com
6. นําสื่อที่ผูสอนสรางแปลงเปนไฟล PDF ( แกปญหาการแสดงผล รูปแบบอักษรที่ไมเหมือนกัน )
upload ไฟลไวที่เว็บไซต www.slideshare.net และสื่อวีดีโอ upload ไฟลไวที่เว็บไซต www.youtube.com และ
Copy Code ภาษา HTML มาวางใน Blogger มุมมอง HTML หรือสามารถแทรกจาก Blogger โดยเลือกสื่อ
วีดีโอจาก YouTube ที่เราทําการ upload ไวแลว
6. เผยแพรบทความ
7. ใชงานสื่อสังคม Online กับกลุมตัวอยาง
สวนที่ 3 คือ แบบสอบถามความพึงพอใจ
สวนที่ 1 คําถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของนักศึกษา
สวนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับความพึงพอใจตอ ที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้นโดยใชแบบสอบถามแบบมาตราสวน
ประมาณคา 5 ระดับ โดยมีความหมายดังนี้ ( บุญชม ศรีสะอาด, 2545: 103 )
ระดับ 5 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับดีมาก
ระดับ 4 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับมาก
ระดับ 3 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับนอย
ระดับ 1 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับนอยที่สุด
5. การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล
5.1 การเก็บรวบรวมขอมูลเก็บโดยตรงกับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปที่ 2
ภาคพิเศษ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 จํานวน 30 คน ดวยการใชแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอการ
เรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online
5.2 การวิเคราะหขอมูล สถิติที่ใชไดแก คาเฉลี่ย (Mean) และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation)
ผลการวิจัย สวนที่ 1 เกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของนักศึกษา นักศึกษา เปนเพศชาย 11 คน (รอยละ 36.67)
เพศหญิง 19 คน (รอยละ 63.33) อายุมากที่สุดอยูในชวง 20-25 คือ 20 คน (รอยละ 66.67) จบการศึกษาระดับ
ปวช. 11 คน (รอยละ 36.67) กศน. 6 คน (รอยละ 20.00) ม.6 13 คน(รอยละ 43.33) เปน ลูกจาง/พนักงาน
26 คน (รอยละ 86.67) วางงาน 4 คน (รอยละ 13.33) สื่อสังคม Online ที่ใชงานบอยที่สุดคือ Facebook 25
คน (รอยละ 83.33) ไมเคยใช 5 คน (รอยละ 16.67)
สวนที่ 2 เกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษา 1. ดานการใชงานสื่อสังคม Online อยูในระดับ มาก
( =3.59) 2.ดานการจัดการเรียนการสอน อยูในระดับ มาก ( =3.61) 3.ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบ
ผสมผสาน ดวย Blogger อยูในระดับ มาก ( =3.80)
Table 1 Results of Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning
ลําดับที่ รายการ S.D. แปลผล
ดานการใชงานสื่อสังคม Online
1 ความสะดวกรวดเร็วของการใชงาน Blogger 3.70 0.70 มาก
2 การควบคุมการทํางานของ Blogger 3.67 0.80 มาก
3 ความชัดเจนของรูปภาพ 3.40 0.81 ปานกลาง
4 ความสมบูรณของเสียง 3.70 0.79 มาก
5 ดูงาย สบายตา 3.27 0.69 ปานกลาง
6 จัดแยกรายวิชา ชัดเจน 3.47 0.73 ปานกลาง
7 ความเหมาะสมของการใชงานโดยรวม 3.83 0.75 มาก
ดานการจัดการเรียนการสอน
1 นักศึกษาสามารถปฏิบัติตามไดหลังจากศึกษาใน Blogger 3.67 0.76 มาก
2 นักศึกษาใชศึกษาเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน 3.40 0.77 ปานกลาง
3 ผูสอนใชคําสั่งไดอยางเหมาะสม เขาใจงาย 3.70 0.75 มาก
4 ผูสอนรวบรวมความรูจากแหลงอื่นๆ ใหเขาใจมากขึ้น 3.77 0.77 มาก
5 ผูสอนมีการตรวจติดตามงานสม่ําเสมอ 3.50 0.78 ปานกลาง
6 ผูสอนมีการอธิบายเพิ่มเติม 3.60 0.77 มาก
7 เนื้อหาที่ใชเรียนเหมาะสมกับการเรียนการสอน 3.63 0.67 มาก
ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสานดวย สื่อสังคม Online
1 เขาใจเนื้อหาการเรียนมากขึ้น 3.87 0.73 มาก
2 สามารถใชทบทวนดวยตนเองได 3.80 0.71 มาก
3 มีประโยชนจําเปนตอนักศึกษา 3.57 0.68 มาก
4 ใหคะแนนความรูตนเองกอนการเรียนดวยสื่อ 3.83 0.75 มาก
5 ใหคะแนนความรูตนเองหลังการเรียนดวยสื่อ 4.03 0.76 มาก
6 พึงพอใจตอการใชงานโดยรวม 3.73 0.78 มาก
จาก Table 1 จากแบบสอบถามความพึงพอใจจํานวน 20 ขอ คําถามครอบคลุมทั้ง 3 ดาน พบวา มีความ
พึงพอใจโดยรวมอยูในระดับ ดี คาเฉลี่ยสูงสุดคือ นักศึกษาใหคะแนนความรูตนเองหลังการเรียนดวยสื่อ อยูใน
ระดับ มาก ( =4.03)
ผลการทดลองและวิจารณ
จากการวิจัยทําใหได การเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการ
สอน ประกอบดวย ผูสอน ผูเรียน สื่อสังคม Online และเครือขายอินเทอรเน็ต มีองคประกอบสําคัญ คือ
1. ผูสอนสรางสื่อการเรียนที่อยูในรูปแบบตางๆ เชน word, excel, powerpoint, vdo
2. แปลงไฟลใหอยูในรูปแบบที่เหมาะสม เชน pdf ฝากไฟลไวที่ www.slideshare.net สื่อวีดีโอ upload ไวที่
www.youtube.com
3. Copy Code ใสใน Blogger
4. เผยแพร
5.ผูเรียนเขาดูสื่อที่ผูสอนสรางที่ Blogger ( www.atippawan.blogspot.com )
Figure 4 Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning
ผลการวิจัยการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนจาก
กลุมตัวอยาง 30 คน โดย คําถามครอบคลุมทั้ง 3 ดานไดผลดังนี้
Table 2 Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning on 3 Side
เรื่อง ( x ) S.D แปลผล
1. ดานการใชงานสื่อสังคม Online 3.59 0.74 มาก
2. ดานการจัดการเรียนการสอน 3.61 0.75 มาก
3. ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสานดวย สื่อสังคม Online 3.80 0.73 มาก
Instructor
Learner
Feedback
Add / Edit Learning
Internet
Blogger
จาก Table 2 ความพึงพอใจของนักศึกษาทั้ง 3 ดานคือ 1.ดานการใชงานสื่อสังคม Online อยูในระดับ
มาก ( = 3.59) 2. ดานการจัดการเรียนการสอน อยูในระดับ มาก ( = 3.61) 3. ดานประสิทธิภาพของการ
เรียนรูแบบผสมผสานดวย สื่อสังคม Online อยูในระดับ มาก ( = 3.80)
ดานการใชงานสื่อสังคม Online ความชัดเจนของเสียงในสื่อวีดีโอ อยูในระดับมาก Blogger ใชงานได
อยางสะดวกและรวดเร็ว โดยรวมพึงพอใจอยูในระดับมาก
ดานการจัดการเรียนการสอน นักศึกษาพึงพอใจ การรวบรวมความรูจากแหลงอื่นๆ มาไวใน Blogger
เพื่อใหเขาใจมากยิ่งขึ้น คําสั่งเขาใจงาย และสามารถใชปฏิบัติตามหลังศึกษาเพิ่มเติมจาก Blogger โดยรวมพึง
พอใจอยูในระดับมาก
ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสานดวยสื่อสังคม Online นักศึกษามีความรูเพิ่มมากขึ้นเมื่อ
ไดศึกษาเพิ่มเติมจาก Blogger มีความเขาใจเนื้อหาการเรียนมากยิ่งขึ้น โดยรวมพึงพอใจอยูในระดับมาก
สรุป
จากผลการวิจัย สามารถจําแนกขอดี ขอจํากัดของการเรียนแบบผสมผสาน ( Strong and Weakness )
การเรียนรูแบบผสมผสาน ( Blended Learning ) ซึ่งเปนนวัตกรรมการเรียนรูปแบบใหมและนํามาปรับใชในการ
เรียนการสอน ซึ่งจากการวิจัยพบวามีทั้งขอดี-ขอเสียบางประการที่ควรคํานึงถึง ซึ่งมีประเด็นสําคัญดังตอไปนี้
( อภิชาต อนุกูลเวช , 2555 )
ขอดีของ Blended Learning
1. สามารถแบงเวลาเรียนไดอยางมีอิสระในการเรียนรูเนื้อหา
2. เลือกสถานที่เรียนไดอยางมีอิสระทั้งในชั้นเรียนปกติหรือนอกชั้นเรียน
3. ผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเองตามระดับและอัตราการเรียนรู ( Self-paced )
4. เปนรูปแบบการผสมผสานระหวางการเรียนแบบเดิมกับรูปแบบการเรียนเชิงอนาคต
5. เปนการเรียนรูที่เนนดวยสื่อผสม ( Multimedia )หลากหลายรูปแบบ
6. เปนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ( Learner Center )
7. ผูเรียนมีเวลาในการคนควาขอมูลไดอยางอิสระ
8. สามารถสงเสริมความแมนยํา การถายโอนความรูของผูเรียน และทราบผลการปฏิบัติไดรวดเร็ว
9. สรางแรงจูงใจในการเรียนรูไดดี
10. สามารถสรางแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดดี
11. สามารถหลีกเลี่ยงสิ่งที่รบกวนภายในชั้นเรียนไดทําใหผูเรียนมีสมาธิในการเรียน
12. ผูเรียนมีชองทางในการเรียนรูไดหลากหลาย สามารถเขาถึงผูสอนหรือแหลงขอมูลไดดี
13. เปนรูปแบบการเรียนที่เหมาะสําหรับผูเรียนที่คอนขางขาดความมั่นใจในตนเอง
ขอจํากัดของ Blended Learning
1. ผูเรียนไมสามารถแสดงความคิดเห็น หรือถายทอดความคิดเห็นไดอยางรวดเร็ว
2. เปนรูปแบบที่อาจมีความลาชาในการปฏิสัมพันธ ( Interaction ) ระหวางผูเรียน-ผูสอน
3. ผูเรียนตองมีทักษะ ความรูความเขาใจในดานงานคอมพิวเตอรเพื่อการเขาถึงขอมูลแหงโลก
Internet
4. ผูเรียนตองมีความรับผิดชอบตอตนเองคอนขางสูงในการเรียนการสอนรูปแบบนี้
5. ความแตกตางของผูเรียนแตละคนเปนอุปสรรคตอการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
6. สภาพแวดลอมไมเหมาะสมตอการใชเครือขายหรือระบบ Internet Network เกิดปญหาหรือเปน
จุดบอดในดานการรับสงสัญญาณ
7. เกิดการขาดปฏิสัมพันธแบบ Face to face ระหวางผูเรียนกับผูสอน ( Real Time )
Figure 5 Social Media Online Wordpress and Blogspot
จากการวิจัยการเรียนรูแบบผสมผสานโดยประยุกตใชสื่อสังคม Onlineเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการ
สอน พบวา Blogger ใชเปนสื่อกลางในการจัดการเรียนการสอน สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนได
เปนอยางดี ใชรวบรวมสื่อที่ผูสอนสรางขึ้น ทั้งประเภท ขอความ รูปภาพ เสียง วีดีโอ และแปลงไฟลใหอยูใน
รูปแบบที่สามารถ upload ไฟลไวบน slideshare และ youtube ชวยแกปญหาขอจํากัดทางการเรียน โดยให
ผูเรียนศึกษาเพิ่มเติม สนับสนุนใหผูเรียนเกิดความตอเนื่องในการเรียน กรณีที่ขาดเรียน หรือใชทบทวนเนื้อหา
นอกเวลาเรียน ใชในการติดตอสื่อสารระหวางผูสอนกับผูเรียนไดอีกชองทาง ใหผูเรียนเรียนรูการใชเทคโนโลยีให
เกิดประโยชนสูงสุด Blogger ของ Blogspot เมื่อมีการ update ขอมูลใหมเพิ่มขึ้นขอมูลเกาจะเลื่อนอยูดานลาง
เมื่อปริมาณขอมูลมากขึ้น ทําใหใชเวลาในการคนหาขอมูล กรณีที่ผูสอนสอนหลายวิชา ผูสอนสามารถใช
Blogger ของ Wordpress สําหรับจัดแบงรายวิชาออกจากกันเปนหนาเว็บเพจ ไดอยางชัดเจน ดังภาพที่ 5
เอกสารอางอิง
ธานินทร ศิลปจารุ. การวิจัยและวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ:
วี. อินเตอร พริ้นท, 2550.
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน, 2545.
พิชิต วิจิตรบุญยรักษ. สื่อสังคม Online : สื่อแหงอนาคต . มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
Executive Journal. 99-100, 2554.
พิเชฐ คูชลธารา. บทความวิจัย การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning)
สําหรับ ผูใหญเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2554
วิกิพีเดีย. ยูทูป. ( Online). แหลงที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/Youtube. สืบคนเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2555
วิกิพีเดีย. ยูทูป. ( Online). แหลงที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/Blog. สืบคนเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2542. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ .ศ. 2542
กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว.
อภิชาต อนุกูลเวช. 2555. การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning). ( Online). แหลงที่มา
http://www.chontech.ac.th/_abichat/1/index.php/option.html. สืบคนเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555
Curtis J. Bonk, Charles R. Graham, Jay Cross (2005). The Handbook of Blended Learning:
Golbal Perspectives, Local Designs, San Francisco.
Slideshare. ( Online). แหลงที่มา http://www.slideshare.net/about. สืบคนเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555

More Related Content

What's hot

การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนPrachyanun Nilsook
 
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์peetchinnathan
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...khon Kaen University
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ Cloud computing เพ...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ Cloud computing  เพ...การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ Cloud computing  เพ...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ Cloud computing เพ...พัน พัน
 
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือjoongka3332
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนชิตชัย โพธิ์ประภา
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

What's hot (19)

การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
 
การใช้งานโปรแกรม Ping pong
การใช้งานโปรแกรม Ping pongการใช้งานโปรแกรม Ping pong
การใช้งานโปรแกรม Ping pong
 
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ Cloud computing เพ...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ Cloud computing  เพ...การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ Cloud computing  เพ...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ Cloud computing เพ...
 
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
 
Com
ComCom
Com
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
Chaapter9
Chaapter9Chaapter9
Chaapter9
 
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 

Viewers also liked

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Kanny Redcolor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์monnareerat
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 

Viewers also liked (10)

Chapter45630505256
Chapter45630505256Chapter45630505256
Chapter45630505256
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 

Similar to Reading list (wichien 58032447) week 6

รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานAtima Teraksee
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูรูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูAmitta Tapparak
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Real PN
 

Similar to Reading list (wichien 58032447) week 6 (20)

รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
D L M S
D L M SD L M S
D L M S
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูรูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 

Reading list (wichien 58032447) week 6

  • 1. Reading List สัปดาห์ที่ 6 นายวิเชียร วงค์วัน 58032447 เรื่องที่ 1 Blended learning การเรียนรู้แบบผสมผสาน Blended learning การเรียนรู้แบบผสมผสาน เบล็นเด็ด เลินนิ่ง หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ ที่ผสมผสานรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการ เรียนรู้ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ผสมผสานกับการเรียนรู้นอกห้องเรียนที่ผู้เรียนผู้สอนไม่เผชิญหน้ากัน หรือการใช้ แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่หลากหลาย กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเกิดขึ้นจากยุทธวิธี การเรียนการสอนที่หลาก รูปแบบ เป้าหมายอยู่ที่การให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้เป็นสาคัญ การ สอนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานนั้น ผู้สอน สามารถใช้วิธีการสอน สองวิธีหรือมากกว่า ในการ เรียนการสอน เช่น ผู้สอนนาเสนอเนื้อหาบทเรียนผ่านเทคโนโลยีผนวกกับการสอนแบบเผชิญหน้า แต่หลังจาก นั้นผู้สอนนาเนื้อหาบทความแขวนไว้บนเว็บ จากนั้นติดตามการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อีเลิน นิ่ง ด้วยระบบแอลเอ็มเอส (Learning Management System ) ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องแล็บ หลังจากนั้น สรุปบทเรียน ด้วยการอภิปรายร่วมกับอาจารย์ผู้สอนในห้องเรียน "Blended learning เป็นสิ่งสาคัญของการศึกษาและเทคโนโลยี,blended learning มีการใช้งานที่เพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว,เป็นการบูรณาการระหว่างการเรียนในชั้น เรียนและการเรียนแบบออนไลน์,สามารถช่วยส่งเสริมการ เรียนรู้ของผู้เรียนและการใช้เวลาในชั้นเรียนได้เหมาะสม"
  • 2. 2 การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning)การเรียนแบบผสมผสาน เป็นการรวมกันหรือนาสิ่งต่างๆมาผสม โดยที่สิ่งที่ถูกผสมนั้น คือ - รวม รูปแบบการเรียนการสอน - รวม วิธีการเรียนการสอน - รวมการเรียนแบบออนไลด์และรูปแบบการเรียนการสอนในชั้นเรียนการเติบโตของการเรียนแบบ ผสมผสานตั้งแต่ อดีต ปัจจุบันและอนาคตการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยในอดีตนั้น การเรียนแบบผสมผสาน คือส่วนที่ได้มีการรวมเข้าหากันจาก 2 รูปแบบสภาพแวดล้อมของการเรียนแบบเดิมนั้นก็คือ การเรียนแบบ เผชิญหน้าในชั้นเรียนกับ การเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งในอดีตนั้นการเรียนทั้ง 2 รูปแบบจะมีช่องว่างหรือระยะห่าง ระหว่างกันค่อยข้างมาก คือจะมีการจัดการเรียนการสอนเฉพาะของตัวเองมีรูปแบบ และการดาเนินการใน รูปแบบที่ต่างกันเพราะว่าต่างก็ใช้สื่อและเครื่องมือที่ แตกต่างกัน และมีสถานที่ในการเรียนที่แตกต่างกันเพราะมี กลุ่มผู้เรียนที่ต่างกันด้วย แต่ในขณะเดียวกันนั้นการเรียนแบบทางไกลก็กาลังมีการเติบโตและแผ่ขยายอย่าง รวดเร็วซึ่งได้เข้ามาในรูปของเทคโนโลยีใหม่ ที่มีความเป็นไปได้อย่างสูงที่การเรียนแบบออนไลน์นั้นจะมีการ แผ่ขยายเข้ามา สู่การเรียนในชั้นเรียนอย่างรวดเร็วในปัจจุบันการเรียนแบบออนไลน์นั้นได้เข้ามามีส่วนร่วมใน การติดต่อสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ร่วมในการเรียนการสอนใน ชั้นเรียนเกิดเป็นการเรียนแบบผสมผสานขึ้นมา ซึ่งคาดว่าในอนาคตนั้นการเรียน แบบผสมผสานจะมีการขยายตัวที่มากขึ้นตามรูปแบบการเรียนแบบออนไลน์ที่ จะมีการ เติบโตขึ้นมากกว่าปัจจุบัน จึงส่งผลให้การเรียนแบบผสมผสานนั้นมีการขยายวงกว้างออกไปจากเดิม ยิ่งขึ้นอีก ด้วย ข้อดี-ข้อเสีย การเรียนแบบผสมผสานสรุป Blended Learning การเรียนการสอนแบบผสมผสาน ความหมายและความสาคัญ 1. การเรียนแบบผสมผสาน (blended learning) เป็นการเรียนที่ใช้กิจกรรมที่ต้องออนไลน์และการพบปะกัน ในห้องเรียนจริง (hybrid) โดยใช้สื่อที่มีความหลากหลายเหมาะกับบริบทและสถานการณ์ การเรียนรู้ เพื่อ ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล 2. การเรียนแบบผสมผสาน เป็นการรวมกันหรือนาสิ่งต่าง ๆ มาผสม โดยที่สิ่งที่ถูกผสมนั้น การเรียนอาจจะ เรียนในห้องเรียน 60% เรียนบนเว็บ 40% ไม่ได้มีกฎตายตัวว่าจะต้องผสมผสานกันเท่าใด เช่น- รวม รูปแบบการ เรียนการสอน- รวม วิธีการเรียนการสอน- รวมการเรียนแบบออนไลน์ และรูปแบบการเรียนการสอนในชั้น เรียน
  • 3. 3 3. การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเติบโตของการเรียนแบบผสมผสานตั้งแต่อดีต ปัจจุบัน และอนาคตการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยในอดีตนั้น การเรียนแบบผสมผสานคือส่วนที่ได้มีการรวมเข้าหากัน จาก 2 รูปแบบ 3.1 สภาพแวดล้อมของการเรียนแบบเดิม นั้นก็คือการเรียนแบบเผชิญหน้าในชั้นเรียน 3.2 การเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งในอดีตนั้นการเรียนทั้ง 2 รูปแบบจะมีช่องว่างหรือระยะห่างระหว่างกันค่อย ข้างมาก คือจะมีการจัดการเรียนการสอนเฉพาะของตัวเองมีรูปแบบ และการดาเนินการในรูปแบบที่ต่างกัน เพราะว่าต่างก็ใช้สื่อและเครื่องมือที่ แตกต่างกัน และมีสถานที่ในการเรียนที่แตกต่างกันเพราะมีกลุ่มผู้เรียนที่ ต่างกันด้วย แต่ในขณะเดียวกันนั้นการเรียนแบบทางไกลก็กาลังมีการเติบโตและแผ่ขยายอย่าง รวดเร็ว ซึ่งได้เข้า มาในรูปของเทคโนโลยีใหม่ ที่มีความเป็นไปได้อย่างสูงที่การเรียนแบบออนไลน์นั้นจะมีการแผ่ขยายเข้ามา สู่ การเรียนในชั้นเรียนอย่างรวดเร็วในปัจจุบันการเรียนแบบออนไลน์นั้นได้เข้ามามีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสาร และมีปฏิสัมพันธ์ร่วม ในการเรียนการสอนในชั้นเรียนเกิดเป็นการเรียนแบบผสมผสานขึ้นมาซึ่งคาดว่าใน อนาคตนั้นการเรียนแบบผสมผสานจะมีการขยายตัวที่มากขึ้นตามรูปแบบการเรียน แบบออนไลน์ที่จะมีการ เติบโตขึ้นมากกว่าปัจจุบัน จึงส่งผลให้การเรียนแบบผสมผสานนั้นมีการขยายวงกว้างออกไปจากเดิมยิ่งขึ้นอีก ด้วย สรุป 1. การเรียนการสอนแบบผสมผสาน Blended Learning เป็นการเรียนรู้แบบผสมผสานหลากหลายวิธี เพื่อให้ ผู้เรียนได้มีการเรียนรู้ที่หลากหลาย และเพื่อผู้เรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพเหมาะกับบริบทและสถานการณ์ การ เรียนรู้และตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลเกิดการเรียนรู้และเกิดทักษะ ด้านการปฏิบัติ (Practice Skill ) โดยใช้เทคโนโลยีเช่น การเรียนการสอนในชั้นเรียนร่วมกับการเรียนการสอนแบบออนไลน์(a combination of face-to-face and Onine Learning) การเรียนแบบหมวก 6 ใบ, สตอรี่ไลน์ จุดมุ่งหมายสูงสุดอยู่ที่ผู้เรียน โดย อัตราส่วนการผสมผสาน จะขึ้นอยู่กับลักษณะเนื้อหา และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กรณี - ครูผู้สอน สั่งงานทาง e-mail หรือ chatroom หรือ webbord ถือเป็นการเรียนรู้แบบผสมผสาน- ครูสั่งให้ส่งงานเป็นรูปเล่ม รายงานถือว่าเป็นการเรียนรู้แบบผสมผสานเช่นกัน เพราะต้องไปค้นคว้าสืบค้นข้อมูลและนามาอภิปราย สรุป เนื้อหาเป็นแนวเดียวกัน ผู้เรียนทุกคนเข้าใจตรงกัน 2. การใช้งานจริง ณ ขณะนี้ สรุปการใช้Blended Learning ในองค์กร หรือบริษัท ช่วยในการประชุมการ สั่งงาน โดยมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตระบบเครือข่าย ส่วนมาก นิยมใช้ระบบ LMS เป็นระบบการบริหาร ผ่าน Severเป็นระบบเครือข่ายผู้ใช้งานในระบบ 2.1 กลุ่มผู้บริหาร Administrator ทาหน้าที่ดูแลระบบ
  • 4. 4 2.2 กลุ่ม ครู อาจารย์Instructor/ teacher ทาหน้าที่สอน 2.3 กลุ่มผู้เรียน Student /Guest นักเรียน นักศึกษาสาหรับขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน ของ Beijing Normal University (BNU) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักดังนี้ 1. ขั้นก่อนการวิเคราะห์(Pre-Analysis) เป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน ประกอบการพิจารณาข้อมูลทั่ว ๆ ไป ได้แก่ 1.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของผู้เรียน 1.2 การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ 1.3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการเรียนรู้แบบผสมผสานผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนแรก จะ เป็นรายงานผลที่จะนาไปใช้ในขั้นต่อไป 2. ขั้นการออกแบบกิจกรรมและการออกแบบวัสดุการเรียนรู้ (Design of Activity and Resources) เป็นขั้นตอนที่สองที่นาผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนแรกมาออกแบบกิจกรรมและวัสดุ การเรียนรู้ ซึ่งจาแนก ออกเป็น 3 ส่วนย่อย ๆ ได้แก่ 2.1 การออกแบบภาพรวมของการเรียนรู้แบบผสมผสาน ประกอบด้วย - กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละหน่วยเรียน - กลยุทธ์การนาส่งบทเรียนในการเรียนรู้แบบผสมผสาน - ส่วนสนับสนุนการเรียนรู้แบบผสมผสาน 2.2 การออกแบบกิจกรรมแต่ละหน่วยเรียนประกอบด้วย - นิยามผลการกระทาของผู้เรียน - กิจกรรมในแต่ละวัตถุประสงค์ - การจัดกลุ่มของกิจกรรมทั้งหมด - การประเมินผลในแต่ละหน่วยเรียน 2.3 การออกแบบและพัฒนาวัสดุการเรียนรู้ประกอบด้วย - การเลือกสรรเนื้อหาสาระ - การพัฒนากรณีต่าง ๆ - การนาเสนอผลการออกแบบและการพัฒนาผลที่ได้จากขั้นตอนที่สอง จะเป็นรายละเอียดของ การออกแบบบทเรียนในแต่ละส่วน 3. ขั้นการประเมินผลการเรียนการสอน (Instructional Assessment) เป็นขั้นตอนสุดท้ายในการ ออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานประกอบด้วย
  • 5. 5 3.1 การประเมินผลขั้นตอนการเรียนรู้ 3.2 การจัดการสอบตามหลักสูตร 3.3 การประเมินผลกิจกรรมทั้งหมดผลที่ได้จากขั้นตอนสุดท้าย จะนาไปพิจารณาตรวจปรับ กระบวนการออกแบบในแต่ละขั้นที่ผ่านมาทั้งหมด เพื่อให้การเรียนรู้แบบผสมผสานมีประสิทธิภาพ และเกดประสิทธิผลกับผู้เรียน อย่างแท้จริง ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน การเรียนรู้แบบผสมผสานมีสิ่งต่างๆจะต้องพิจารณา ดังนี้ 1. เพิ่มทางเลือกของวิธีการนาส่งการเรียนรู้ไปยังผู้เรียนให้มีความหลากหลายมากขึ้น จะเป็นปัจจัย สาคัญสาหรับผู้ออกแบบ 2. เกณฑ์การตัดสินความสาเร็จในการเรียนรู้แบบผสมผสานไม่ได้มีเพียงเกณฑ์เดียว เช่น รูปแบบการ เรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ ซึ่งสามารถนามาพิจารณาร่วมกันได้ 3. การออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานจะต้องพิจารณาประเด็นของความเร็วในการเรียน รู้ ขนาด ของผู้เรียน และการสนับสนุนช่วยเหลือผู้เรียน 4. สภาพแวดล้อมทางการเรียนของผู้เรียน จะมีความแตกต่างกันเป็นธรรมชาติซึ่งการจัดการเรียนรู้ จะต้องสนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์เป็นสาคัญ 5. หน้าที่ของผู้เรียน จะต้องศึกษาและค้นพบตัวเอง เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ตามศักยภาพของตนเอง 6. การออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานต้องการทีมงานออกแบบที่มีความรู้เรื่องการปรับปรุงด้าน ธุรกิจด้วยเช่นกัน กรณี - การเรียนการสอนทางไกลของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ) ถือว่าเป็นการเรียนการ สอนแบบผสมผสานเช่นกัน - คอร์สการเรียนภาษาอังกฤษทางไกล ของ แอนดรูส์ บิ๊ก ที่ใช้ระบบ(Bkended Learning for Distance Learning) ซึ่งสามารถสอนนักเรียนพร้อมกันทีเดียวได้เป็นพันคน 3. ประโยชน์ ข้อดีและข้อเสีย ประโยชน์ ข้อดี
  • 6. 6 1. แบ่งเวลาเรียนอย่างอิสระ 2. เลือกสถานที่เรียนอย่างอิสระ 3. เรียนด้วยระดับความเร็วของตนเอง 4. สื่อสารอย่างใกล้ชิดกับครูผู้สอน 5. การผสมผสานระหว่างการเรียนแบบดั้งเดิมและแบบอนาคต 6. เรียนกับสื่อมัลติมีเดีย 7. เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Child center 8. ผู้เรียนสามารถมีเวลาในการค้นคว้าข้อมูลมาก สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างดี 9. สามารถส่งเสริมความแม่นยา ถ่ายโอนความรู้จากผู้หนึ่งไปยังผู้หนึ่งได้สามารถทราบผลปฏิบัติย้อนกลับ ได้รวดเร็ว (กาเย่) 10. สร้างแรงจูงใจในบทเรียนได้(กาเย่) 11. ให้แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้(กาเย่) 12. สามารถทบทวนความรู้เดิม และสืบค้นความรู้ใหม่ได้ตลอดเวลา (กาเย่) 13. สามารถหลีกเลี่ยงสิ่งที่รบกวนภายในชั้นเรียนได้ทาให้ผู้เรียนมีสมาธิในการเรียน 14. ผู้เรียนมีช่องทางในการเรียน สามารถเข้าถึงผู้สอนได้ 15. เหมาะสาหรับผู้เรียนที่ค่อนข้างขาดความมั่นใจในตัวเอง 16. ใช้ในบริษัท หรือองค์กรต่างๆ สามารถลดต้นทุนในการอบรม สัมมนาได้ ข้อเสีย 1. ไม่สามารถแสดงความคิดเห็น หรือถ่ายทอดความคิดเห็นอย่างรวดเร็ว 2. มีความล่าช้าในการปฏิสัมพันธ์ 3. การมีส่วนร่วมน้อย โดยผู้เรียนไม่สามารถมีส่วนร่วมทุกคน 4. ความไม่พร้อมด้าน ซอฟแวร์ Software บางอย่างมีราคาแพง (ของจริง) 5. ใช้งานค่อนข้างยาก สาหรับผู้ไม่มีความรู้ด้าน ซอฟแวร์ Software 6. ผู้เรียนบางคนคิดว่าไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน เพราะราคาอุปกรณ์ค่อนข้างสูง 7. ผู้เรียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าถึงข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 8. ผู้เรียนต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองอย่างสูง ในการเรียนการสอนแบบนี้ 9. ความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคนเป็นอุปสรรคในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 10. สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมในการใช้เครือข่าย หรือระบบอินเทอร์เน็ต เกิดปัญหาด้านสัญญาณ 11. ขาดการปฏิสัมพันธ์แบบ face to faec (เรียลไทม์)
  • 7. 7 ความเป็นไปได้ในการไปใช้งานจริงของ Blened Learning การเรียนการสอนแบบผสมผสาน 1. มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุค ICT ทาให้มีการเรียนรู้ที่หลากหลายวิธี เช่น 2 วิธี หรือมากกว่านั้นได้ 2. ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้e-Learning 3. สามารถนาไปใช้ได้จริงในสถานศึกษา เช่น โรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย รวมไปถึง บริษัท องค์กร ต่าง ๆ เพื่อ ประหยัดงบประมาณและต้นทุน 4. เป็นไปได้หรือไม่ในการนาไปใช้งานได้จริงขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ความเหมาะสมขององค์ประกอบใน การจัดการเรียนการสอน อุปกรณ์ ผู้เรียน และผู้สอน เอกสารอ้างอิง อภิชาต อนุกูลเวช.2552.Blended learning การเรียนรู้แบบผสมผสาน.(ออนไลน์).แหล่งที่มา: http://www.chontech.ac.th/~abhichat/1/index.php?option=com_content&task=view&id=222.15 กุมภาพันธ์ 2559
  • 8. 8 เรื่องที่ 2 การเรียนรู้แบบผสมผสาน ด้วยสื่อสังคม Online เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน ทิพวรรณ มีพึ่ง สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยพณิชยการเจ้าพระยา กรุงเทพฯ
  • 9. การเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning. ทิพวรรณ มีพึ่ง1 Tippawan Meepung1 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาความพึงพอใจตอการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online และ หาประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวย Blogger โดยทําการศึกษาดวยวิธีการสํารวจ ความพึงพอใจ จากกลุมตัวอยางนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ ภาคพิเศษ จํานวน 30 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ สื่อสังคม Online และ แบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ใชคาสถิติ รอยละ คาเฉลี่ย คาความ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย สวนที่ 1 เกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของนักศึกษา นักศึกษา เปนเพศชาย 11 คน (รอยละ 36.67) เพศหญิง 19 คน (รอยละ 63.33) อายุมากที่สุดอยูในชวง 20-25 คือ 20 คน (รอยละ 66.67) จบการศึกษาระดับ ปวช. 11 คน (รอยละ 36.67) กศน. 6 คน (รอยละ 20.00) ม.6 13 คน(รอยละ 43.33) เปน ลูกจาง/พนักงาน 26 คน (รอยละ 86.67) วางงาน 4 คน (รอยละ 13.33) สื่อสังคม Online ที่ใชงานบอยที่สุดคือ Facebook 25 คน (รอย ละ 83.33) ไมเคยใช 5 คน (รอยละ 16.67) สวนที่ 2 เกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษา 1. ดานการใชงานสื่อสังคม Online อยูในระดับ มาก ( =3.59) 2.ดานการจัดการเรียนการสอน อยูในระดับ มาก ( =3.61) 3.ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบ ผสมผสาน ดวย Blogger อยูในระดับ มาก ( =3.80) คําสําคัญ : การเรียนรูแบบผสมผสาน สื่อสังคมออนไลน ABSTRACT This study aimed to study Blended Learning with Social Media Online and Effective teaching and learning with Blogger. Were studied by means of a satisfaction survey. The samplings for this study were the 30 registry students in first term on academic year 2012 on Chaopraya Commercial Technological College Department of Computer Business Diploma Year 2 A questionnaire was used as the tools in this research and Social Media Online. Data was analyzed by using The percentage, mean, standard deviation. The results part 1were found that there were 11 males (36.67 %) 19 females (63.33%) 20-25 age 20 (66.67%) basic of education is Diploma 11 (36.67%). Non-formal education 6 (20%). high school education 13 (43.33%). The status is Employees 26 (86.66 %) Unemployed 4 (13.33 %) and use social media Online-Facebook 25 (83.33.%) unused 5 (16.67 %).
  • 10. The second part about the Complacency of Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning. Was in the subject 1 Use of social media Online at a high level (X ̅ = 3.57) subject 2 The teaching and learning at a high level (X ̅ = 3.61) and subject 3 Effectiveness of blended learning with social media Online at a high level (X ̅ = 3.80) Key Words : Blended Learning, Social Media Online e-mail address : kmee01@gmail.com 1 สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจาพระยา กรุงเทพฯ 10400 Department of Computer Business, Chaopraya Commercial Technological College, Bangkok 10400
  • 11. คํานํา การจัดการศึกษาของประเทศไทยตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 การจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ เปนการศึกษาที่กําหนดจุดมุงหมายวิธีการศึกษาหลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขของการสําเร็จการศึกษาที่แนนอน การศึกษานอก ระบบ เปนการศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของ การศึกษาการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญของการ สําเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมี ความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของบุคคลแตละกลุม การศึกษาตามอัธยาศัยเปน การศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความ สนใจศักยภาพความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณสังคม สภาพแวดลอม สื่อ หรือแหลงความรูอื่นๆการจัดการเรียนการสอนปจจุบัน ผูสอนสามารถนํา เทคโนโลยีที่มีอยู ผสมผสานกับ กระบวนการจัดการเรียนรู โดยใหเทคโนโลยีเปนตัวกลาง ระหวางผูสอน กับ ผูเรียนไดทั้งในหองเรียน หรือนอกหองเรียน ไมมีขอจํากัดเรื่องเวลา สื่อสังคม Online (พิชิต, 2554) คือ สื่อที่ผูสงสารแบงปนสาร ซึ่งอยูในรูปแบบตางๆ ไปยังผูรับสาร ผานเครือขาย Online โดยสามารถโตตอบกันระหวางผูสงสารและผูรับสาร หรือผูรับสารดวยกันเอง ซึ่งสามารถ แบงสื่อสังคม Onlineออกเปนประเภทตางๆ ที่นิยมใชกันคือ บล็อก (Blogging) ทวิตเตอรและไมโครบล็อก (Twitter and Microblogging) เครือขายสังคม Online (Social Networking) และการแบงปนสื่อทาง Online (Media Sharing) การเรียนการสอนในชั้นเรียน มีหลายขอจํากัดที่ผูสอนไมสามารถควบคุมได เชนดานระยะเวลาการ เรียนของนักศึกษาภาคพิเศษที่มีนอยกวาภาคปกติ กิจกรรมเสริมระหวางการศึกษา พฤติกรรมการเขาเรียน พื้นฐานการศึกษาเดิมการขาดเรียนคือปจจัยหลักที่กอใหเกิดความไมตอเนื่องในการเรียนการสอนและกอใหเกิด ความไมเขาใจสงผลใหเกิดการเรียนตามไมทันความเบื่อหนายดังนั้นผูวิจัยจึงเลือกใชสื่อสังคมOnlineBlogger ประเภท Blogspot ดวยสื่อการสอนที่ผูสอนสรางขึ้น เชน สื่อ Ms.word, Ms.Excel, Ms.PowerPoint, สื่อวีดีโอ ดวยการเรียนรูแบบผสมผสาน ในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน ใชในการรวบรวมสื่อการสอนจากผูสอน เปนแหลง ติดตอสื่อสารระหวางผูสอนกับผูเรียน เพื่อเกิดความตอเนื่องในการเรียน เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรูและ เกิดการใชเทคโนโลยีใหเกิดประโยชนสูงสุด วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวย Blogger ประโยชนของการวิจัย 1. นําผลการวิจัยที่ไดไปปรับปรุง การเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Onlineใหดียิ่งขึ้น 2. ทราบถึงความคิดเห็นตอการใชงานสื่อสังคม Online เพื่อหาสื่อสังคม Online ที่เหมาะสมมาใชเปนสื่อกลาง ในการเรียนการสอน 3. เพื่อแกปญหาขอจํากัดการเรียนการสอน 4. เพื่อกอใหเกิดความตอเนื่องในการเรียนการสอน
  • 12. 5. ผูเรียนเกิดการใชเทคโนโลยีใหเกิดประโยชนสูงสุด 6. ไดแหลงรวบรวมเนื้อหารายวิชาที่สรางจากสื่อตางๆ ไวที่เดียวกัน 7. ไดชองทางการติดตอสื่อสารระหวางผูสอนกับผูเรียนอีกหนึ่งชองทาง ขอบเขตการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักศึกษาศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ภาคพิเศษ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจาพระยา สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ Concept for Research Figure 1 Concept of Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning การเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended learning) Blended learning เปนการผสมผสานวิธีหลายๆวิธีเพื่อใชในการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนเกิด การเรียนรู( teaching and learning ) เชน การสอนในชั้นเรียนดวยการสอนผานเครือขาย ( a combination of face-to-face and Online Learning) ซึ่งตรงกับความคิดของที่วา ไมมีวิธีการสอนแบบใดแบบหนึ่งที่จะชวยให ผูเรียนเกิดการเรียนรูได ตองอาศัยวิธีการหลายๆ วิธีนํามาผสมผสานกัน จึงจะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และ Blended learning เหมาะกับการศึกษาดานวิชาชีพ การฝกอบรม การพัฒนาทักษะดานฝมือที่ตองอาศัยความ Satisfaction with the teaching and learning. by using Social Media Online การเรียนรูแบบผสมผสาน ( Blended Learning ) Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning. ( Slide Share ) ( Word, Excel, PowerPoint, PDF ) ( YouTube ) ( VDO ) Blogger ( Blogspot )
  • 13. ชํานาญ เพื่อพัฒนาผูเรียนจาก Novice ไปสู Expert Blended learning เปนสิ่งสําคัญของการศึกษาและ เทคโนโลยี blended learning มีการใชงานที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว, เปนการบูรณาการระหวางการเรียนในชั้นเรียน และการเรียนแบบ Online, สามารถชวยสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนและการใชเวลาในชั้นเรียนไดเหมาะสม บล็อก ( Blog ) บล็อก (อังกฤษ: blog)เปนคํารวมมาจากคําวา เว็บล็อก (อังกฤษ: weblog)เปนรูปแบบเว็บไซตประเภท หนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลําดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงขอมูลที่เขียนลาสุดไวแรกสุด บล็อกโดยปกติ จะประกอบดวย ขอความ ภาพ ลิงก ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อตางๆ ไมวา เพลง หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได จุดที่ แตกตางของบล็อกกับเว็บไซตโดยปกติคือ บล็อกจะเปดใหผูเขามาอานขอมูล สามารถแสดงความคิดเห็นตอทาย ขอความที่เจาของบล็อกเปนคนเขียน ซึ่งทําใหผูเขียนสามารถไดผลตอบกลับโดยทันที คําวา "บล็อก" ยังใชเปน คํากริยาไดซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผูที่เขียนบล็อกเปนอาชีพก็จะถูกเรียกวา "บล็อกเกอร" บล็อกเปนเว็บไซตที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยูกับเจาของบล็อก โดยสามารถใชเปนเครื่องมือสื่อสาร การประกาศขาวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพรผลงาน ในหลายดานไมวา อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือขาวปจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องสวนตัวหรือจะเรียกวาไดอารี Online ซึ่งไดอารี Online นี่เองเปนจุดเริ่มตนของการใชบล็อกในปจจุบัน นอกจากนี้ตามบริษัทเอกชนหลายแหงไดมีการจัดทําบล็อกของ ทางบริษัทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหมใหักับลูกคา โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับขาวสั้น และไดรับการตอบรับจากทางลูกคาที่แสดงความเห็นตอบกลับเขาไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ บล็อกมาจาก Web+Log แลวยอเหลือ Blog คือ ประเภทของระบบการจัดการเนื้อหา ที่อํานวยความ สะดวกใหผูเขียน บล็อกเผยแพรและแบงปนบทความของตนเอง โดยบทความที่โพสตลงบล็อก เปนการแสดง ความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนบล็อก ซึ่งจุดเดนของบล็อก คือ การสื่อสารถึงกันอยางเปนกันเองระหวางผูเขียน และผูอานบล็อกผาน การแสดงความคิดเห็น (Comment) ซึ่ง Blogger (http://www.blogger.com) และ WordPress (http://wordpress.com) เปนสองเว็บไซตที่ผูคนนิยม เขาไปสรางบล็อกของตนเอง SlideShare SlideShare เปน website ที่ใหบริการฝากไฟล ประเภท งานนําเสนอในรูปแบบไฟล pdf, ppt, pps, pptx, ppsx, pot, potx (Powerpoint); odp (OpenOffice) เอกสารในรูปแบบไฟล pdf, doc, docx, rtf, xls (MSOffice); odt, ods(OpenOffice); Apple iWork Pages และวีดีโอในรูปแบบไฟล mp4, m4v (ipod), wmv (windows media video), mpeg ,avi (windows) ,mov (apple quicktime) Mpg, mkv (h.264), ogg, asf, vob, 3gp, 3g2 (mobile phones) rm, rmvb (Real), flv (Flash) ขนาดไฟลสูงสุด 100MB และสามารถนาไปแชร ใหผูอื่นไดเขามาดู หรือ Download ไปใชได นอกจากนี้ยังสามารถคนหาไฟลเอกสาร (word) หรือ งานนําเสนอ (Powerpoint) ที่ผูอื่นสรางไวมากมาย นํามาประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได โดยไมตองสรางขึ้นมาเอง
  • 14. YouTube เปนเว็บไซตที่ใหบริการแลกเปลี่ยนภาพวิดีโอระหวางผูใชไดฟรี โดยนําเทคโนโลยีของ Adobe Flash มา ใชในการแสดงภาพวิดีโอ ซึ่งยูทูบมีนโนบายไมใหอัพโหลดคลิปที่มีภาพโปเปลือยและคลิปที่มีลิขสิทธิ์ นอกเสีย จากเจาของลิขสิทธิ์ไดอัพโหลดเอง เมื่อสมัครสมาชิกแลวผูใชจะสามารถใสภาพวิดีโอเขาไปแบงปนภาพวิดีโอให คนอื่นดูดวย แตหากไมไดสมัครสมาชิกก็สามารถเขาไปเปดดูภาพวิดีโอที่ผูใชคนอื่น ๆ ใสไวใน YouTube ได แม จะกอตั้งไดเพียงไมนาน (YouTube กอตั้งขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 2005) YouTube เติบโตอยางรวดเร็วมาก เปนที่รูจักกันแพรหลายและไดรับความนิยมทั่วโลก ตอมาป ค.ศ.2006 กูเกิ้ลซื้อยูทูบ ตอนนี้ยูทูบจึงกลายเปนสวน หนึ่งของกูเกิ้ลแลว ไฟล WebM - ตัวแปลงสัญญาณภาพ Vp8 และตัวแปลงสัญญาณเสียง Vorbis Audio .MPEG4, 3GPP และ ไฟล MOV - โดยทั่วไปรองรับ h264, ตัวแปลงสัญญาณภาพ mpeg4 และตัวแปลง สัญญาณเสียง AAC .AVI - กลองหลายชนิดใชรูปแบบนี้ - โดยทั่วไปตัวแปลงสัญญาณภาพคือ MJPEG และ สําหรับเสียงคือ PCM .MPEGPS - โดยทั่วไปรองรับตัวแปลงสัญญาณภาพ MPEG2 และสัญญาณเสียง MP2 .WMV .FLV - ตัวแปลงสัญญาณภาพ Adobe-FLV1, สัญญาณเสียง MP3 อุปกรณและวิธีการ 1. กําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากรคือ นักศึกษาศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ภาคพิเศษ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจาพระยา สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ จํานวน 200 คน 2. กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปที่ 2 ภาคพิเศษ ภาคเรียนที่ 1 ป การศึกษา 2555 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจาพระยา สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ จํานวน 30 คน ใช วิธีการเลือกแบบเจาะจง ( ธานินทร, 2550: 54 ) 2. ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน คือ การเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจตอการเรียนการสอน โดยใชสื่อสังคม Online ประสิทธิภาพการเรียนการสอน 3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือ 1. สื่อสังคม Online ประเภท Blogger ( www.atippawan.blogspot.com ) 2. แบบสอบถามความพึงพอใจ ประกอบดวย 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา, สถานภาพการทํางาน และสื่อสังคม Online ที่เคยใชงาน
  • 15. สวนที่ 2 ความคิดเห็นตอการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online เพิ่มประสิทธิภาพการเรียน การสอน แบบสอบถามครอบคลุม 3 ดาน คือ 1. ดานการใชงานสื่อสังคม Online 2. ดานการจัดการเรียนการ สอน 3. ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวย Blogger สวนที่ 3 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม แบบสอบถามความพึงพอใจ ลักษณะของแบบสํารวจความพึงพอใจมีดังนี้ 1. แบบสอบถามมีจํานวน 20 ขอ 2. การตอบคําถามมีคําตอบใหเลือก 5 คําตอบ โดยใชแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ โดยมีความหมายดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด ,2545 : 103) ระดับ 5 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับดีมาก ระดับ 4 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับมาก ระดับ 3 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง ระดับ 2 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับนอย ระดับ 1 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับนอยที่สุด 4. วิธีดําเนินงาน การศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูล แบงเปน 3 สวนคือ สวนที่ 1 คือ ศึกษาปญหาขอจํากัดการเรียนการสอน ขอจํากัดการเรียนการสอนการเรียนการสอน ภาคพิเศษ ในภาคเรียนที่ผานมาประสบปญหาดังนี้ 1. ระยะเวลาในการเรียนที่จํากัด 2. ความแตกตางทางพื้นฐานการศึกษาเดิม เชน ม.6, กศน., ปวช. 3. ความหลากหลายของอาชีพการทํางาน เชน เจาหนาที่เข็นเปล, กุก, พนักงานธุรการ, พนักงานนวด, พนักงานขับรถสงสินคา ฯลฯ บางตําแหนงไมใชงานคอมพิวเตอร 4. การขาดเรียน สวนที่ 2 คือ การศึกษาการใชงาน Blogger ของ Blogspot เปนของ google ผูวิจัยไดทําการศึกษาการทํางานของ Blogger สามารถใชงานได 2 มุมมอง คือมุมมองทั่วไป และ มุมมองภาษา HTML มีขั้นตอนการทํางานดังนี้ 1. การใชงาน Blogger ตองใชดวยอีเมลของ gmail 2. สมัคร ใชงาน Blogger ที่ www.blogger.com 3. ตั้งคาการใชงานเบื้องตนที่ “การตั้งคา” 4. เลือกรูปแบบ Blogger จาก “แมแบบ” สามารถออกแบบเองไดโดยเลือกที่ “รูปแบบ” 5. เขียนบทความตามตองการ
  • 16. Figure 2 Back of System and Front Blogger Figure 3 Upload file on www.slideshare.com or www.youture.com 6. นําสื่อที่ผูสอนสรางแปลงเปนไฟล PDF ( แกปญหาการแสดงผล รูปแบบอักษรที่ไมเหมือนกัน ) upload ไฟลไวที่เว็บไซต www.slideshare.net และสื่อวีดีโอ upload ไฟลไวที่เว็บไซต www.youtube.com และ Copy Code ภาษา HTML มาวางใน Blogger มุมมอง HTML หรือสามารถแทรกจาก Blogger โดยเลือกสื่อ วีดีโอจาก YouTube ที่เราทําการ upload ไวแลว 6. เผยแพรบทความ 7. ใชงานสื่อสังคม Online กับกลุมตัวอยาง สวนที่ 3 คือ แบบสอบถามความพึงพอใจ สวนที่ 1 คําถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของนักศึกษา สวนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับความพึงพอใจตอ ที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้นโดยใชแบบสอบถามแบบมาตราสวน ประมาณคา 5 ระดับ โดยมีความหมายดังนี้ ( บุญชม ศรีสะอาด, 2545: 103 ) ระดับ 5 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับดีมาก ระดับ 4 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับมาก ระดับ 3 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง ระดับ 2 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับนอย ระดับ 1 หมายถึงมีความคิดเห็นอยูในระดับนอยที่สุด 5. การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล 5.1 การเก็บรวบรวมขอมูลเก็บโดยตรงกับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปที่ 2 ภาคพิเศษ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2555 จํานวน 30 คน ดวยการใชแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอการ เรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online
  • 17. 5.2 การวิเคราะหขอมูล สถิติที่ใชไดแก คาเฉลี่ย (Mean) และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัย สวนที่ 1 เกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของนักศึกษา นักศึกษา เปนเพศชาย 11 คน (รอยละ 36.67) เพศหญิง 19 คน (รอยละ 63.33) อายุมากที่สุดอยูในชวง 20-25 คือ 20 คน (รอยละ 66.67) จบการศึกษาระดับ ปวช. 11 คน (รอยละ 36.67) กศน. 6 คน (รอยละ 20.00) ม.6 13 คน(รอยละ 43.33) เปน ลูกจาง/พนักงาน 26 คน (รอยละ 86.67) วางงาน 4 คน (รอยละ 13.33) สื่อสังคม Online ที่ใชงานบอยที่สุดคือ Facebook 25 คน (รอยละ 83.33) ไมเคยใช 5 คน (รอยละ 16.67) สวนที่ 2 เกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษา 1. ดานการใชงานสื่อสังคม Online อยูในระดับ มาก ( =3.59) 2.ดานการจัดการเรียนการสอน อยูในระดับ มาก ( =3.61) 3.ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบ ผสมผสาน ดวย Blogger อยูในระดับ มาก ( =3.80) Table 1 Results of Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning ลําดับที่ รายการ S.D. แปลผล ดานการใชงานสื่อสังคม Online 1 ความสะดวกรวดเร็วของการใชงาน Blogger 3.70 0.70 มาก 2 การควบคุมการทํางานของ Blogger 3.67 0.80 มาก 3 ความชัดเจนของรูปภาพ 3.40 0.81 ปานกลาง 4 ความสมบูรณของเสียง 3.70 0.79 มาก 5 ดูงาย สบายตา 3.27 0.69 ปานกลาง 6 จัดแยกรายวิชา ชัดเจน 3.47 0.73 ปานกลาง 7 ความเหมาะสมของการใชงานโดยรวม 3.83 0.75 มาก ดานการจัดการเรียนการสอน 1 นักศึกษาสามารถปฏิบัติตามไดหลังจากศึกษาใน Blogger 3.67 0.76 มาก 2 นักศึกษาใชศึกษาเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน 3.40 0.77 ปานกลาง 3 ผูสอนใชคําสั่งไดอยางเหมาะสม เขาใจงาย 3.70 0.75 มาก 4 ผูสอนรวบรวมความรูจากแหลงอื่นๆ ใหเขาใจมากขึ้น 3.77 0.77 มาก 5 ผูสอนมีการตรวจติดตามงานสม่ําเสมอ 3.50 0.78 ปานกลาง 6 ผูสอนมีการอธิบายเพิ่มเติม 3.60 0.77 มาก 7 เนื้อหาที่ใชเรียนเหมาะสมกับการเรียนการสอน 3.63 0.67 มาก ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสานดวย สื่อสังคม Online 1 เขาใจเนื้อหาการเรียนมากขึ้น 3.87 0.73 มาก 2 สามารถใชทบทวนดวยตนเองได 3.80 0.71 มาก 3 มีประโยชนจําเปนตอนักศึกษา 3.57 0.68 มาก 4 ใหคะแนนความรูตนเองกอนการเรียนดวยสื่อ 3.83 0.75 มาก 5 ใหคะแนนความรูตนเองหลังการเรียนดวยสื่อ 4.03 0.76 มาก 6 พึงพอใจตอการใชงานโดยรวม 3.73 0.78 มาก
  • 18. จาก Table 1 จากแบบสอบถามความพึงพอใจจํานวน 20 ขอ คําถามครอบคลุมทั้ง 3 ดาน พบวา มีความ พึงพอใจโดยรวมอยูในระดับ ดี คาเฉลี่ยสูงสุดคือ นักศึกษาใหคะแนนความรูตนเองหลังการเรียนดวยสื่อ อยูใน ระดับ มาก ( =4.03) ผลการทดลองและวิจารณ จากการวิจัยทําใหได การเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการ สอน ประกอบดวย ผูสอน ผูเรียน สื่อสังคม Online และเครือขายอินเทอรเน็ต มีองคประกอบสําคัญ คือ 1. ผูสอนสรางสื่อการเรียนที่อยูในรูปแบบตางๆ เชน word, excel, powerpoint, vdo 2. แปลงไฟลใหอยูในรูปแบบที่เหมาะสม เชน pdf ฝากไฟลไวที่ www.slideshare.net สื่อวีดีโอ upload ไวที่ www.youtube.com 3. Copy Code ใสใน Blogger 4. เผยแพร 5.ผูเรียนเขาดูสื่อที่ผูสอนสรางที่ Blogger ( www.atippawan.blogspot.com ) Figure 4 Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning ผลการวิจัยการเรียนรูแบบผสมผสาน ดวยสื่อสังคม Online เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนจาก กลุมตัวอยาง 30 คน โดย คําถามครอบคลุมทั้ง 3 ดานไดผลดังนี้ Table 2 Blended Learning with Social Media Online for Effective teaching and learning on 3 Side เรื่อง ( x ) S.D แปลผล 1. ดานการใชงานสื่อสังคม Online 3.59 0.74 มาก 2. ดานการจัดการเรียนการสอน 3.61 0.75 มาก 3. ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสานดวย สื่อสังคม Online 3.80 0.73 มาก Instructor Learner Feedback Add / Edit Learning Internet Blogger
  • 19. จาก Table 2 ความพึงพอใจของนักศึกษาทั้ง 3 ดานคือ 1.ดานการใชงานสื่อสังคม Online อยูในระดับ มาก ( = 3.59) 2. ดานการจัดการเรียนการสอน อยูในระดับ มาก ( = 3.61) 3. ดานประสิทธิภาพของการ เรียนรูแบบผสมผสานดวย สื่อสังคม Online อยูในระดับ มาก ( = 3.80) ดานการใชงานสื่อสังคม Online ความชัดเจนของเสียงในสื่อวีดีโอ อยูในระดับมาก Blogger ใชงานได อยางสะดวกและรวดเร็ว โดยรวมพึงพอใจอยูในระดับมาก ดานการจัดการเรียนการสอน นักศึกษาพึงพอใจ การรวบรวมความรูจากแหลงอื่นๆ มาไวใน Blogger เพื่อใหเขาใจมากยิ่งขึ้น คําสั่งเขาใจงาย และสามารถใชปฏิบัติตามหลังศึกษาเพิ่มเติมจาก Blogger โดยรวมพึง พอใจอยูในระดับมาก ดานประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบผสมผสานดวยสื่อสังคม Online นักศึกษามีความรูเพิ่มมากขึ้นเมื่อ ไดศึกษาเพิ่มเติมจาก Blogger มีความเขาใจเนื้อหาการเรียนมากยิ่งขึ้น โดยรวมพึงพอใจอยูในระดับมาก สรุป จากผลการวิจัย สามารถจําแนกขอดี ขอจํากัดของการเรียนแบบผสมผสาน ( Strong and Weakness ) การเรียนรูแบบผสมผสาน ( Blended Learning ) ซึ่งเปนนวัตกรรมการเรียนรูปแบบใหมและนํามาปรับใชในการ เรียนการสอน ซึ่งจากการวิจัยพบวามีทั้งขอดี-ขอเสียบางประการที่ควรคํานึงถึง ซึ่งมีประเด็นสําคัญดังตอไปนี้ ( อภิชาต อนุกูลเวช , 2555 ) ขอดีของ Blended Learning 1. สามารถแบงเวลาเรียนไดอยางมีอิสระในการเรียนรูเนื้อหา 2. เลือกสถานที่เรียนไดอยางมีอิสระทั้งในชั้นเรียนปกติหรือนอกชั้นเรียน 3. ผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเองตามระดับและอัตราการเรียนรู ( Self-paced ) 4. เปนรูปแบบการผสมผสานระหวางการเรียนแบบเดิมกับรูปแบบการเรียนเชิงอนาคต 5. เปนการเรียนรูที่เนนดวยสื่อผสม ( Multimedia )หลากหลายรูปแบบ 6. เปนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ( Learner Center ) 7. ผูเรียนมีเวลาในการคนควาขอมูลไดอยางอิสระ 8. สามารถสงเสริมความแมนยํา การถายโอนความรูของผูเรียน และทราบผลการปฏิบัติไดรวดเร็ว 9. สรางแรงจูงใจในการเรียนรูไดดี 10. สามารถสรางแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดดี 11. สามารถหลีกเลี่ยงสิ่งที่รบกวนภายในชั้นเรียนไดทําใหผูเรียนมีสมาธิในการเรียน 12. ผูเรียนมีชองทางในการเรียนรูไดหลากหลาย สามารถเขาถึงผูสอนหรือแหลงขอมูลไดดี 13. เปนรูปแบบการเรียนที่เหมาะสําหรับผูเรียนที่คอนขางขาดความมั่นใจในตนเอง ขอจํากัดของ Blended Learning 1. ผูเรียนไมสามารถแสดงความคิดเห็น หรือถายทอดความคิดเห็นไดอยางรวดเร็ว 2. เปนรูปแบบที่อาจมีความลาชาในการปฏิสัมพันธ ( Interaction ) ระหวางผูเรียน-ผูสอน 3. ผูเรียนตองมีทักษะ ความรูความเขาใจในดานงานคอมพิวเตอรเพื่อการเขาถึงขอมูลแหงโลก Internet
  • 20. 4. ผูเรียนตองมีความรับผิดชอบตอตนเองคอนขางสูงในการเรียนการสอนรูปแบบนี้ 5. ความแตกตางของผูเรียนแตละคนเปนอุปสรรคตอการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 6. สภาพแวดลอมไมเหมาะสมตอการใชเครือขายหรือระบบ Internet Network เกิดปญหาหรือเปน จุดบอดในดานการรับสงสัญญาณ 7. เกิดการขาดปฏิสัมพันธแบบ Face to face ระหวางผูเรียนกับผูสอน ( Real Time ) Figure 5 Social Media Online Wordpress and Blogspot จากการวิจัยการเรียนรูแบบผสมผสานโดยประยุกตใชสื่อสังคม Onlineเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการ สอน พบวา Blogger ใชเปนสื่อกลางในการจัดการเรียนการสอน สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนได เปนอยางดี ใชรวบรวมสื่อที่ผูสอนสรางขึ้น ทั้งประเภท ขอความ รูปภาพ เสียง วีดีโอ และแปลงไฟลใหอยูใน รูปแบบที่สามารถ upload ไฟลไวบน slideshare และ youtube ชวยแกปญหาขอจํากัดทางการเรียน โดยให ผูเรียนศึกษาเพิ่มเติม สนับสนุนใหผูเรียนเกิดความตอเนื่องในการเรียน กรณีที่ขาดเรียน หรือใชทบทวนเนื้อหา นอกเวลาเรียน ใชในการติดตอสื่อสารระหวางผูสอนกับผูเรียนไดอีกชองทาง ใหผูเรียนเรียนรูการใชเทคโนโลยีให เกิดประโยชนสูงสุด Blogger ของ Blogspot เมื่อมีการ update ขอมูลใหมเพิ่มขึ้นขอมูลเกาจะเลื่อนอยูดานลาง เมื่อปริมาณขอมูลมากขึ้น ทําใหใชเวลาในการคนหาขอมูล กรณีที่ผูสอนสอนหลายวิชา ผูสอนสามารถใช Blogger ของ Wordpress สําหรับจัดแบงรายวิชาออกจากกันเปนหนาเว็บเพจ ไดอยางชัดเจน ดังภาพที่ 5 เอกสารอางอิง ธานินทร ศิลปจารุ. การวิจัยและวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: วี. อินเตอร พริ้นท, 2550. บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน, 2545. พิชิต วิจิตรบุญยรักษ. สื่อสังคม Online : สื่อแหงอนาคต . มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. Executive Journal. 99-100, 2554.
  • 21. พิเชฐ คูชลธารา. บทความวิจัย การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning) สําหรับ ผูใหญเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2554 วิกิพีเดีย. ยูทูป. ( Online). แหลงที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/Youtube. สืบคนเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2555 วิกิพีเดีย. ยูทูป. ( Online). แหลงที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/Blog. สืบคนเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2542. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ .ศ. 2542 กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว. อภิชาต อนุกูลเวช. 2555. การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning). ( Online). แหลงที่มา http://www.chontech.ac.th/_abichat/1/index.php/option.html. สืบคนเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 Curtis J. Bonk, Charles R. Graham, Jay Cross (2005). The Handbook of Blended Learning: Golbal Perspectives, Local Designs, San Francisco. Slideshare. ( Online). แหลงที่มา http://www.slideshare.net/about. สืบคนเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555