SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
iamworavith
Asst.Prof.Dr.Woravith Chansuvarn
Lasted update : Jan 2017
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
Basic of Organic Chemistry
2
 เดิมเชื่อว่าสารอินทรีย์ได้มาจากสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
 ปี ค.ศ.1828 Friedrich Wohler นักเคมีชาวเยอรมันสามารถ
เตรียมยูเรียจาก ammoniumcyanate
 ปัจจุบันมีสารอินทรีย์ที่รู้จักหลายล้านชนิด ซึ่งเกือบทั้งหมด
ประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจน
3
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
Hydrocarbons
Aliphatics
Alkanes Cycloalkanes Alkenes Alkynes
Aromatics
เคมีอินทรีย์ เป็นการศึกษาสารที่พบในสิ่งมีชีวิต ในปัจจุบันเป็น
การศึกษาสารประกอบของธาตุคาร์บอนทั้งหมด
4
การแบ่งสารประกอบอินทรีย์
5
 อะลิเฟติก (Aliphatic compounds) : เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีโครงสร้าง
เป็นโซ่เปิดโดยที่อะตอมคาร์บอนต่อกันเป็น โซ่หลัก (main chain) และโซ่
แขนง (branch) ซึ่งอาจเป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม
C
H
C C C C
C
H
H H H H
H H
H
HH
H
H Hโซ่หลัก คือ
กลุ่มอะตอม C
ที่เกาะต่อกัน
เป็นโซ่ที่ยาว
ที่สุดในโมเลกุล
โซ่แขนง คือโซ่ที่สั้น
ต่อออกมาจากโซ่หลัก
6
โมเลกุลไซโคลเฮกเซน เป็นตัวอย่างของ
โมเลกุลที่มีวงแหวนของอะตอมคาร์บอน
 อะลิไซคลิก (Alicyclics) เป็นสารประกอบที่โครงสร้างคาร์บอนต่อกันเป็น
วง (ring) โดยที่อะตอมคาร์บอนต่อกันด้วยพันธะโควาเลนซ์ซึ่งอาจเป็น
พันธะเดี่ยวหรือพันธะคู่
 อะโรเมติก (Aromatic compounds) : เป็นสารประกอบอินทรีย์ซึ่งโมเลกุล
ประกอบด้วยวงแหวน เบนซีน (benzene)
7
 เฮทเทอโรไซคลิก (Heterocyclic) เป็นสารประกอบที่มีอะตอมคาร์บอนต่อ
กันโดยมีอะตอมของธาตุอื่น เช่น N, S, O มาคั่น
NN
N
O
8
 ไฮโดรคาร์บอน
(แอลเคน แอลคีนและแอลไคน์)
 แอลกอฮอล์
 อัลคิลเฮไลด์
 อีเทอร์
 แอลดีไฮด์
 คีโตน
“อะตอมหรือหมู่ของอะตอมที่มีอยู่ในโมเลกุลสารอินทรีย์ซึ่งเป็นส่วนแสดง
สมบัติทางเคมีของโมเลกุลส่วนใหญ่และทาให้โมเลกุลนั้นมีสมบัติทางเคมี
เฉพาะตัว”
หมู่ฟังก์ชันนัล (functional groups)
 กรดคาร์บอกซิลิก
 เอสเทอร์
 เอมีน
 เอไมด์
9
โมเลกุลสารอินทรีย์อาจมีหมู่ฟังก์ชันได้หลายกลุ่ม
C
H
C O
H
H H
HH
หมู่ฟังก์ชันไฮดรอกซี (-OH)
แสดงว่าโมเลกุลนี้เป็นสารอินทรีย์
ประเภทแอลกอฮอล์
10
11
Functional Abbr. Naming Example Name
alkane C-C -ane CH4 methane
alkyl halide R-X
(X=Cl, Br, F)
-oyl halide CH3Cl methyl chloride
(chloromethane)
alkene C=C -ene CH2=CH2 ethene
(ethylene)
alkyne CC -yne HCCH ethyne
alcohol R-OH -ol CH3OH methanol
(methyl alcohol)
ether R-O-R -oxy -ane CH3OCH3 methoxymethane
(dimethyl ether)
amine R-NH2 -amine CH3NH2 methanamine
(methyl amine)
12
Functional Abbr. Naming Example Name
aldehyde
O
R-CH -al
O
CH3CH
ethanal
(acetaldehyde)
ketone
O
R-C-R’ -one
O
CH3CCH3
propanone
(acetone)
carboxylic
O
R-C-OH -oic acid
O
CH3COH
ethanoic acid
(acetice acid)
acid chloride
O
R-C-Cl -oyl chloride
O
CH3C-Cl
ethanoyl chloride
ester
O
R-C-OR’ -yl -oate
O
CH3COCH3
methylethanoate
amide
O
R-C-NH2 -amide
O
CH3-C-NH2
ethanamide
(acetamide)







การเรียกชื่อสารอินทรีย์
13
1. ชื่อสามัญ (Common name)
IUPAC = International Union of Pure and Applied Chemistry
• prefix tells the number of carbon atoms in the parent
• infix tells the nature of the carbon-carbon bonds
• suffix tells the class of compound
2. ชื่อ IUPAC (ค.ศ. 1892)
ชื่อที่เรียกตามแหล่งกาเนิด เช่น acetic acid มาจากภาษาละตินว่า
acetum แปลว่า vinegar
14
 เลือกโซ่อะตอมคาร์บอนที่ยาวที่สุดเป็นโซ่หลัก (ใน
โซ่หลักจะต้องมีหมู่ฟังก์ชันนัลอยู่ด้วย)
จานวน C ในโซ่
หลักใช้คานาหน้า
ตามจานวน C
CH3-CH2-CH-CH2-CH3
CH2-CH2-CH3
IUPAC
1 2 3 4
5 6 7
CH3-CH2-CH-CH2-CH2-CH3
CH2-OH
1 2 3 4
5
Prefix Carbons
meth-
eth-
prop-
but-
pent-
hex-
hept-
oct-
non-
dec-
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
15
 กาหนดตาแหน่งอะตอมคาร์บอนในโซ่หลักมีหมู่ฟังก์ชันหรือหมู่
อะตอมที่เป็นโซ่แขนงหรือพันธะชนิดไม่อิ่มตัวมาเกาะอยู่ด้วย ให้
นับจากปลายด้านที่มีหมู่ฟังก์ชันนัลหรือหมู่อะตอมที่เป็นโซ่แขนงหรือ
พันธะชนิดไม่อิ่มตัว ให้กาหนดมีตัวเลขน้อยที่สุด
function group
function group
alkyl group
alkyl group
alkyl group
16
หมู่อะตอมของแอลเคนที่ขาด H ไปหนึ่งอะตอม เขียนย่อด้วย R-
• หมู่เอริล (aryl group) คืออะโรเมติกที่ขาดไฮโดรเจนหายไป 1 อะตอม
เขียนแทนด้วย Ar-
หลักการเรียกชื่อยังคงเหมือนการเรียกจานวนคาร์บอนอะตอมในโซ่ตรง
แต่ให้มีคาลงท้ายเป็น –อิล (–yl) เช่น
• หมู่ฟีนิล (phenyl group) คือเบนซีนที่ขาดไฮโดรเจนหายไป 1 อะตอม
เขียนแทนด้วย Ph-
หมู่แอลคิล (alkyl group)
CH4 เมื่อ H ขาดไป 1 อะตอมกลายเป็น -CH3 : methyl
CH3-CH3 เมื่อ H ขาดไป 1 อะตอมกลายเป็น -CH2-CH3 : ethyl
CH3-CH2-CH3เมื่อ H ขาดไป 1 อะตอมกลายเป็น –CH2-CH2-CH3 : n-propyl
17
ชื่อหมู่แอลคิล (Alkyl groups)
Name Structural formula
methyl -CH3
ethyl -CH2CH3
propyl -CH2CH2CH3
1-methylethyl
(isopropyl)
-CH2CH3
CH3
butyl -CH2CH2CH2CH3
2-methylpropyl
(isobutyl)
1-methylpropyl
(sec-butyl)
-CH2CHCH3
CH3
-CHCH2CH3
CH3
นอกจากหมู่แอลคิลแล้ว ยังมีอะตอม
อื่น ที่เกาะโซ่หลัก เช่น
- F เรียกว่า fluoro
- Cl เรียกว่า chloro
- Br เรียกว่า bromo
- I เรียกว่า iodo
- NO2 เรียกว่า nitro
18
 ถ้ามีหมู่ฟังก์ชันหรือหมู่อะตอมที่เป็นโซ่แขนงซ้า
กัน (มากกว่า 1 หมู่) เกาะกับโซ่หลัก ให้ใช้คา
นาหน้าเพื่อบอกจานวนที่ซ้ากันและให้ระบุตาแหน่ง
ของคาร์บอนที่มีหมู่ซ้ากันนั้นมาเกาะทุกๆหมู่
จานวน คานาหน้า
2 di-
3 tri-
4 tetra-
5 penta-
19
a)
b)
c)
d)
e)
CH3CH2CH2CH2CH2CH3 hexane
CH3CHCH2CH2CH2CH3 2-metylhexane หรือ isoheptane
CH3
CH3CH=CH2CH2CH2CH2CH2CH3 5-ethyl-2-octene
CH2CH3
CH3CH2CH2CHCH2CH3 4-ethylnonane
CH2CH2CH2CH2CH3
CH3
CH3CH2CH2CH2CH3 3,3-dimethyl-2-pentanol
OH CH3
อ่านชื่อ
20
a)
b)
c)
d)
e)
CH3CH2CH2CH2CH3 pentane
CH3CHCH2CH2CH3 2-metylpentane
CH3
CH3CH2CHCH2CH3 3-metylpentane
CH3
CH3
CH3CH2CCH3 2-dimetylbutane
CH3
CH3CH2CHCH=CH2 3-ethylpentene
CH2CH3
ชื่อฉันเขียนยังไง?
21
a) 2,2-dimethylpropane
b) 2,2,3-trimethylbutane
c) 1-bromo-2-chloroethane
d) 1,1,1,2,2-pentachloropropane
e) 2-methyl-2-butanol
f) 4,5-dibromo-2-pentene
g) 3-ethyl-2-methylhexane
h) 4-ethyl-2-methyl-1-propylcyclohexane
i) 2,4-dimethylcyclohexene
ปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย์
22
แอลเคนทาปฏิกิริยากับแฮโลเจน โดยการเกิดปฏิกิริยาการแทนที่
1. ปฏิกิริยาการแทนที่ (substitution) เป็นปฏิกิริยาที่อะตอมหรือหมู่
ฟังก์ชันของโมเลกุลหนึ่งถูกแทนที่โดยอะตอมหรือหมู่ฟังก์ชันอื่นที่ต่าง
ออกไป
C
H
H
HH C
H
H
H HCl Cl Cl Cl+ +
23
2. ปฏิกิริยาการเติม (addition) เป็นปฏิกิริยาที่สารสองโมเลกุลทา
ปฏิกิริยากันเกิดเป็นสารที่มีโมเลกุลใหญ่ขึ้น สารที่เข้าทาปฏิกิริยาตัวใดตัว
หนึ่งต้องเป็นสารไม่อิ่มตัว (มีพันธะคู่ หรือ พันธะสาม)
• ไฮโดรจิเนชัน (hydrogenation) – การเติม H
• แฮโลจิเนชัน (halogenation) – การเติมธาตุแฮโลเจน (F, Cl, Br, I)
• ไฮเดรชัน (hydration) – การเติม H2O
C
H
H
H
H
C
Br Br
C
H
H C
H
H
Br Br
24
• ไฮโดรจิเนชัน (hydrogenation) - เป็นปฏิกิริยาการเติมอะตอม
ไฮโดรเจนเพิ่มเข้าในโมเลกุลของสารประกอบไม่อิ่มตัว
CH2
H
C
H3C
+ H2
CH3
H2
C
H3C
25
• ปฏิกิริยาแฮโลจิเนชัน (halogenation) – เป็นปฏิกิริยาการเติม
อะตอมธาตุแฮโลเจนเข้าในโมเลกุลของสารประกอบไม่อิ่มตัว โดย
แฮโลเจนอะตอมจะเติมเข้าตาแหน่งพันธะคู่หรือพันธะสาม
26
• ปฏิกิริยาไฮเดรชัน (hydration) เป็นปฏิกิริยาการเติม
โมเลกุลของน้า (H2O) เข้าในโมเลกุลของสารประกอบไม่อิ่มตัว
เช่น แอลคีน แอลไคน์ เป็นต้น
27
• ไฮโดรแฮโลจิเนชัน (hydrohalogenation) เป็นปฏิกิริยาการ
เติมอะตอมไฮโดรเจนและแฮโลเจน เพิ่มเข้าในโมเลกุลของ
สารประกอบไม่อิ่มตัว
• Markovnikov's rule (1870)
28
3. ปฏิกิริยาการกาจัด (elimination) ปฏิกิริยาที่มีการกาจัดโมเลกุล
เล็กๆ ออกจากโมเลกุลสารตั้งต้น โดยอะตอมหรือโมเลกุลที่หลุดออกต้อง
อยู่ที่คาร์บอนที่ติดกัน
• ปฏิกิริยาการกาจัด Br
• ปฏิกิริยาการกาจัดน้า (Dehydration)
29
4. ปฏิกิริยาการจัดเรียงตัวใหม่ (rearrangement ) ปฏิกิริยาที่เกิด
เนื่องจากการจัดเรียงตัวใหม่ของสารตั้งต้นโดยมีการถ่ายโอน (transfer)
หมู่เล็กๆ ภายในโมเลกุล
2 carbocation 3 carbocation
CH3 H CH3 H
H3C – C – C+-- CH3  H3C – C+-- C – CH3
CH3 CH3
แอลเคนและไซโคลแอลเคน
แอลเคน มีสูตรทั่วไปคือ CnH2n+2 เมื่อ n = 1, 2, 3,…
CH4 C2H6 C3H8
• เป็นสารประกอบประเภทไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว (saturated hydrocarbons)
• มีพันธะเดี่ยวเท่านั้น (single covalent bonds)
• C1 - C4 เป็นแก๊ส ตั้ง C5 ขึ้นไปมีสถานะเป็นของเหลวและของแข็ง
30
31
ปฏิกิริยาของแอลเคน (Alkane reactions)
1. การเผาไหม้ (combustion reactions)
CH4(g) + 2O2(g)  CO2(g) + 2H2O(g) H0 = -890.4 kJ
2. การแทนทีด้วยแฮโลเจน (halogenation)
CH4(g) + Cl2(g)  CH3Cl(g) + HCl(g)
hv
3. การขจัดไฮโดรเจน (dehydrogenation)
CH3CH3(g)  CH2=CH2(g) + H2(g)
500C
Cr2O3
32
CH3 CH2 CH2 CH3CH3 CH2 CH3
CH3CH2CH2 CH2 CH3
PentaneButanePropane PentanePropane
Structural
formula
Line-angle
formula
Ball-and-
stick
model
การเขียนโครงสร้างแอลเคน (Drawing Alkanes)
33
ไอโซเมอร์
34
CH3 CH2CH2CH3
Butane
(bp -0.5°C)
CH3
CH3 CHCH3
2-Methylpropane
(bp -11.6°C)
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีสูตร
โครงสร้างต่างกัน เช่น : C4H10
4,111,846,763
4,347
75
3
1
Constitutional
Isomers
Molecular
Formula
CH4
C5 H1 2
C1 0 H2 2
C1 5 H3 2
C3 0 H6 2
36,797,588C2 5 H5 2
• เพนเทน (pentane, C5H12) มีจานวนไอโซเมอร์โครงสร้างคือ
n-pentane
2-methylbutane
2,2-dimethylpropane
35
ไซโคลแอลเคน (Cycloalkanes)
• แอลเคนที่มีโครงสร้างต่อเป็นวง มีสูตรโมเลกุลทั่วไป CnH2n
- 5 และ 6 เหลี่ยมเป็นส่วนใหญ่และเสถียร
• โครงสร้างและการเรียกชื่อ
- การเรียกชื่อเหมือนกับแอลเคนแต่ให้เรียกนาหน้าชื่อด้วย cyclo-
36
C
C
C
C
C
C
C
C H2 C
H2 C
CH2
CH
CH2
CH
CH3
CH3
C8 H1 6
37
bicyclo[4.4.0]decane
(Decalin)
bicyclo[4.3.0]nonane
(Hydrindane)
bicyclo[2.2.1]heptane
(Norbornane)
an alkane that contains two rings that share two carbons
Bicycloalkanes
Bicyclo[2.2.1]heptane
1
2
3
4
5
6
7
bicyclo [2,2,1]heptane
38
แอลคีน (Alkene)
• แอลคีน มีสูตรโมเลกุลทั่วไป คือ CnH2n เมื่อ n = 2, 3, 4,…
• เป็นไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว ประกอบด้วยพันธะคู่ระหว่างคาร์บอนอะตอม
• เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โอเลฟิน (Olefin)
• เรียกชื่อเหมือนแอลเคน แต่ลงท้ายเสียงด้วย –ene (-อีน)
• ระบุตาแหน่งของ double bond ด้วยตัวเลขที่น้อยที่สุด
H2C=CH-CH2-CH3 1-butene
H3C-CH=CH-CH3 2-butene
39
CH2=CH2 (ethene หรือ ethylene) มีความสาคัญในอุตสาหกรรม
พลาสติก
Geometric Isomers
• cis-isomer : มีหมู่ที่เหมือนกันอยู่ด้านเดียวกันของ double bond
• trans-isomer : มีหมู่ที่เหมือนกันอยู่ด้านตรงข้ามกันของ double bond
cis-2-Butene trans-2-Butene
40
CH3CH=CHCH3 มี 2 isomers
ปฏิกิริยาของแอลคีน
1. การแตก (cracking)
C2H6  CH2=CH2(g) + H2(g)
Pt
2. ปฏิกิริยาการเติม (addition)
CH3 CH=CHCH3 Br2
CH2Cl2
CH3CH-CHCH3
Br Br
2,3-Dibromobutane2-Butene
+
41
Markovnikov’s rule
“ปฏิกิริยาการเติมในแอลคีน (double bonds) โปรตอน (H+) จะเติม
ลงที่คาร์บอนตัวที่มี H เกาะอยู่มากที่สุด”
1-bromopropane
2-bromopropane
42
H3C H
C = C
H H
H Br
H3C- C – C - H
H H
+ H-Br
Br H
H3C- C – C - H
H H
ปฏิกิริยาการเติมของแอลคีน
1. การเติมแฮโลเจน (halogenation)
2. การเติมไฮโดรเจน (hydrogenation)
Br2
CH2 Cl2
Br
Br
Br
Br
+
trans-1,2-Dibromocyclohexane
(a racemic mixture)
Cyclohexene
+
CH3 CH=CHCH3 Br2
CH2Cl2
CH3CH-CHCH3
Br Br
2,3-Dibromobutane2-Butene
+
+ H2
43
ปฏิกิริยาการเติมของแอลคีน
3. การเติมไฮโดรเจน-แฮโลเจน (hydrohalogenation)
4. ปฏิกิริยาไฮเดรชัน (hydration)
CH3CH=CH2 H2O
H2SO4
CH3CH-CH2
HOH
Propene 2-Propanol
+
CH3C=CH2
CH3
H2O
H2SO4
HO
CH3
H
CH3C-CH2
2-Methyl-2-propanol2-Methylpropene
+
+ HCl
Cl
44
CC
C C
C C
Br2
( HX)
HCl
H2O
( X2 )
C C Br2
( X2 )
H2 O
(X)
C C
H
OH
C C
Br
Br (X)
C C
HO
Br (X)
C C
H
Cl (X)
Descriptive Name(s )React ion
+
+
+
Bromination
(halogenation)
Hydrochlorination
(hydrohalogenation)
Hydration
+ Bromo(halo)hydrin
formation
45
CC
C C
CC
BH3
OsO4
H2
C C Hg(OAc) 2
H2 O
C C
BH2H
C C
HO OH
C C
HH
C C
HO
HgOAc
+
+
+
Hydroboration
Diol formation
(oxidation)
Hydrogenation
(reduction)
+ Oxymercuration
46
CC
C C
C C
Br2
( HX)
HCl
H2O
( X2 )
C C Br2
( X2 )
H2 O
(X)
C C
H
OH
C C
Br
Br (X)
C C
HO
Br (X)
C C
H
Cl (X)
Descriptive Name(s )React ion
+
+
+
Bromination
(halogenation)
Hydrochlorination
(hydrohalogenation)
Hydration
+ Bromo(halo)hydrin
formation
47
แอลไคน์ (alkynes)
• แอลไคน์ มีสูตรโมเลกุลทั่วไป คือ CnH2n-2 เมื่อ n = 2, 3, 4,…
• เป็นไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว ประกอบด้วยพันธะสามระหว่างคาร์บอนอะตอม
• เรียกชื่อเหมือนแอลเคน แต่ลงท้ายเสียงด้วย –yne (-อาย)
• ระบุตาแหน่งของ triple bond ด้วยตัวเลขที่น้อยที่สุด
HC ≡ C-CH2-CH3 1-butyne
H3C-C ≡ C-CH3 2-butyne
48
acetylene หรือ ethyne ใช้เตรียม vinyl chlorideHC CH
ปฏิกิริยาของแอลไคน์
1. การเผาไหม้ (Combustion reactions)
C2H2(g) + 5O2(g)  4CO2(g) + 2H2O (l) ΔH0 = 2599.2 kJ
2. ปฏิกิริยาการเติม (Addition reactions)
มีลักษณะเหมือนกับปฏิกิริยาการเติมแอลคีน แต่สามารถเกิดการเติม
ได้หลายขั้นตอน
49
อะโรมาติก (Aromatic)
 เป็นสารประกอบที่มีอะตอมคาร์บอนต่อกันเป็นวงมีจานวน
อิเล็กตรอนเป็น 4n+2 เมื่อ n = 1, 2, 3,…
โครงสร้างเบนซีน (benzene)
50
การเรียกชื่ออะโรมาติก
มีหมู่แทนที่ 1 หมู่ มีหมู่แทนที่มากกว่า 1 หมู่
51
สารประกอบอะโรมาติก
บางตัวมีชื่อเฉพาะ
52
ปฏิกิริยาของอะโรมาติก
1. Hydrogenation (เติม H) --> เกิดขึ้นได้ยาก
2. Substitution (ปฏิกิริยาการแทนที่)
• ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยหมู่แฮโลเจน
53
• ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยหมู่ไนโตร (Nitration)
• ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยหมู่แอลคิล (Alkylation)
54
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
55
แอลกอฮอล์
 Functional group : R–OH (มีหมู่ไฮดรอกซีในโมเลกุล)
CH3OH : methanol (methyl alcohol)
พิษร่างกาย ทาให้ตาบอด ดื่มเข้าไปอาจทาให้เสียชีวิต
CH3CH2OH : ethanol (ethyl alcohol)
ได้จากการหมักน้าตาล
C6H12O6 + yeast  C2H5OH + 2CO2
เรียกชื่อตาม parent compound แต่เปลี่ยนชื่อหมู่ฟังก์ชัน เป็น ออล (-ol)
56
57
อีเทอร์ (Ether)
58
ประกอบด้วยพันธะ เมื่อ R หรือ R เป็นหมู่แอลคิลหรือเอริล
diethyl ether
ใช้เป็นยาสลบ ยาชา มีอาการข้างเคียง
ใช้เป็นตัวทาละลาย (solvent)
CH3-O- methoxy-
CH3-CH2-O- ethoxy-
CH3-CH2-CH2-O- propoxy-
CH3-CH2-CH2-CH2-O- butoxy-
หมู่คาร์บอนิล
59
ประกอบด้วยหมู่
แอลดีไฮด์
คาร์บอกซิลิก
คีโตน
เอสเทอร์ (Ester)
60
 เอสเทอร์เป็นสารที่ได้จากปฏิกิริยาระหว่างกรดอินทรีย์กับแอลกอฮอล์
 มีกลิ่นเฉพาะตัว
C O
O
CH3 C2H5
ethyl acetate
เอมีน (Amine)
61
 เป็นสารอินทรีย์ ที่มีสมบัติเป็นเบส
 สูตรทั่วไป คือ R3N เมื่อ R อาจเป็น H, หมู่แอลคิล หรือ หมู่เอริล
CH3 - NH2 CH3CH2 - NH2
methyl amine ethyl amine
H2N-CH3 primary amine
HN-(CH3)2 secondary amine
N-(CH3)3 teriary amine
methamphetamine

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์Pat Jitta
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ratchaneeseangkla
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 

What's hot (20)

ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 

Similar to เคมีอินทรีย์เบื้องต้น

15 organic chemistry
15 organic chemistry15 organic chemistry
15 organic chemistryNeung Satang
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1Benny BC
 
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic  สำหรับห้องหนึ่งReaction organic  สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่งkaoijai
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
Reaction
ReactionReaction
Reactionkaoijai
 
แอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอแอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอMaruko Supertinger
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)Dr.Woravith Chansuvarn
 
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์พาราฮัท มิวสิค
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)Dr.Woravith Chansuvarn
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 

Similar to เคมีอินทรีย์เบื้องต้น (20)

15 organic chemistry
15 organic chemistry15 organic chemistry
15 organic chemistry
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
Biomolecule
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1
 
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic  สำหรับห้องหนึ่งReaction organic  สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
Reaction
ReactionReaction
Reaction
 
กรด เบส 2
กรด เบส 2กรด เบส 2
กรด เบส 2
 
แอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอแอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอ
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
 
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
 
กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 

More from Dr.Woravith Chansuvarn

แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)Dr.Woravith Chansuvarn
 
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)Dr.Woravith Chansuvarn
 
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)Dr.Woravith Chansuvarn
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional GroupsDr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 

More from Dr.Woravith Chansuvarn (20)

แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
 
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
 
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
 
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
Periodic Table
Periodic TablePeriodic Table
Periodic Table
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)
 
ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)
 
แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)แก๊ส (Gases)
แก๊ส (Gases)
 
AnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-VisAnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-Vis
 
AnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titrationAnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titration
 
AnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of SpectroscopyAnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of Spectroscopy
 
AnalChem : Basic of Electrochemistry
AnalChem : Basic of ElectrochemistryAnalChem : Basic of Electrochemistry
AnalChem : Basic of Electrochemistry
 

เคมีอินทรีย์เบื้องต้น