SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
พันธุบกในประเทศไทย
     ์ ุ
ISBN       : 974-436-448-3

ผูเขียน
  ้         : ทิพวัลย์ สุกมลนันทน์
                          ุ

ผูจดพิมพ์ : สำนักวิจยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1
  ้ั                ั
            กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
            จ.เชียงใหม่

ลิขสิทธิของกรมวิชาการเกษตร
        ์
ห้ามคัดลอกข้อความ หรือส่วนใดส่วนหนึงของหนังสือไปเผยแพร่โดยไม่ได้รบอนุญาต
                                   ่                             ั

พิมพ์ครังที่ 1
         ้
จำนวน 500 เล่ม
พิมพ์ท่ี       : หจก.นันทกานต์ กราฟฟิค การพิมพ์
              120 ซอย 7 (พงษ์สวรรณ) ถ.โชตนา ต.ศรีภมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300
                                ุ                   ู
              โทร : 0-5321-7014 , 0-5341-0009
              แฟกซ์ : 0-5341-0009
              E-mail : nantakarngraphic11@yahoo.com
คำนำ

                  บุกเป็นพืชทีมคณสมบัตเป็นได้ทงอาหารและสมุนไพรทีรจกกันแพร่หลาย โดยเฉพาะชาวญีปนและ
                                   ่ ี ุ           ิ         ้ั                          ่ ู้ ั                               ่ ุ่
จีนนิยมรับประทานเป็นอาหารเพือสุขภาพมานานนับร้อยปี มีการคัดเลือกพันธุและปลูกเป็นการค้าเพือรองรับ
                                               ่                                                       ์                   ่
อุตสาหกรรมแปรรูปสำหรับบริโภคทังภายในประเทศและส่งขายต่างประเทศทำรายได้เข้าประเทศในแต่ละปี
                                                     ้
เป็นจำนวนไม่นอย สำหรับประเทศไทยคนในชนบทนิยมนำบุกมาปรุงเป็นอาหารและขนมรับประทานมานานแล้ว
                        ้
เช่นเดียวกัน แต่อตสาหกรรมแปรรูปบุกเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเพือสุขภาพในเชิงการค้าของประเทศไทย เพิงเริมต้น
                          ุ                                                      ่                                       ่ ่
เมือประมาณสิบกว่าปีทแล้ว โดยนำหัวบุกมาแปรรูปเป็นเครืองดืมและผลิตภัณฑ์อาหารเส้นใยในรูปแบบต่างๆ
   ่                                ่ี                                          ่ ่
บริโภคในประเทศและส่งออกไปขายญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศซึ่งมีแนวโน้มเป็นที่ชื่นชอบ
ของผูรกสุขภาพทังหลายในการบริโภคอาหารเส้นใยจากธรรมชาติเพิมสูงขึน บุกจึงเป็นพืชทางเลือกทีมอนาคต
        ้ั                  ้                                                                  ่ ้                        ่ ี
และลูทางสำคัญในการส่งออกในรูปของผลิตภัณฑ์อาหารเพือสุขภาพอีกชนิดหนึง ซึงสมควรส่งเสริมและเผยแพร่
      ่                                                                     ่                         ่ ่
ความรูในการปลูกเป็นพืชเสริมรายได้แก่เกษตรกร
           ้
                  บุกเป็นพืชหัวล้มลุกซึงมีวงจรชีวตแตกต่างจากพืชอืน คือ มีชวงการเจริญเติบโตทางลำต้น (Vegetative
                                             ่             ิ                       ่            ่
growth) และออกดอก (Reproductive growth) ต่างปีกันและใช้เวลา 4-6 ปี จึงครบวงจรชีวิต
นอกจากนีบกชนิดเดียวกันยังมีความแปรปรวนเรืองรูปพรรณสัณฐานและลักษณะทางพฤกษศาสตร์บางประการ
              ้ ุ                                                   ่
ทำให้มีความสับสนในการเรียกชื่อและชนิดที่ถูกต้อง งานวิจัยในอดีตที่ผ่านมาส่วนใหญ่เป็นการสำรวจและ
รวบรวมพันธุบกโดยนักพฤกษศาสตร์ชาวต่างชาติ ขณะเดียวกันงานวิจยของนักวิชาการของไทยกลับมีนอยมาก
                    ์ ุ                                                                           ั                            ้
ทังนีอาจเนืองจากบุกเป็นพืชทีมวงจรชีวตไม่แน่นอนการศึกษาวิจยทำได้คอนข้างยากและต้องใช้เวลานานซึงเป็น
  ้ ้           ่                        ่ ี            ิ                            ั              ่                              ่
เหตุผลหนึงทีทำให้มผสนใจทำงานวิจยเรืองบุกมีจำนวนน้อย จึงได้ทำการสำรวจและรวบรวมตัวอย่างบุกจาก
               ่ ่            ี ู้                     ั ่
แหล่งต่างๆ โดยนำส่วนทีขยายพันธุได้ คือ หัวใต้ดน หัวบนใบ หน่อ เหง้า และเมล็ดมาเพาะเลียงเพือศึกษาลักษณะ
                                       ่         ์                ิ                                           ้ ่
สำคัญทางพฤกษศาสตร์ และการเจริญเติบโตจนครบวงจรชีวต ขณะนีสามารถจำแนกชนิดและชือวิทยาศาสตร์
                                                                              ิ              ้                   ่
ที่ถูกต้องได้ 10 ชนิด จากตัวอย่างที่เก็บรวบรวมตามแหล่งต่างๆ ในหลายพื้นที่มากกว่า 500 ตัวอย่าง
ข้อมูลส่วนใหญ่ได้รวบรวมและเรียบเรียงจากความรูและประสบการณ์จากการศึกษาค้นคว้าวิจยทังในห้องปฏิบตการ
                                                                      ้                                      ั ้                     ัิ
และภาคสนามและจากการตรวจเอกสารในประเทศและต่างประเทศโดยใช้เวลาดำเนินการถึง 6 ปี
                  เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี องค์ประธานโครงการอนุรักษ์
พันธุกรรมพืชตามพระราชดำริทรงเจริญพระชนมายุครบ 50 พรรษา จึงได้จดทำเอกสารฉบับนีขนเพือเป็น                  ั         ้ ้ึ ่
การเฉลิมพระเกียรติ และเป็นการเผยแพร่งานวิจยเรืองบุก แด่นกวิชาการ อาจารย์ นักศึกษาและผูสนใจได้ใช้
                                                                        ั ่            ั                             ้
ประโยชน์สำหรับเป็นข้อมูลประกอบการศึกษา และเป็นแนวทางในการค้นคว้าทดลองเพื่อนำไปใช้พัฒนา
งานวิจยเรืองบุกให้กว้างขวางยิงขึน และหากมีขอเสนอแนะหรือข้อสงสัยใดๆ ผูเขียนยินดีรบฟัง เพือปรับปรุง
         ั ่                               ่ ้                  ้                                          ้   ั       ่
แก้ไขให้ดยงขึน
             ี ่ิ ้
ผู้เขียนสำนึกในพระคุณสูงสุดของพ่อแม่ผู้ให้ชีวิต อบรมสั่งสอนเลี้ยงดูให้ยึดมั่นในศีลธรรม
กตัญญูกตเวทิตา ซือสัตย์สจริต ให้สติและให้กำลังใจเสมอมาทังการเรียน การทำงาน การดำเนินชีวต ขอกราบ
                     ่   ุ                               ้                                   ิ
รำลึกพระคุณของครูอาจารย์ทงหลายทีได้ประสิทธิประสาทและถ่ายทอดวิชาความรู้ ขอขอบคุณเพือนร่วมงาน
                            ้ั         ่                                                   ่
และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ผอ.ชัยวัฒน์ วัฒนไชย ผู้อำนวยการสำนักวิจัยพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1
ดร.วารี ไชยเทพ ผูอำนวยการศูนย์วจยข้าวเชียงใหม่ คุณวินย สมประสงค์ คุณวสันต์ นุยภิรมย์ กรมวิชาการเกษตร
                   ้            ิั                   ั                      ้
อาจารย์ทพย์สดา ตังตระกูล อาจารย์เยาวนิตย์ ธาราฉาย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ Dr.W.L.A. Hetterscheid ผูเชียวชาญ
         ิ ุ ้                                                                                   ้ ่
พืชสกุลบุกสวนพฤกษศาสตร์ Leiden ประเทศเนเธอร์แลนด์ Dr.J.F. Maxwell มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ทชวยเหลือ่ี ่
ประสานงานในการเดินทางสำรวจและรวบรวมบุกให้ความรู้และคำแนะนำที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน
ขอขอบคุณ ศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่ กรมวิชาการเกษตร ที่ให้ใช้สถานที่ในการทำงานทดลอง รวมทั้งให้ใช้
อุปกรณ์ตางๆ ในการจัดเตรียมต้นฉบับการเรียบเรียงเอกสารฉบับนีจะไม่สำเร็จได้เลยหากไม่มการสนับสนุน
          ่                                                    ้                        ี
จากครอบครัวของผูเขียน คือ อาจารย์ปรัชวาล สุกมลนันทน์ สามี นางสาวสุธดา สุกมลนันทน์ บุตรสาว และ
                       ้                       ุ                        ิ     ุ
นายชัยยุทธ สุกมลนันทน์ บุตรชาย ผูซงอยูเบืองหลังในการทำงานครังนี้
                 ุ                 ้ ่ึ ่ ้                  ้




                                                           นางทิพวัลย์ สุกมลนันทน์
                                                                          ุ
                                                                เมษายน 2548
สารบัญ

                                                                       หน้า

ประวัตความเป็นมา
       ิ                                                               1
ลักษณะทัวไปของพืชสกุลบุก
           ่                                                           3
วงจรชีวต ิ                                                             12
การขยายพันธุ์                                                          12
นิเวศวิทยาและเขตการแพร่กระจายพันธุ์                                    14
สภาพแวดล้อมทีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต
               ่                                                  15
การรวบรวมบุกในประเทศไทย                                                17
ลักษณะสำคัญทางพฤกษศาสตร์ของบุก 10 ชนิด                                 24
ประโยชน์ของบุกในด้านพืชอาหารและสมุนไพร                                 45
การใช้ประโยชน์ดานอุตสาหกรรมแปรรูป
                 ้                                                     47
การตลาดและชนิดของบุกทีมศกยภาพในการแปรรูปเป็นการค้าและอุตสาหกรรม
                       ่ ี ั                                           49
เอกสารอ้างอิง                                                          50
บรรณานุกรม                                                             52
ภาคผนวก                                                                55
สารบัญภาพ

                                                              หน้า

ภาพที่   1    ต้นบุก                                          2
ภาพที่   2    A.titanum (Becc.) Becc. Ex Arcang.              2
ภาพที่   3    หัวกลม                                          4
ภาพที่   4    หัวยาว                                          5
ภาพที่   5    ผิวของก้านใบ                                    6
ภาพที่   6    ใบคล้ายใบประกอบแบบขนนกรูปแบบต่างๆ               7
ภาพที่   7    จุดเจริญพัฒนาเป็นหัวย่อยบนใบ                    8
ภาพที่   8    ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ                         8
ภาพที่   9    ส่วนต่างๆ ของช่อดอก                             9
ภาพที่   10   ลักษณะของรังไข่และออวุล                         10
ภาพที่   11   ลักษณะของผลและเมล็ด                             11
ภาพที่   12   แมลงทีพบในดอกบุก
                      ่                                       13
ภาพที่   13   แมลงศัตรูบกุ                                    16
ภาพที่   14   A. corrugatus N.E.Br.                           25
ภาพที่   15   A. kachinensis Engl. & Gehrm.                   27
ภาพที่   16   A. krausei Engl.                                29
ภาพที่   17   A. longituberosus (Engl.) Engl. & Gehrm.        31
ภาพที่   18   A. macrorhizus Craib                            33
ภาพที่   19   A. muelleri Blume                               35
ภาพที่   20   A. napiger Gagnepain                            37
ภาพที่   21   A. paeoniifolius (Dennst.) Nicolson             39
ภาพที่   22   A. tenuistylis Hett.                            41
ภาพที่   23   A. yunnanensis Engl.                            43
ภาพที่   24   อาหารและขนมทีทำจากบุก
                              ่                          48
สารบัญตาราง

                                                            หน้า

ตารางที่   1   รายชือบุกทีพบในประเทศไทย
                       ่  ่                                 17
ตารางที่   2   รายชือบุก 10 ชนิด และแหล่งทีพบ
                     ่                     ่                20
ตารางที่   3   ลักษณะทางพฤกษศาสตร์บางประการของบุก 10 ชนิด   21
ตารางที่   4   รูปวิธานจำแนกชนิดบุก 10 ชนิด                 44
ประวัตและความเป็นมา
       ิ
               บุกเป็นพืชหัว ไม้เนืออ่อน ล้มลุก (ภาพที่ 1) อยูในวงศ์บก บอน (Araceae) สกุลบุก (Amorphophallus)
                                           ้                                 ่        ุ
เริมเป็นทีรจกเมือประมาณ 100 กว่าปีมาแล้วโดยนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Odoardo Beccari ได้คนพบพืชใน
   ่       ่ ู้ ั ่                                                                                                                     ้
สกุลบุกชนิดหนึง คือ Amorphophallus titanum (Becc.) Becc. Ex Arcang. ในป่าของประเทศอินโดนีเซีย
                         ่
ด้วยขนาดดอกทีใหญ่มหึมาและลักษณะรูปพรรณสัณฐาน สีสรรสวยงาม แปลกตาได้ปลุกเร้าความสนใจของ
                           ่
นักพฤกษศาสตร์และคนทัวไปให้หนมาศึกษาค้นคว้าและให้ความสำคัญกับพืชนีมากขึน และได้ขนานนามดอกไม้
                                         ่             ั                                                  ้ ้
ขนาดยักษ์นวา “ดอกไม้มหัศจรรย์” (ภาพที่ 2) ซึงต่อมาภายหลังสวนพฤกษศาสตร์ Kew ประเทศอังกฤษได้นำ
                  ้ี ่                                                 ่
A. titanum ไปปลูกเพือศึกษาวิจย โดยใช้เวลานานถึง 10 ปี จึงประสบความสำเร็จ (Hetterscheid & Ittenbach,
                                       ่          ั
1996) เนืองจากบุกเป็นพืชทีมวงจรชีวตแตกต่างจากพืชอืนคือมีการเจริญเติบโตทางลำต้นและดอกต่างปีกน
                ่                               ่ ี             ิ                 ่                                                                 ั
จึงต้องใช้เวลานานหลายปีกว่าทีบกจะมีดอกสักครังหนึง   ่ ุ                  ้ ่
               ผูทสำรวจและรวบรวมพืชสกุลบุกในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวต่างชาติ โดยผูท่ี
                    ้ ่ี                                                                                                                              ้
เริมสนใจศึกษาบุกชนิดต่างๆ ในประเทศไทย คนแรกคือ Charles Curtis นักพืชสวนชาวอังกฤษ ซึงขณะนัน
     ่                                                                                                                                      ่     ้
เป็นผู้อำนวยการสวนพฤกษศาสตร์ปีนัง ประเทศมาเลเซีย ระหว่างปี พ.ศ.2427–2446 เก็บตัวอย่างบุก
A.variabilis Bl. ได้ทเกาะตะรุเตา จังหวัดสตูล โดยเก็บตัวอย่างไว้ทพพธภัณฑ์พช ของประเทศสิงค์โปร์ ต่อมา
                                    ่ี                                                    ่ี ิ ิ              ื
ภายหลังได้มการจำแนกชนิดของบุกใหม่พบว่าไม่ใช่ชนิด A. variabilis Bl. (Hetterscheid & Ittenbach,1996)
                     ี
นักพฤกษศาสตร์ผมชอเสียงและเป็นทีรจกกันแพร่หลายในประเทศไทยและได้ชอว่าเป็นผูททมเทและให้ความ
                               ู้ ี ่ื                     ่ ู้ ั                                          ่ื              ้ ่ี ุ่
สนใจอย่างจริงจัง คือ Dr.Alfred Francis George Kerr นายแพทย์ชาวไอริช ได้เข้ามาประเทศไทยเมือปี                                                    ่
พ.ศ.2445 โดยเป็นแพทย์ประจำสถานกงสุลอังกฤษ จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาได้หนมาสนใจศึกษาพืชพืนเมือง                     ั                             ้
โดยเฉพาะกล้วยไม้ชนิดต่างๆ ของภาคเหนือบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ในช่วงปี พ.ศ.2452– 2475
(Maxwell & Elliot,2001) ขณะเดียวกันก็ได้ศกษาและรวบรวมพรรณไม้พนเมืองชนิดอืนด้วย โดยในระยะ
                                                                     ึ                                 ้ื                   ่
3 ปีแรก คือระหว่างปี พ.ศ.2452-2454 ได้เก็บตัวอย่างบุก 3 ชนิด ที่ดอยสุเทพจังหวัดเชียงใหม่ คือ
A.corrugatus N.E.Br., A. yunnanensis Engl. และ A. macrorhizus Craib (Craib, 1912) ต่อมาภายหลัง
ได้เก็บตัวอย่างบุกจากแหล่งต่างๆ ทัวประเทศอีกหลายชนิด นอกจากนีมนกพฤกษศาสตร์ชาวไทยชือ นายพุด
                                                         ่                                       ้ ี ั                                    ่
ไพรสุรนทร์ เป็นผูเก็บตัวอย่างบุกและศึกษาพรรณไม้อนด้วย ซึงภายหลังท่านได้รบเกียรติมชอพรรณไม้ใหม่
         ิ                        ้                                            ่ื       ่                            ั             ี ่ื
หลายชนิดใน specific epithet ว่า putii โดยในช่วงปี พ.ศ. 2469-2474 ได้เก็บตัวอย่างบุกหลายชนิด คือ
A. brevispathus Gagnepain จากจังหวัดสระบุรี A. koratensis Gagnepain จากจังหวัดนครราชสีมา A. linearis
Gagnepain จากจังหวัดนครสวรรค์ และ A.putii Gagnepain จากจังหวัดสระบุรี (จเรและคณะ,2544)
เนืองจากในขณะนันประเทศไทยยังไม่มพพธภัณฑ์พชทำให้ตวอย่างบุกชนิดต่างๆ ทังตัวอย่างแห้งและตัวอย่าง
       ่                     ้                                 ี ิ ิ      ื         ั                                  ้
ทีมชวตถูกส่งไปเก็บรักษาไว้ทสวนพฤกษศาสตร์ Kew, Aberdeen และ Edinburgh ประเทศอังกฤษและใน
  ่ ีีิ                                      ่ี
ระยะหลังมีการเก็บตัวอย่างบุกซึงรวบรวมได้จากแหล่งต่างๆ ในหลายประเทศไว้ทสวนพฤกษศาสตร์ Leiden
                                                     ่                                                            ่ี
ประเทศเนเธอร์แลนด์มากกว่า 130 ชนิด (spp.) (Hetterscheid & Ittenbach, 1996) สวนพฤกษศาสตร์
Bonn ประเทศเยอรมัน และอีกหลายประเทศ สำหรับประเทศไทยในระยะต่อมาได้มการเก็บตัวอย่างแห้งของ                                 ี
บุกบางชนิดไว้ที่พิพิธภัณฑ์พืชกรุงเทพ กรมวิชาการเกษตร หอพรรณไม้ กรมป่าไม้ และหอพรรณไม้ของ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่




                                                                                                    พันธุบกในประเทศไทย 1
                                                                                                         ์ ุ
ภาพที่ 1 ต้นบุก




         ภาพที่ 2 A. titanium (Becc.) Becc. Ex Arcang.
แหล่งทีมา : http://www.tfeps.org/amorphophallus_titanum.htm
       ่




                                           พันธุบกในประเทศไทย 2
                                                ์ ุ
ลักษณะทัวไปของพืชสกุลบุก (Amorphophallus)
         ่

                  ลำต้นเป็นแบบหัวใต้ดน (tuber) มีรปร่างลักษณะต่างๆ กัน คือ หัวกลม (globose) ค่อนข้างกลม
                                          ิ              ู
(subglobose) กลมแป้น (depressed globose) รูปร่างกลมค่อนข้างแบน (saucer shaped) มีเหง้า (rhizome)
และไม่มเหง้า หรือมีหน่ออยูรอบหัว สีของเนือในหัวมีหลายสี ได้แก่ สีขาว ขาวขุน ครีม เหลืองอ่อน เหลืองเข้ม
            ี                       ่             ้                          ่
เหลืองปนส้ม ชมพูปนส้ม (ภาพที3) และหัวยาว (verticle elongate) คล้ายหัวมัน แครอท มันแกวหรือคล้าย
                                            ่
รากฟัน (ภาพที่ 4) ใบเป็นใบเดียวเจริญจากหัวใต้ดนประกอบด้วยก้านใบหลัก (petiole) 1 ก้าน ผิวของก้าน
                                        ่                  ิ
เรียบเกลียง มีขนอ่อน ผิวขรุขระหรือมีหนามทูมลวดลายและสีตางๆ กัน (ภาพที่ 5) ทีปลายก้านหลักแตกเป็น
                ้                                   ่ ี            ่               ่
3 แขนง แต่ละแขนงใหญ่แตกเป็นแขนงย่อยมีรปแบบคล้ายใบประกอบแบบขนนก (ภาพที่ 6) แผ่นใบมีลกษณะ
                                                     ู                                              ั
คล้ายร่มแผ่กว้างในแนวราบ ลักษณะรูปใบมีหลายแบบ คือ รูปรี (elliptic) รูปใบหอก (lanceolate) รูปไข่กลับ
(obovate) รูปรีแกมรูปใบหอก (elliptic lanceolate) รูปสีเ่ หลียมข้าวหลามตัด (rhombic) และรูปหอกแกมรูปไข่
                                                               ่
(obovate lanceolate) ทีโคนใบมีครีบ (decurrent) และไม่มครีบ ปลายใบแหลม (acute) เรียวแหลม (short
                                ่                                ี
or long acuminate) สีของขอบใบย่อย สีขาวปนเทา ขาวปนชมพู ชมพูเข้มและเขียว ตรงโคนของแขนงใบย่อย
ของบุกบางชนิดมีจดเจริญสามารถเกิดเป็นหัวย่อย (bulbil) ใหม่ได้ (ภาพที่ 7) ดอกเป็นช่อดอกแบบช่อเชิงลด
                         ุ
มีกาบ (spadix) มีทงดอกขนาดเล็ก มีกานดอกยาว (peduncle) คล้ายดอกเดหลี และดอกขนาดใหญ่ซงมีทง
                           ้ั                 ้                                                        ่ึ ้ั
ก้านดอกยาวและก้านดอกสัน (ภาพที่ 8) ช่อดอกประกอบด้วยกาบหุมช่อดอก (spathe) มีทงขนาดใหญ่และ
                                      ้                                  ้               ้ั
ขนาดเล็ก สีขาวครีม เหลืองปนเขียวอ่อน ชมพูปนแดง น้ำตาลปนเหลือง หรือหลายสีในดอกเดียวกัน บางชนิด
ขอบหยักเป็นริวคล้ายระบายด้วยลูกไม้ ส่วนของช่อเชิงลดมีกาบหรือช่อดอก (spadix) แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
                     ้
ส่วนแรกคือ จะงอยเกสรเพศผู้ (appendix) มีลกษณะคล้ายดอกบัวตูมขนาดใหญ่รปกรวยคว่ำ รูปร่างเรียวยาว
                                                       ั                        ู
หรือทรงกระบอกแล้วแต่ชนิด ผิวเรียบ ผิวย่นหรือมีรอยหยักลึกเป็นร่อง บางชนิดมีขนอ่อนกระจายอยูทวไป         ่ ่ั
สีขาวครีม เหลืองอ่อน ชมพูปนม่วง น้ำตาลปนแดง ซึงมีขนาดสันกว่า หรือยาวกว่า หรือเท่ากับความยาวของ
                                                             ่       ้
กาบหุมช่อดอก ส่วนที่ 2 เกสรเพศผู้ (stamen) ลักษณะคล้ายไข่ปลาเรียงตัวติดกันแน่นสีขาวครีม ขาวปนเหลือง
       ้
เขียวอ่อน ชมพูออน ชมพูปนม่วง บางชนิดมีบริเวณส่วนของเพศผูเป็นหมัน (sterile zone) และส่วนที่ 3 เกสร
                       ่                                               ้
เพศเมีย (ภาพที่ 9) ซึงประกอบด้วยยอดเกสรเพศเมีย (stigma) ก้านเกสรเพศเมีย (stigma style) ซึงอาจมี
                              ่                                                                   ่
หรือไม่มแล้วแต่ชนิด และรังไข่ (ovary) ซึงมีขนาดและรูปร่างต่างกัน ภายในรังไข่ มี 1-2 ช่อง (locule) แต่ละ
              ี                                 ่
ช่องมี 1-2 ออวุล (ovule) (ทิพวัลย์และจเร, 2544) (ภาพที่ 10) ผล (berry) เป็นผลสด มี 1-3 เมล็ด เนือหุม     ้ ้
เมล็ดนุม รูปร่างของผล กลม ค่อนข้างกลม รูปไข่ หรือคล้ายทรงกระบอก สีของผลส่วนใหญ่เป็นสีเขียว บางชนิด
         ่
เป็นสีฟา เมือผลสุกแก่เปลียนเป็นสีเหลืองส้ม แดงสด หรือน้ำเงินแกมม่วง เมล็ด (seed) ส่วนใหญ่มรปร่าง
           ้ ่                    ่                                                                 ีู
ยาวรีหรือค่อนข้างกลม (ภาพที่ 11) (ทิพวัลย์, 2546 และ Hetterscheid & Ittenbach, 1996)




                                                                        พันธุบกในประเทศไทย 3
                                                                             ์ ุ
3a หัวกลม                                3b หัวกลมค่อนข้างแบน




3c หัวที่มีเหง้า                           3d หัวทีมหน่อรอบหัว
                                                   ่ ี




                      3e สีของเนือในหัวมีหลายสี
                                ้

                   ภาพที่ 3 หัวกลมลักษณะต่างๆ



                                                  พันธุบกในประเทศไทย 4
                                                       ์ ุ
4a หัวคล้ายหัวมัน           4b หัวคล้ายรากฟัน




4c หัวคล้ายหัวแครอท              4d หัวคล้ายหัวมันแกว




              ภาพที่ 4 หัวยาวลักษณะต่างๆ




                                       พันธุบกในประเทศไทย 5
                                            ์ ุ
5a ผิวเรียบเกลียง
               ้                 5b มีขนอ่อน




                                    5d ผิวขรุขระ

  5c มีหนามทู่




                 ภาพที่ 5 ผิวของก้านใบ




                                         พันธุบกในประเทศไทย 6
                                              ์ ุ
6a แบบชันเดียว (1-dichotomously branch)
            ้




    6b แบบ 2 ชั้น ( 2-dichotomously branch )




     6c แบบ 3 ชัน ( 3-dichotomously branch )
                ้




    6d แบบ 4 ชั้น ( 4-dichotomously branch )

ภาพที่ 6 ใบคล้ายใบประกอบแบบขนนก รูปแบบต่างๆ

                                     พันธุบกในประเทศไทย 7
                                          ์ ุ
ภาพที่ 7 จุดเจริญพัฒนาเป็นหัวย่อยบนใบ




8a ดอกขนาดเล็กมีกานยาว
                 ้                     8b ดอกขนาดใหญ่มกานสัน
                                                      ี ้ ้


            ภาพที่ 8     ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ




                                            พันธุบกในประเทศไทย 8
                                                 ์ ุ
9b กาบหุมช่อดอกและจะงอยเกสรเพศผู้
                                      ้




                                         9c เกสรเพศผู้




                                      9d เกสรเพศผูเป็นหมัน
                                                 ้
      9a ช่อดอก




ภาพที่ 9 ส่วนต่างๆ ของช่อดอก


                                        9e เกสรเพศเมีย



                                  พันธุบกในประเทศไทย 9
                                       ์ ุ
กำลังขยาย 15 เท่า                         กำลังขยาย 15 เท่า
                     A. krausei Engl.




กำลังขยาย 12 เท่า                         กำลังขยาย 12 เท่า
                     A.muelleri Blume




 กำลังขยาย 8 เท่า                         กำลังขยาย 11 เท่า
             A.paeoniifolius (Dennst.) Nicolson

        ภาพที่ 10 ลักษณะของรังไข่และออวุล


                                             พันธุบกในประเทศไทย 10
                                                  ์ ุ
ภาพที่ 11 ลักษณะของผลและเมล็ด




                         พันธุบกในประเทศไทย 11
                              ์ ุ
วงจรชีวต
       ิ
               บุกเป็นพืชหัวล้มลุก ซึงมีวงจรชีวตแตกต่างจากพืชอืน คือ มีชวงการเจริญเติบโตทางลำต้นต่างปีกบที่
                                       ่          ิ                     ่             ่                        ั
เจริญเติบโตเป็นดอก บุกส่วนใหญ่มชวงการเจริญเติบโตทางลำต้นเพียงอย่างเดียวนาน 4–6 ปี จึงเข้าสูชวง
                                               ี่                                                              ่่
ของการออกดอก บุกบางชนิดมีดอกเพียงปีเดียวแต่บางชนิดสามารถมีดอกติดต่อกันได้หลายปี แล้วจึงกลับมา
มีการเจริญเติบโตทางลำต้นอีกครังหนึง บุกซึงมีดอกส่วนใหญ่จะไม่มการเจริญเติบโตทางลำต้น (ทิพวัลย์, 2544)
                                      ้ ่           ่                          ี
ยกเว้นบุกบางชนิด เช่น A. yunnanensis Engl. และ A. paeoniifolius (Dennst.)Nicolson เมือมีดอกและพัฒนา่
เป็นผลหรือไม่ตดผลก็ตามจะมีตนใหม่งอกจากหัวเดิมหรือจากหน่อเล็กๆ ทีอยูรอบหัวเดิมได้ โดยธรรมชาติบก
                   ิ                ้                                                     ่ ่                           ุ
จะเริมงอกและเจริญเติบโตในช่วงปลายฤดูแล้งต่อฤดูฝน หัวทีงอกและเจริญเติบโตเป็นดอกจะงอกได้เร็วกว่า
       ่                                                                   ่
หัวทีเจริญเติบโตเป็นต้น โดยปกติบกจะออกดอกประมาณปลายเดือนมกราคมเป็นต้นไปจนถึงเดือนกรกฎาคม
     ่                                     ุ
ส่วนต้นจะงอกประมาณเดือนมีนาคมจนถึงเดือนกรกฎาคม เช่นเดียวกันทังนีการงอกจะเร็วหรือช้าขึนอยูกบชนิด
                                                                                        ้ ้             ้ ่ั
ของบุกและความสมบูรณ์ของหัวระยะเวลาตังแต่ตนงอกจนถึงต้นเริมเหียวใช้เวลา 8-10 เดือน เมือต้นเจริญ
                                                      ้       ้                  ่ ่                     ่
เติบโตเต็มที่ ใบจะเริมเหียวเฉาและแห้งในทีสด ส่วนหัวทีเจริญเติบโตเป็นดอกใช้เวลา 20-45 วัน ตังแต่เริม
                         ่ ่                            ุ่        ่                                          ้        ่
งอกจนถึงดอกบาน (Flowering period) และจะบาน อยูประมาณ 2-4 วันเมือดอกได้รบการผสมแล้วหรือ
                                                                    ่                         ่ ั
ไม่ได้รบการผสมก็ตามรังไข่กสามารถพัฒนาเป็นผลได้ (Hetterscheid & Ittenbach,1996) ซึงใช้เวลานาน
         ั                        ็                                                                   ่
6-8 เดือน (Fruiting period) เมือผลแก่เมล็ดก็จะร่วงหล่นสูพนดิน ขณะเดียวกันหัวใต้ดนก็มขนาดใหญ่ขน
                                         ่                                ่ ้ื                    ิ ี              ้ึ
โดยมีลกษณะการเจริญเติบโตแบบถ่ายหัว คือ หัวทีเกิดใหม่จะซ้อนอยูดานบนของหัวเดิม หัวเก่าจะฝ่อและเหียว
           ั                                                    ่                 ่ ้                            ่
แห้งไปเมือต้นและใบเหียวเฉาหรือผลสุกแก่เต็มทีหวก็เริมเข้าสูระยะพักตัวรอเวลาและสภาพแวดล้อมทีเหมาะสม
             ่             ่                               ่ ั ่      ่                                    ่
เพืองอกเป็นต้นหรือเป็นดอกในปีตอไป (ทิพวัลย์, 2544)
   ่                                         ่

การขยายพันธุ์
           โครงสร้างของดอกบุกมีลักษณะเป็นช่อดอกประกอบด้วยกาบหุ้มช่อดอกและช่อเชิงลดมีกาบซึ่งมี
ลักษณะโดยรวมคล้ายเป็นดอกขนาดใหญ่ ส่วนดอกจริงจะมีขนาดเล็กอยูตรงส่วนโคนของช่อเชิงลดมีกาบ ส่วนของ
                                                              ่
เกสรเพศผูและเกสรเพศเมียอยูแยกจากกัน (Hetterscheid & Ittenbach, 1996)เมือดอกเริมบาน จะมีกลิน
           ้                 ่                                               ่      ่            ่
เหม็นเหมือนซากสัตว์ทตายแล้วและล่อแมลงให้เข้ามาไต่ตอมทีเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย จากการสังเกต
                        ่ี                                ่        ้
พบด้วงปีกแข็ง หรือ dung beetle (Pettonotus nasutus Arrow) ซึงอยูในวงศ์ Scarabaeidae ช่วยผสมเกสร
                                                             ่ ่
และขณะเดียวกันก็กดกินบางส่วนของจะงอยเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย นอกจากนียงพบมดและแมลงอีกหลายชนิด
                  ั                           ้                       ้ั
ทีมขนาดค่อนข้างเล็กซึงพบว่าส่วนใหญ่ไม่ได้กดกินดอกแต่จะเดินไต่ตอมระหว่างเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย
  ่ ี                 ่                   ั                                       ้
เพือช่วยผสมเกสร คือ ด้วงก้นกระดก อยูในวงศ์ Staphylinidae และด้วงผลไม้เน่า (Haptoneus sp.) อยูในวงศ์
    ่                               ่                                                        ่
Nitidulidae และพบผึงโพรง (Apis cerana F.) บินมาแวะเวียนตอมดอกบุกในตอนสายของวันทีดอกบุกเริมบาน
                    ้                                                                 ่        ่
(ภาพที่ 12)




                                                                                พันธุบกในประเทศไทย 12
                                                                                     ์ ุ
12a ด้วงผลไม้เน่า                     12b ด้วงปีกแข็ง




12c ด้วงก้นกระดก                  12d ด้วงปีกแข็งวัยต่างๆ




                    12e ผึงโพรง
                         ้

         ภาพที่ 12 แมลงทีพบในดอกบุก
                         ่



                                        พันธุบกในประเทศไทย 13
                                             ์ ุ
บุกสามารถขยายพันธุได้หลายวิธดงนี้
                  ์         ี ั
            1. โดยวิธการเพาะเมล็ด บุกสามารถขยายพันธุได้เองตามธรรมชาติ โดยเมล็ดทีรวงหล่นลงดินสามารถ
                        ี                                         ์                          ่่
งอกเป็นต้นใหม่ได้ จากการทดสอบในห้องปฏิบตการและภาคสนาม พบว่าเมล็ดบุกส่วนใหญ่มความงอกมากกว่า
                                              ัิ                                                 ี
90% และบุกบางชนิดมีระยะพักตัวเป็นเวลานานถึง 4 เดือน
            2. โดยวิธการแตกหน่อจากหัวเดิม บุกบางชนิดมีหน่อขนาดเล็กเป็นจำนวนมากอยูบนหัวเดิม ซึง
                            ี                                                                          ่         ่
หน่อเหล่านี้ สามารถแยกไปปลูกเป็นต้นใหม่ได้หรือใช้วธตดแบ่งหัวเก่า แล้วนำไปปลูกขยายพันธุแต่มกมีปญหา
                                                               ิี ั                                      ์ ั ั
เรืองหัวเน่า
  ่
            3. โดยใช้เหง้า (Rhizome) บุกบางชนิดเมือเจริญเติบโตเต็มทีจะมีเหง้าแตกออกมาจากหัวเดิมโดยรอบ
                                                          ่                    ่
มีความยาว 10-30 เซนติเมตร นำเหง้ามาตัดแบ่งเป็นท่อนสันๆ แล้วนำไปปลูกขยายพันธุได้อกวิธหนึง
                                                                    ้                           ์ ี ี ่
            4. โดยใช้หวบนใบ บุกบางชนิดได้แก่ A. mulleri มีลกษณะเด่นกว่าชนิดอืน คือมีหวขนาดเล็กอยูบน
                              ั                                         ั                ่         ั           ่
ใบจำนวนหนึง ซึงสามารถนำไปปลูกเพือขยายพันธุได้
              ่ ่                        ่              ์
            5. โดยวิธการเพาะเลียงเนือเยือ ในกรณีทตองการต้นอ่อนในปริมาณมาก
                          ี           ้ ้ ่                 ่ี ้
            โดยปกติบุกขยายพันธุ์ได้ตามธรรมชาติด้วยการแตกหน่อหรือเมล็ด เมื่อเมล็ดบุกแก่จัดจะร่วง
กระจัดกระจายลงสูพนดิน จากการเฝ้าสังเกตของนักพฤกษศาสตร์ทศกษาเรืองการกระจายพันธุของบุกรายงานว่า
                   ่ ้ื                                                   ่ี ึ      ่                ์
ในประเทศอินเดียและประเทศอืนบางประเทศพบนกเงือกและนกกางเขนกินผลบุก เนืองจากผลของบุกส่วนใหญ่
                                    ่                                                      ่
มีสดใสจึงดึงดูดให้นกมากินซึงเป็นการช่วยกระจายพันธุบกตามธรรมชาติอกวิธหนึง (Hetterscheid,1995 และ
                                ่                             ์ ุ                  ี ี ่
Singh & Gadgil,1996) สำหรับในประเทศไทยยังไม่เคยมีรายงานในเรืองนี้ แต่จากการสังเกตุในแปลงรวบรวม
                                                                                 ่
ตัวอย่างบุกพบว่ามีนกปรอดหัวโขนมากินผลซึงกำลังสุกแดง ซึงนอกจากนกแล้วมนุษย์ยงเป็นตัวการสำคัญใน
                                            ่                         ่                       ั
การกระจายพันธุของบุก โดยการนำส่วนขยายพันธุของบุก คือ เมล็ด หัว และส่วนขยายพันธุอ่นไปปลูกตาม
                 ์                                    ์                                                ์ื
บ้านเรือนและไร่นา จึงทำให้มบกเจริญเติบโตอยูทวไป
                                  ี ุ            ่ ่ั

นิเวศวิทยาและเขตการแพร่กระจายพันธุ์
            บุกเป็นพืชทีพบได้ทวไปในเขตร้อนและเขตอบอุนของอาฟริกาและเอเซีย แต่ไม่พบในเขตร้อนของ
                        ่           ่ั                      ่
อเมริกา เริ่มตั้งแต่บริเวณตะวันตกของทวีปอาฟริกาเรื่อยมาทางตะวันออกของโพลีนีเซีย จนถึงทวีปเอเซีย
ในอาฟริกา สามารถเห็นบุกได้ทั่วไปในเขตทุ่งราบ และหมู่เกาะบางแห่งทางตอนใต้ของมหาสุมทรแปซิฟิก
ในเอเซียมีหลายประเทศทีสำรวจแล้วพบว่ายังมีบกขึนอยูตามป่าทัวไป ได้แก่ ประเทศไทย ลาว พม่า จีน มาเลเซีย
                          ่                      ุ ้ ่          ่
ฟิลปปินส์ อินโดนีเซีย อินเดีย บังคลาเทศ และญีปน บุกแต่ละชนิดสามารถเจริญเติบโตได้ในสภาพพืนทีคอนข้าง
    ิ                                             ่ ุ่                                       ้ ่่
แตกต่างกัน ตังแต่ปาโปร่ง ในทุงโล่ง ป่าผลัดใบ ป่าทีถกเผาทำลาย โดยเฉพาะป่าไผ่ หรือในสภาพพืนทีซงเป็นหิน
               ้ ่              ่                      ู่                                  ้ ่ ่ึ
เช่น หินอัคนีหรือหินดานและมีบกหลายชนิดทีชอบขึนในสภาพป่าซึงเป็นภูเขาหินปูน บนหน้าผาสูงชัน และบนพืนที่
                                  ุ           ่ ้                 ่                                 ้
ราบจนถึงภูเขาซึ่งมีความสูง 3,000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล การแพร่กระจายของบุกส่วนใหญ่พบว่ามัก
จะเจริญเติบโตอยูเฉพาะในท้องถินใดท้องถินหนึงเท่านัน มีบกเพียงไม่กชนิดทีเ่ จริญเติบโตและแพร่กระจายได้เป็น
                  ่                    ่     ่ ่        ้ ุ           ่ี
บริเวณกว้างและในสภาพภูมประเทศทีหลากหลาย เช่น A.Paeoniifolius (Dennst.) Nicolson มีเขตการแพร่
                              ิ            ่
กระจายตังแต่มาดากัสการ์ จนถึงโพลีนเซียและอีกหลายประเทศในแถบเอเซียรวมทังประเทศไทย A. muelleri
          ้                              ี                                      ้
Blume พบมากในภาคเหนือและภาคกลางของประเทศไทย และแพร่กระจายไปถึงสุมาตรา ชวา และหมูเกาะ              ่
Lesser Sunda สำหรับ A. abyssinicus (Rich.) N.E.Br. แพร่กระจายได้เป็นบริเวณกว้างในอาฟริกา ถึงแม้
ว่าบุกส่วนใหญ่จะเจริญเติบโตและแพร่กระจายได้จำกัดเฉพาะท้องถิน แต่กสามารถพบบุกชนิดเดียวกันได้ใน
                                                                    ่      ็
พืนทีใกล้เคียงหรือประเทศทีมเี ขตติดต่อกัน จากการสำรวจพบว่ามีพชสกุลบุกอยูประมาณ 170 ชนิดทัวโลก และพบใน
  ้ ่                       ่                                 ื          ่               ่


                                                                            พันธุบกในประเทศไทย 14
                                                                                 ์ ุ
ประเทศไทย 46 ชนิด (เต็ม, 2544 และ Hetterscheid & Ittenbach,1996) เจริญเติบโตและแพร่กระจายอยูทว
                                                                                            ่ ่ั
ทุกภาคของประเทศโดยเฉพาะบริเวณป่าโปร่งทีเป็นแหล่งอาศัยของพืชพืนเมือง
                                          ่                     ้
        ภาคเหนือ       พบที่ แม่ฮองสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน
                                  ่
                       พิจตร อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร พิษณุโลก และ สุโขทัย
                          ิ
        ภาคกลาง        พบที่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ธนบุรี ปทุมธานี และ ปราจีนบุรี
        ภาคใต้         พบที่ ประจวบคีรขนธ์ ชุมพร ระนอง ปัตตานี พังงา ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี
                                       ีั
                       กระบี่ ยะลา และนราธิวาส
        ภาคตะวันออก พบในหลายจังหวัดทางฝังทะเลตะวันออก
                                              ่
        ภาคตะวันตก พบที่ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และ เพชรบุรี
        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบมากทีนครราชสีมา และ บุรรมย์ (หรรษาและอรนุช, 2532)
                                            ่                ีั

สภาพแวดล้อมทีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต
             ่
            บุกชอบดินทีคอนข้างอุดมสมบูรณ์มอนทรียวตถุพอเพียง ดินร่วนโปร่ง ปริมาณ pH 5.5-7.0 เป็นพืช
                          ่ ่                    ีิ   ์ั
ทีชอบร่มเงา ส่วนใหญ่ขนอยูในป่าธรรมชาติใต้รมไม้ใหญ่ ซึงมีแสงแดดรำไร อุณหภูมทเหมาะสมอยูระหว่าง
  ่                         ้ึ ่                    ่         ่                      ิ ่ี        ่
25-35 องศาเซลเซียส ไม่ชอบลมพัดแรงเนืองจากบุกเป็นพืชทีลำต้นหรือก้านใบอวบน้ำไม่มกงก้าน ถ้าถูกแสงแดด
                                             ่              ่                          ี ่ิ
โดยตรงจะทำให้ใบไหม้และต้นเหียวเฉาได้งาย และถ้ามีลมแรงต้นอาจโค่นล้มได้ โดยทัวไปแล้วบุกเป็นพืชทีปลูก
                                  ่            ่                                   ่                ่
เลียงได้ไม่ยากสามารถนำมาปลูกในสภาพแปลงได้แต่ควรมีตาข่ายพรางแสงประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ หรือปลูกแซม
    ้
ในพืชหลักที่ให้ร่มเงา การดูแลรักษาควรให้ปุ๋ยอินทรีย์ ดูแลป้องกันกำจัดวัชพืชและศัตรูพืชและให้น้ำอย่าง
สม่ำเสมอในระยะทีฝนทิงช่วง (ทิพวัลย์, 2537)
                       ่ ้
            ศัตรูทสำคัญของบุกคือราเม็ดผักกาด (Sclerotium sp.) ทีทำให้กานใบและหัวเน่ามีแบคทีเรียบางชนิด
                    ่ี                                            ่      ้
ได้แก่ Ralstonia sp. ทีทำให้เกิดโรคเน่าเช่นเดียวกัน นอกจากนียงมีเพลียแป้ง (mealybuck) และเพลียหอย (Scale
                        ่                                   ้ั      ้                        ้
insect) ดูดน้ำเลียงจากผลและหัวทำให้หวฝ่อ แมลงบางชนิดกัดกินลำต้นและใบ เช่น หนอนผีเสือหัวกะโหลก
                  ้                        ั                                                   ้
เป็นต้น (ภาพที่ 13)




                                                                     พันธุบกในประเทศไทย 15
                                                                          ์ ุ
13a ดักแด้และหนอนผีเสือหัวกระโหลก
                      ้                13b หนอนผีเสือหัวกระโหลก
                                                   ้




   13c หนอนผีเสือหัวกระโหลก
                ้                           13d เพลียแป้ง
                                                   ้




                           13e เพลี้ยหอย

                      ภาพที่ 13 แมลงศัตรูบก
                                          ุ


                                              พันธุบกในประเทศไทย 16
                                                   ์ ุ
การรวบรวมบุกในประเทศไทย
               ในอดีตได้มการสำรวจและรวบรวมบุกในประเทศไทยโดยนักพฤกษศาสตร์ชาวไทยและ ชาวต่างชาติ
                         ี
พบว่ามีบก 46 ชนิด (ตารางที่ 1) (เต็ม, 2544 และ Hetterscheid & Ittenbach, 1996) โดยเก็บตัวอย่างแห้ง
            ุ
บางส่วนไว้ทหอพรรณไม้ กรมป่าไม้ และพิพธภัณฑ์พชกรุงเทพฯ กรมวิชาการเกษตร ในปี พ.ศ.2540 นักวิจย
                ่ี                             ิ     ื                                          ั
ของกองพฤกษศาสตร์และวัชพืช กรมวิชาการเกษตร ได้ทำการสำรวจและรวบรวมตัวอย่างบุกจากแหล่งต่างๆ
ในประเทศไทยและนำส่วนทีขยายพันธุได้ คือ หัวใต้ดน หัวบนใบ หน่อ เหง้า และเมล็ด มาเพาะเลียงอนุบาล
                                     ่     ์           ิ                                 ้
ในโรงเรือนเพาะชำ เพือขยายพันธุและศึกษาลักษณะสำคัญทางพฤกษศาสตร์ จนครบวงจรชีวตซึงใช้เวลานาน
                           ่           ์                                             ิ ่
หลายปี จากการศึกษาวิจยพบว่านอกจากบุกจะมีวงจรชีวตแตกต่างจากพืชอืน คือ มีชวงการเจริญเติบโตทางลำต้น
                               ั                         ิ         ่      ่
และออกดอกต่างปีกน ดังได้กล่าวแล้วบุกส่วนใหญ่ยงมีความแปรปรวนและความหลากหลายทังลักษณะ รูปพรรณ
                      ั                            ั                             ้
สัณฐาน สีและลวดลายของลำต้นหรือก้านใบตังแต่เป็นต้นอ่อน จนถึงต้นทีเจริญเติบโตเต็มที่ รูปแบบการแตก
                                                 ้                   ่
แขนงย่อยของก้านใบลักษณะและสีของช่อดอกส่วนของจะงอยเกสรเพศผู้ เกสรเพศผู้ ส่วนของเกสรเพศผูเ้ ป็นหมัน
เกสรเพศเมีย และรังไข่กมความแตกต่างกันแม้ในบุกชนิดเดียวกันก็ตาม ซึงปัจจุบนยังไม่มการศึกษาถึงปัจจัย
                                 ็ ี                                   ่       ั   ี
ต่างๆ ทีมผลต่อการเจริญเติบโตรวมทังความแตกต่างและความหลากหลายของลักษณะต้นและดอก ทำให้ไม่
           ่ ี                           ้
มีผู้ใดรู้สาเหตุและสามารถให้คำตอบในเรื่องนี้ได้แน่ชัดจากการสำรวจ และรวบรวมบุกจากแหล่งต่างๆ ใน
ประเทศไทยมากกว่า 500 ตัวอย่าง ขณะนีสามารถจำแนกชนิดและชือวิทยาศาสตร์ ได้ทงหมด 10 ชนิด (ตารางที่ 2)
                                             ้             ่                ้ั
โดยบุกแต่ละชนิดจะมีลกษณะสำคัญทางพฤกษศาสตร์บางประการทีแตกต่างกันอย่างชัดเจน (ตารางที3) และ
                             ั                               ่                             ่
จากข้อมูลเหล่านีสามารถนำไปจำแนกรูปวิธานของบุกได้ 10 ชนิด (ตารางที่ 4)
                    ้



            1

                                                        F                       F
 1.                              A. aberrans Hett.
 2.                              A. albispathus Hett.
 3.                              A. amygdaloides Hett. &
                                    M. Sizemore
 4.     F                        A. asterostigmatus Bogner
                                   & Hett.
 5.                              A. atrorubens Hett. &
                                    M. Sizemore
 6.                              A. atroviridis Hett.




                                                                 พันธุบกในประเทศไทย 17
                                                                      ์ ุ
ตารางที่ 1 (ต่อ)
                                                   F                   F
 7.                            A. boycei Hett.                   F
 8.                            A. brevispathus Gagnepain
 9.                  F         A. bulbifer (Roxb.) Bl.
 10.                           A. carneus Ridl.                                    F           F
 11.                           A. cicatricifer Hett.
 12.                           A. cirrifer Stapf.
 13.                           A. corrugatus N.E.Br.
 14.                           A. curvistylis Hett.
 15.                           A. echinatus Bogner & Mayo
 16.                           A. elatus Ridl.                                 F           F
 17.                           A. elegans Ridl.                                        F           F
 18.                           A. erubescens Hett.
 19.                           A. excentricus Hett.                        F               F
 20.             F             A. haematospadix Hook.                              F           F
 21.         F                 A. kachinensis
                                  Engl. & Gehrm.
 22.     F               F     A. koratensis Gagnepain
 23.                           A. krausei Engl.
 24.                           A. linearis Gagnepain
 25.                           A. longituberosus
                                  Engl. & Gehrm.
 26. F                         A. macrorhizus Craib
 27.                           A. maxwellii Hett.
 28.                         F A. muelleri Blume
 29.                           A. napiger Gagnepain
 30.                           A. obscurus
                                  Hett. & M.Sizemore
 31.                           A. pachystylis Hett.



                                                            พันธุบกในประเทศไทย 18
                                                                 ์ ุ
ตารางที่ 1 (ต่อ)
                                                          F                      F
 32.                                A. paeoniifolius (Dennst.)                       F      F
                                       Nicolson

 33.                                A. parvulus Gagnepain

 34.                                A. polyanthus
                                      Hett. & M.Sizemore
 35.       F                        A. prainii Hook. f                               F      F
 36.                                A. putii Gagnepain
 37.           F                    A. pygmaeus Hett.
 38.                                A. saraburiensis Gagnepain
 39.                                A. saururus Hett.
 40.                                A. scutatus Hett.
                                      & T.C. Chapman
 41.                                A. sizemorei Hett.
 42.                                A. sumawongii                         F
                                      (Bogner)Bogner
 43.                                A. symonianus Hett.
 44.                                A. tenuispadix Hett.
 45.                                A. tenuistylis Hett.
 46.                   F            A. yunnanensis Engl.

       F           :       , 2544           , 2543        Hetterscheid, & Ittenbach, 1996




                                                                  พันธุบกในประเทศไทย 19
                                                                       ์ ุ
2              10                F


                                F                                            F
                                                                                                        (    )
A. corrugatus N.E.Br.                                              . FF                               900 1,300
A. kachinensis Engl. & Gehrm.                                  F   .                 F               1,100 1,600
A. krausei Engl.                                                   .                             F     450 600
                                                                   .
                                                                   .
A. longituberosus (Engl.) Engl. & Gehrm.                           .                                  190 450
                                                                   .                         F
                                                                   .
                                                                   .
A. macrorhizus Craib                               F               .                                  190 450
                                                                   .                     F
                                                                   .
A. muelleri Blume                                                  .                                  300 750
                                                                   . FF
                                                       F
A. napiger Gagnepain                                               .                                    100
A. paeoniifolius (Dennst.) Nicolson                                                                   0 1,600




A. tenuistylis Hett.                                               .                                  190 450
A. yunnanensis Engl.                                       F       .                                 800 1,000


                            F                  F                       F         F
                                    F




                                                                           พันธุบกในประเทศไทย 20
                                                                                ์ ุ
3                                 F                          10

                                                    F                                                                                                         F
                               (Botanical character)                                                                                                    (Inflorescence)
                                                                                                                                                                                                   F
                                                                        F
                                                                                                                                     F                     F                            (stamen)
                                                        (tuber)       (petiole)   (bulbil)                   F F                                                                                                     (fruit)
                             (species)                                                                                                                    F                                 F
                                                                                                          (spathe)
                                                                                                                                     (spadix)          (peduncle)          (appendix)               F
                                                                                                                                                                                               (sterile zone)
                        A. corrugatus                                                    F                     F/                          F                   F            F F                       F             F F             F
                                                                                                           F                 F       F F                                     F                                                    F F
                                                                                                      F

                        A. kachinensis                                               F                               F                         F                   F                                   F        F         F             F
                                                                                                                                     F F                                    F                                                 F
                                                                                                                F F




     ์ ุ
                                                                                                  F
                        A. krausei                         /                             F                       F               /                 F                   F                                                                    F
                                                                                                               F/                                                                 /      F
                                                                                                                         F           F F                                                                                      F




พันธุบกในประเทศไทย 21
3 ( F )

                                                     F                                                                                                               F
                                (Botanical character)                                                                                                          (Inflorescence)
                                                                                                                                                                                                                 F
                                                                        F
                                                                                                                                      F                           F                                   (stamen)
                                                         (tuber)      (petiole)                    (bulbil)          F F                                                                                                          (fruit)
                              (species)                                                                                                                          F                                        F
                                                                                                                  (spathe)
                                                                                                                                      (spadix)                (peduncle)          (appendix)                      F
                                                                                                                                                                                                             (sterile zone)
                        A. longituberosus                     F                            /          F                       /           F                                   F   F                                 F
                                                                                                                                              F                                                                                               F
                                                                                   F                                                  F F
                                                                                                                                                          F
                        A. macrorhizus                                 F                       F          F           F                           F                   F                                              F        F       F               F
                                                                                                                                      F F                                                                                         F                       F
                                                                               F                              F                                                                                       F /
                                                                           F           F                                  F                                                                   F




     ์ ุ
                                                                                                                              F
                                                                                                                  F
                                                                                                                                  F
                        A. muelleri                               /                                                                                   F                   F                                          F                            F
                                                                                                                                      F F                                                 /       F                                       F
                                                                                                                                                                                      F




พันธุบกในประเทศไทย 22
3 ( F )

                                                     F                                                                                                          F
                                (Botanical character)                                                                                                     (Inflorescence)
                                                                                                                                                                                                                       F
                                                                                F
                                                                                                                                   F                            F                                           (stamen)
                                                             (tuber)          (petiole)   (bulbil)           F F                                                                                                                           (fruit)
                              (species)                                                                                                                     F                                                   F
                                                                                                          (spathe)
                                                                                                                                   (spadix)              (peduncle)                     (appendix)                      F
                                                                                                                                                                                                                   (sterile zone)
                        A. napiger                                                           F                     F                             F                      F                                                 F                       F

                                                                  F                                                                F F

                        A. paeoniifolius                                  /                      F                                                   F      F                       /                                          F                          F
                                                              F                 F                                                                                               F                       F                                             F
                                                                      F               F                                            F F

                        A. tenuistylis                                                       F                                               F                      F                                                      F                  F




     ์ ุ
                                                                                                                                   F F
                        A. yunnanensis                                                               F         F           F             F                                  F           F           F                              F                          F
                                                         /                                                             F           F F                                                      F   F                                      F                          F

                                                                                                         F F




พันธุบกในประเทศไทย 23
                                                                                                                               F
ลักษณะสำคัญทางพฤกษศาตร์ของบุก 10 ชนิด

                                 1. A. corrugatus N.E. Br.

ชือพ้อง :
 ่             Thomsonia sutepensis S.Y. Hu.
ชื่อไทย :      บุกเขา

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
           หัว กลมแป้น สีนำตาล เส้นผ่าศูนย์กลาง 5-15 เซนติเมตร
                              ้
           ใบ เป็นใบเดียว ก้านใบ ยาว 10-95 เซนติเมตร ผิวเรียบเกลียง สีกานใบ เป็นสีขาวขุน เขียวอ่อน
                           ่                                        ้     ้              ่
เหลืองนวล มีลวดลาย เป็นวงรีขนาดเล็กและขนาดใหญ่ สีเขียวเข้ม และน้ำตาลปนม่วงห่างๆ หรือซ้อนกัน หรือมี
จุดเล็กๆ กระจายทัวใบ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ปลายใบเรียวแหลม ตรงโคนใบมีครีบเป็นแผ่นยาว
                   ่
           ดอก เป็นช่อดอก ก้านช่อดอกยาว 10–70 เซนติเมตร สีเหมือนก้านใบ กาบหุม ช่อดอก ยาว 7-24
                                                                                 ้
เซนติเมตร รูปไข่ รูปรีแกมรูปไข่ ปลายกาบเว้าแหลมหรือป้าน และเปิดกว้างเกือบถึงโคน สีกาบหุมช่อดอก
                                                                                           ้
ด้านนอก สีเหลืองอ่อนสีเขียวปนเทาหรือขาว สีนำตาลปนแดง มีจดสีนำตาลปนม่วงกระจายทัว ขอบใกล้โคนมีสมวงแดง
                                           ้            ุ ้                   ่              ี่
สีกาบหุ้มช่อดอกด้านใน สีเขียวอ่อนสีม่วงแดงอมชมพูตรงใกล้โคน ช่อเชิงลดมีกาบยาว 9-15 เซนติเมตร
สันกว่ากาบหุมช่อดอก จะงอยเกสรเพศผูรปไข่ ผิวมีรองหยักลึกคล้ายสมอง
  ้          ้                          ู้        ่
           ผล ลักษณะผลรูปไข่ ค่อนข้างกลม ส่วนล่างของผลสีเขียวสดและเป็นสีแดงเมือผลแก่ (ภาพที่ 14)
                                                                                   ่
(ทิพวัลย์, 2546 และ Hetterscheid & Ittenbach, 1996)

แหล่งทีเก็บตัวอย่าง
       ่
         จังหวัดแม่ฮองสอน
                    ่

การแพร่กระจาย
         ภาคเหนือของไทย และตอนเหนือของพม่า

การใช้ประโยชน์
        หัวนำไปแกง นึงรับประทานกับมะพร้าวและน้ำตาล นำไปเชือมคล้ายมันหรือเผือกเชือม ทำแกงบวด
                     ่                                      ่                   ่
และนำไปแปรรูปเป็นแป้งหรือวุนบุก หรือทำเป็นผลิตภัณฑ์อาหารอืน
                           ้                              ่




                                                                  พันธุบกในประเทศไทย 24
                                                                       ์ ุ
14a หัว                          14b ใบ




          14c ดอก                    14d จะงอยเกสรเพศผู้




14e จะงอยเกสรเพศผู้ เกสรเพศผู้             14f ผล
      และเกสรเพศเมีย
              ภาพที่ 14 A. corrugatus N.E. Br.

                                          พันธุบกในประเทศไทย 25
                                               ์ ุ
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย

More Related Content

What's hot

เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2558ครู กรุณา
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558ครู กรุณา
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์gingphaietc
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
ข้อสอบ O net 49 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net  49 วิทยาศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net  49 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 49 วิทยาศาสตร์ ม 6Woraprom Hinmani
 
อาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคอาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคstudentkc3 TKC
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายSAM RANGSAM
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
7 วิชาสามัญ คณิต 58 พร้อมเฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 58 พร้อมเฉลย7 วิชาสามัญ คณิต 58 พร้อมเฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 58 พร้อมเฉลยครู กรุณา
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2พัน พัน
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 

What's hot (20)

42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
 
Pat2 เม.ย. 57
Pat2 เม.ย. 57Pat2 เม.ย. 57
Pat2 เม.ย. 57
 
สถิติ เบื้องต้น 2
สถิติ เบื้องต้น 2สถิติ เบื้องต้น 2
สถิติ เบื้องต้น 2
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2558
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
ข้อสอบ O net 49 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net  49 วิทยาศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net  49 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 49 วิทยาศาสตร์ ม 6
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
อาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคอาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาค
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทาย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
7 วิชาสามัญ คณิต 58 พร้อมเฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 58 พร้อมเฉลย7 วิชาสามัญ คณิต 58 พร้อมเฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 58 พร้อมเฉลย
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 

Similar to พันธ์ุบุกในประเทศไทย

เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบLatcha MaMiew
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...รัชศวรรณ มูลหา
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้Mam Chongruk
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 

Similar to พันธ์ุบุกในประเทศไทย (20)

โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 

More from Wasan Yodsanit

การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทยการปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพพลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพWasan Yodsanit
 
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตWasan Yodsanit
 
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนงานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนWasan Yodsanit
 
ปลูกให้เป็นป่า
ปลูกให้เป็นป่าปลูกให้เป็นป่า
ปลูกให้เป็นป่าWasan Yodsanit
 
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]Wasan Yodsanit
 
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึง
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึงหนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึง
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึงWasan Yodsanit
 
เพลงปฏิวัติ V2
เพลงปฏิวัติ V2เพลงปฏิวัติ V2
เพลงปฏิวัติ V2Wasan Yodsanit
 

More from Wasan Yodsanit (10)

การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทยการปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
 
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพพลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ
 
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
 
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนงานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
 
ปลูกให้เป็นป่า
ปลูกให้เป็นป่าปลูกให้เป็นป่า
ปลูกให้เป็นป่า
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Thai forest
Thai forestThai forest
Thai forest
 
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]
 
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึง
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึงหนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึง
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึง
 
เพลงปฏิวัติ V2
เพลงปฏิวัติ V2เพลงปฏิวัติ V2
เพลงปฏิวัติ V2
 

พันธ์ุบุกในประเทศไทย

  • 1.
  • 2. พันธุบกในประเทศไทย ์ ุ ISBN : 974-436-448-3 ผูเขียน ้ : ทิพวัลย์ สุกมลนันทน์ ุ ผูจดพิมพ์ : สำนักวิจยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 ้ั ั กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จ.เชียงใหม่ ลิขสิทธิของกรมวิชาการเกษตร ์ ห้ามคัดลอกข้อความ หรือส่วนใดส่วนหนึงของหนังสือไปเผยแพร่โดยไม่ได้รบอนุญาต ่ ั พิมพ์ครังที่ 1 ้ จำนวน 500 เล่ม พิมพ์ท่ี : หจก.นันทกานต์ กราฟฟิค การพิมพ์ 120 ซอย 7 (พงษ์สวรรณ) ถ.โชตนา ต.ศรีภมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 ุ ู โทร : 0-5321-7014 , 0-5341-0009 แฟกซ์ : 0-5341-0009 E-mail : nantakarngraphic11@yahoo.com
  • 3. คำนำ บุกเป็นพืชทีมคณสมบัตเป็นได้ทงอาหารและสมุนไพรทีรจกกันแพร่หลาย โดยเฉพาะชาวญีปนและ ่ ี ุ ิ ้ั ่ ู้ ั ่ ุ่ จีนนิยมรับประทานเป็นอาหารเพือสุขภาพมานานนับร้อยปี มีการคัดเลือกพันธุและปลูกเป็นการค้าเพือรองรับ ่ ์ ่ อุตสาหกรรมแปรรูปสำหรับบริโภคทังภายในประเทศและส่งขายต่างประเทศทำรายได้เข้าประเทศในแต่ละปี ้ เป็นจำนวนไม่นอย สำหรับประเทศไทยคนในชนบทนิยมนำบุกมาปรุงเป็นอาหารและขนมรับประทานมานานแล้ว ้ เช่นเดียวกัน แต่อตสาหกรรมแปรรูปบุกเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเพือสุขภาพในเชิงการค้าของประเทศไทย เพิงเริมต้น ุ ่ ่ ่ เมือประมาณสิบกว่าปีทแล้ว โดยนำหัวบุกมาแปรรูปเป็นเครืองดืมและผลิตภัณฑ์อาหารเส้นใยในรูปแบบต่างๆ ่ ่ี ่ ่ บริโภคในประเทศและส่งออกไปขายญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศซึ่งมีแนวโน้มเป็นที่ชื่นชอบ ของผูรกสุขภาพทังหลายในการบริโภคอาหารเส้นใยจากธรรมชาติเพิมสูงขึน บุกจึงเป็นพืชทางเลือกทีมอนาคต ้ั ้ ่ ้ ่ ี และลูทางสำคัญในการส่งออกในรูปของผลิตภัณฑ์อาหารเพือสุขภาพอีกชนิดหนึง ซึงสมควรส่งเสริมและเผยแพร่ ่ ่ ่ ่ ความรูในการปลูกเป็นพืชเสริมรายได้แก่เกษตรกร ้ บุกเป็นพืชหัวล้มลุกซึงมีวงจรชีวตแตกต่างจากพืชอืน คือ มีชวงการเจริญเติบโตทางลำต้น (Vegetative ่ ิ ่ ่ growth) และออกดอก (Reproductive growth) ต่างปีกันและใช้เวลา 4-6 ปี จึงครบวงจรชีวิต นอกจากนีบกชนิดเดียวกันยังมีความแปรปรวนเรืองรูปพรรณสัณฐานและลักษณะทางพฤกษศาสตร์บางประการ ้ ุ ่ ทำให้มีความสับสนในการเรียกชื่อและชนิดที่ถูกต้อง งานวิจัยในอดีตที่ผ่านมาส่วนใหญ่เป็นการสำรวจและ รวบรวมพันธุบกโดยนักพฤกษศาสตร์ชาวต่างชาติ ขณะเดียวกันงานวิจยของนักวิชาการของไทยกลับมีนอยมาก ์ ุ ั ้ ทังนีอาจเนืองจากบุกเป็นพืชทีมวงจรชีวตไม่แน่นอนการศึกษาวิจยทำได้คอนข้างยากและต้องใช้เวลานานซึงเป็น ้ ้ ่ ่ ี ิ ั ่ ่ เหตุผลหนึงทีทำให้มผสนใจทำงานวิจยเรืองบุกมีจำนวนน้อย จึงได้ทำการสำรวจและรวบรวมตัวอย่างบุกจาก ่ ่ ี ู้ ั ่ แหล่งต่างๆ โดยนำส่วนทีขยายพันธุได้ คือ หัวใต้ดน หัวบนใบ หน่อ เหง้า และเมล็ดมาเพาะเลียงเพือศึกษาลักษณะ ่ ์ ิ ้ ่ สำคัญทางพฤกษศาสตร์ และการเจริญเติบโตจนครบวงจรชีวต ขณะนีสามารถจำแนกชนิดและชือวิทยาศาสตร์ ิ ้ ่ ที่ถูกต้องได้ 10 ชนิด จากตัวอย่างที่เก็บรวบรวมตามแหล่งต่างๆ ในหลายพื้นที่มากกว่า 500 ตัวอย่าง ข้อมูลส่วนใหญ่ได้รวบรวมและเรียบเรียงจากความรูและประสบการณ์จากการศึกษาค้นคว้าวิจยทังในห้องปฏิบตการ ้ ั ้ ัิ และภาคสนามและจากการตรวจเอกสารในประเทศและต่างประเทศโดยใช้เวลาดำเนินการถึง 6 ปี เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี องค์ประธานโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชตามพระราชดำริทรงเจริญพระชนมายุครบ 50 พรรษา จึงได้จดทำเอกสารฉบับนีขนเพือเป็น ั ้ ้ึ ่ การเฉลิมพระเกียรติ และเป็นการเผยแพร่งานวิจยเรืองบุก แด่นกวิชาการ อาจารย์ นักศึกษาและผูสนใจได้ใช้ ั ่ ั ้ ประโยชน์สำหรับเป็นข้อมูลประกอบการศึกษา และเป็นแนวทางในการค้นคว้าทดลองเพื่อนำไปใช้พัฒนา งานวิจยเรืองบุกให้กว้างขวางยิงขึน และหากมีขอเสนอแนะหรือข้อสงสัยใดๆ ผูเขียนยินดีรบฟัง เพือปรับปรุง ั ่ ่ ้ ้ ้ ั ่ แก้ไขให้ดยงขึน ี ่ิ ้
  • 4. ผู้เขียนสำนึกในพระคุณสูงสุดของพ่อแม่ผู้ให้ชีวิต อบรมสั่งสอนเลี้ยงดูให้ยึดมั่นในศีลธรรม กตัญญูกตเวทิตา ซือสัตย์สจริต ให้สติและให้กำลังใจเสมอมาทังการเรียน การทำงาน การดำเนินชีวต ขอกราบ ่ ุ ้ ิ รำลึกพระคุณของครูอาจารย์ทงหลายทีได้ประสิทธิประสาทและถ่ายทอดวิชาความรู้ ขอขอบคุณเพือนร่วมงาน ้ั ่ ่ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ผอ.ชัยวัฒน์ วัฒนไชย ผู้อำนวยการสำนักวิจัยพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 ดร.วารี ไชยเทพ ผูอำนวยการศูนย์วจยข้าวเชียงใหม่ คุณวินย สมประสงค์ คุณวสันต์ นุยภิรมย์ กรมวิชาการเกษตร ้ ิั ั ้ อาจารย์ทพย์สดา ตังตระกูล อาจารย์เยาวนิตย์ ธาราฉาย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ Dr.W.L.A. Hetterscheid ผูเชียวชาญ ิ ุ ้ ้ ่ พืชสกุลบุกสวนพฤกษศาสตร์ Leiden ประเทศเนเธอร์แลนด์ Dr.J.F. Maxwell มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ทชวยเหลือ่ี ่ ประสานงานในการเดินทางสำรวจและรวบรวมบุกให้ความรู้และคำแนะนำที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ขอขอบคุณ ศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่ กรมวิชาการเกษตร ที่ให้ใช้สถานที่ในการทำงานทดลอง รวมทั้งให้ใช้ อุปกรณ์ตางๆ ในการจัดเตรียมต้นฉบับการเรียบเรียงเอกสารฉบับนีจะไม่สำเร็จได้เลยหากไม่มการสนับสนุน ่ ้ ี จากครอบครัวของผูเขียน คือ อาจารย์ปรัชวาล สุกมลนันทน์ สามี นางสาวสุธดา สุกมลนันทน์ บุตรสาว และ ้ ุ ิ ุ นายชัยยุทธ สุกมลนันทน์ บุตรชาย ผูซงอยูเบืองหลังในการทำงานครังนี้ ุ ้ ่ึ ่ ้ ้ นางทิพวัลย์ สุกมลนันทน์ ุ เมษายน 2548
  • 5. สารบัญ หน้า ประวัตความเป็นมา ิ 1 ลักษณะทัวไปของพืชสกุลบุก ่ 3 วงจรชีวต ิ 12 การขยายพันธุ์ 12 นิเวศวิทยาและเขตการแพร่กระจายพันธุ์ 14 สภาพแวดล้อมทีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ่ 15 การรวบรวมบุกในประเทศไทย 17 ลักษณะสำคัญทางพฤกษศาสตร์ของบุก 10 ชนิด 24 ประโยชน์ของบุกในด้านพืชอาหารและสมุนไพร 45 การใช้ประโยชน์ดานอุตสาหกรรมแปรรูป ้ 47 การตลาดและชนิดของบุกทีมศกยภาพในการแปรรูปเป็นการค้าและอุตสาหกรรม ่ ี ั 49 เอกสารอ้างอิง 50 บรรณานุกรม 52 ภาคผนวก 55
  • 6. สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 ต้นบุก 2 ภาพที่ 2 A.titanum (Becc.) Becc. Ex Arcang. 2 ภาพที่ 3 หัวกลม 4 ภาพที่ 4 หัวยาว 5 ภาพที่ 5 ผิวของก้านใบ 6 ภาพที่ 6 ใบคล้ายใบประกอบแบบขนนกรูปแบบต่างๆ 7 ภาพที่ 7 จุดเจริญพัฒนาเป็นหัวย่อยบนใบ 8 ภาพที่ 8 ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ 8 ภาพที่ 9 ส่วนต่างๆ ของช่อดอก 9 ภาพที่ 10 ลักษณะของรังไข่และออวุล 10 ภาพที่ 11 ลักษณะของผลและเมล็ด 11 ภาพที่ 12 แมลงทีพบในดอกบุก ่ 13 ภาพที่ 13 แมลงศัตรูบกุ 16 ภาพที่ 14 A. corrugatus N.E.Br. 25 ภาพที่ 15 A. kachinensis Engl. & Gehrm. 27 ภาพที่ 16 A. krausei Engl. 29 ภาพที่ 17 A. longituberosus (Engl.) Engl. & Gehrm. 31 ภาพที่ 18 A. macrorhizus Craib 33 ภาพที่ 19 A. muelleri Blume 35 ภาพที่ 20 A. napiger Gagnepain 37 ภาพที่ 21 A. paeoniifolius (Dennst.) Nicolson 39 ภาพที่ 22 A. tenuistylis Hett. 41 ภาพที่ 23 A. yunnanensis Engl. 43 ภาพที่ 24 อาหารและขนมทีทำจากบุก ่ 48
  • 7. สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 รายชือบุกทีพบในประเทศไทย ่ ่ 17 ตารางที่ 2 รายชือบุก 10 ชนิด และแหล่งทีพบ ่ ่ 20 ตารางที่ 3 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์บางประการของบุก 10 ชนิด 21 ตารางที่ 4 รูปวิธานจำแนกชนิดบุก 10 ชนิด 44
  • 8. ประวัตและความเป็นมา ิ บุกเป็นพืชหัว ไม้เนืออ่อน ล้มลุก (ภาพที่ 1) อยูในวงศ์บก บอน (Araceae) สกุลบุก (Amorphophallus) ้ ่ ุ เริมเป็นทีรจกเมือประมาณ 100 กว่าปีมาแล้วโดยนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Odoardo Beccari ได้คนพบพืชใน ่ ่ ู้ ั ่ ้ สกุลบุกชนิดหนึง คือ Amorphophallus titanum (Becc.) Becc. Ex Arcang. ในป่าของประเทศอินโดนีเซีย ่ ด้วยขนาดดอกทีใหญ่มหึมาและลักษณะรูปพรรณสัณฐาน สีสรรสวยงาม แปลกตาได้ปลุกเร้าความสนใจของ ่ นักพฤกษศาสตร์และคนทัวไปให้หนมาศึกษาค้นคว้าและให้ความสำคัญกับพืชนีมากขึน และได้ขนานนามดอกไม้ ่ ั ้ ้ ขนาดยักษ์นวา “ดอกไม้มหัศจรรย์” (ภาพที่ 2) ซึงต่อมาภายหลังสวนพฤกษศาสตร์ Kew ประเทศอังกฤษได้นำ ้ี ่ ่ A. titanum ไปปลูกเพือศึกษาวิจย โดยใช้เวลานานถึง 10 ปี จึงประสบความสำเร็จ (Hetterscheid & Ittenbach, ่ ั 1996) เนืองจากบุกเป็นพืชทีมวงจรชีวตแตกต่างจากพืชอืนคือมีการเจริญเติบโตทางลำต้นและดอกต่างปีกน ่ ่ ี ิ ่ ั จึงต้องใช้เวลานานหลายปีกว่าทีบกจะมีดอกสักครังหนึง ่ ุ ้ ่ ผูทสำรวจและรวบรวมพืชสกุลบุกในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวต่างชาติ โดยผูท่ี ้ ่ี ้ เริมสนใจศึกษาบุกชนิดต่างๆ ในประเทศไทย คนแรกคือ Charles Curtis นักพืชสวนชาวอังกฤษ ซึงขณะนัน ่ ่ ้ เป็นผู้อำนวยการสวนพฤกษศาสตร์ปีนัง ประเทศมาเลเซีย ระหว่างปี พ.ศ.2427–2446 เก็บตัวอย่างบุก A.variabilis Bl. ได้ทเกาะตะรุเตา จังหวัดสตูล โดยเก็บตัวอย่างไว้ทพพธภัณฑ์พช ของประเทศสิงค์โปร์ ต่อมา ่ี ่ี ิ ิ ื ภายหลังได้มการจำแนกชนิดของบุกใหม่พบว่าไม่ใช่ชนิด A. variabilis Bl. (Hetterscheid & Ittenbach,1996) ี นักพฤกษศาสตร์ผมชอเสียงและเป็นทีรจกกันแพร่หลายในประเทศไทยและได้ชอว่าเป็นผูททมเทและให้ความ ู้ ี ่ื ่ ู้ ั ่ื ้ ่ี ุ่ สนใจอย่างจริงจัง คือ Dr.Alfred Francis George Kerr นายแพทย์ชาวไอริช ได้เข้ามาประเทศไทยเมือปี ่ พ.ศ.2445 โดยเป็นแพทย์ประจำสถานกงสุลอังกฤษ จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาได้หนมาสนใจศึกษาพืชพืนเมือง ั ้ โดยเฉพาะกล้วยไม้ชนิดต่างๆ ของภาคเหนือบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ในช่วงปี พ.ศ.2452– 2475 (Maxwell & Elliot,2001) ขณะเดียวกันก็ได้ศกษาและรวบรวมพรรณไม้พนเมืองชนิดอืนด้วย โดยในระยะ ึ ้ื ่ 3 ปีแรก คือระหว่างปี พ.ศ.2452-2454 ได้เก็บตัวอย่างบุก 3 ชนิด ที่ดอยสุเทพจังหวัดเชียงใหม่ คือ A.corrugatus N.E.Br., A. yunnanensis Engl. และ A. macrorhizus Craib (Craib, 1912) ต่อมาภายหลัง ได้เก็บตัวอย่างบุกจากแหล่งต่างๆ ทัวประเทศอีกหลายชนิด นอกจากนีมนกพฤกษศาสตร์ชาวไทยชือ นายพุด ่ ้ ี ั ่ ไพรสุรนทร์ เป็นผูเก็บตัวอย่างบุกและศึกษาพรรณไม้อนด้วย ซึงภายหลังท่านได้รบเกียรติมชอพรรณไม้ใหม่ ิ ้ ่ื ่ ั ี ่ื หลายชนิดใน specific epithet ว่า putii โดยในช่วงปี พ.ศ. 2469-2474 ได้เก็บตัวอย่างบุกหลายชนิด คือ A. brevispathus Gagnepain จากจังหวัดสระบุรี A. koratensis Gagnepain จากจังหวัดนครราชสีมา A. linearis Gagnepain จากจังหวัดนครสวรรค์ และ A.putii Gagnepain จากจังหวัดสระบุรี (จเรและคณะ,2544) เนืองจากในขณะนันประเทศไทยยังไม่มพพธภัณฑ์พชทำให้ตวอย่างบุกชนิดต่างๆ ทังตัวอย่างแห้งและตัวอย่าง ่ ้ ี ิ ิ ื ั ้ ทีมชวตถูกส่งไปเก็บรักษาไว้ทสวนพฤกษศาสตร์ Kew, Aberdeen และ Edinburgh ประเทศอังกฤษและใน ่ ีีิ ่ี ระยะหลังมีการเก็บตัวอย่างบุกซึงรวบรวมได้จากแหล่งต่างๆ ในหลายประเทศไว้ทสวนพฤกษศาสตร์ Leiden ่ ่ี ประเทศเนเธอร์แลนด์มากกว่า 130 ชนิด (spp.) (Hetterscheid & Ittenbach, 1996) สวนพฤกษศาสตร์ Bonn ประเทศเยอรมัน และอีกหลายประเทศ สำหรับประเทศไทยในระยะต่อมาได้มการเก็บตัวอย่างแห้งของ ี บุกบางชนิดไว้ที่พิพิธภัณฑ์พืชกรุงเทพ กรมวิชาการเกษตร หอพรรณไม้ กรมป่าไม้ และหอพรรณไม้ของ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พันธุบกในประเทศไทย 1 ์ ุ
  • 9. ภาพที่ 1 ต้นบุก ภาพที่ 2 A. titanium (Becc.) Becc. Ex Arcang. แหล่งทีมา : http://www.tfeps.org/amorphophallus_titanum.htm ่ พันธุบกในประเทศไทย 2 ์ ุ
  • 10. ลักษณะทัวไปของพืชสกุลบุก (Amorphophallus) ่ ลำต้นเป็นแบบหัวใต้ดน (tuber) มีรปร่างลักษณะต่างๆ กัน คือ หัวกลม (globose) ค่อนข้างกลม ิ ู (subglobose) กลมแป้น (depressed globose) รูปร่างกลมค่อนข้างแบน (saucer shaped) มีเหง้า (rhizome) และไม่มเหง้า หรือมีหน่ออยูรอบหัว สีของเนือในหัวมีหลายสี ได้แก่ สีขาว ขาวขุน ครีม เหลืองอ่อน เหลืองเข้ม ี ่ ้ ่ เหลืองปนส้ม ชมพูปนส้ม (ภาพที3) และหัวยาว (verticle elongate) คล้ายหัวมัน แครอท มันแกวหรือคล้าย ่ รากฟัน (ภาพที่ 4) ใบเป็นใบเดียวเจริญจากหัวใต้ดนประกอบด้วยก้านใบหลัก (petiole) 1 ก้าน ผิวของก้าน ่ ิ เรียบเกลียง มีขนอ่อน ผิวขรุขระหรือมีหนามทูมลวดลายและสีตางๆ กัน (ภาพที่ 5) ทีปลายก้านหลักแตกเป็น ้ ่ ี ่ ่ 3 แขนง แต่ละแขนงใหญ่แตกเป็นแขนงย่อยมีรปแบบคล้ายใบประกอบแบบขนนก (ภาพที่ 6) แผ่นใบมีลกษณะ ู ั คล้ายร่มแผ่กว้างในแนวราบ ลักษณะรูปใบมีหลายแบบ คือ รูปรี (elliptic) รูปใบหอก (lanceolate) รูปไข่กลับ (obovate) รูปรีแกมรูปใบหอก (elliptic lanceolate) รูปสีเ่ หลียมข้าวหลามตัด (rhombic) และรูปหอกแกมรูปไข่ ่ (obovate lanceolate) ทีโคนใบมีครีบ (decurrent) และไม่มครีบ ปลายใบแหลม (acute) เรียวแหลม (short ่ ี or long acuminate) สีของขอบใบย่อย สีขาวปนเทา ขาวปนชมพู ชมพูเข้มและเขียว ตรงโคนของแขนงใบย่อย ของบุกบางชนิดมีจดเจริญสามารถเกิดเป็นหัวย่อย (bulbil) ใหม่ได้ (ภาพที่ 7) ดอกเป็นช่อดอกแบบช่อเชิงลด ุ มีกาบ (spadix) มีทงดอกขนาดเล็ก มีกานดอกยาว (peduncle) คล้ายดอกเดหลี และดอกขนาดใหญ่ซงมีทง ้ั ้ ่ึ ้ั ก้านดอกยาวและก้านดอกสัน (ภาพที่ 8) ช่อดอกประกอบด้วยกาบหุมช่อดอก (spathe) มีทงขนาดใหญ่และ ้ ้ ้ั ขนาดเล็ก สีขาวครีม เหลืองปนเขียวอ่อน ชมพูปนแดง น้ำตาลปนเหลือง หรือหลายสีในดอกเดียวกัน บางชนิด ขอบหยักเป็นริวคล้ายระบายด้วยลูกไม้ ส่วนของช่อเชิงลดมีกาบหรือช่อดอก (spadix) แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ้ ส่วนแรกคือ จะงอยเกสรเพศผู้ (appendix) มีลกษณะคล้ายดอกบัวตูมขนาดใหญ่รปกรวยคว่ำ รูปร่างเรียวยาว ั ู หรือทรงกระบอกแล้วแต่ชนิด ผิวเรียบ ผิวย่นหรือมีรอยหยักลึกเป็นร่อง บางชนิดมีขนอ่อนกระจายอยูทวไป ่ ่ั สีขาวครีม เหลืองอ่อน ชมพูปนม่วง น้ำตาลปนแดง ซึงมีขนาดสันกว่า หรือยาวกว่า หรือเท่ากับความยาวของ ่ ้ กาบหุมช่อดอก ส่วนที่ 2 เกสรเพศผู้ (stamen) ลักษณะคล้ายไข่ปลาเรียงตัวติดกันแน่นสีขาวครีม ขาวปนเหลือง ้ เขียวอ่อน ชมพูออน ชมพูปนม่วง บางชนิดมีบริเวณส่วนของเพศผูเป็นหมัน (sterile zone) และส่วนที่ 3 เกสร ่ ้ เพศเมีย (ภาพที่ 9) ซึงประกอบด้วยยอดเกสรเพศเมีย (stigma) ก้านเกสรเพศเมีย (stigma style) ซึงอาจมี ่ ่ หรือไม่มแล้วแต่ชนิด และรังไข่ (ovary) ซึงมีขนาดและรูปร่างต่างกัน ภายในรังไข่ มี 1-2 ช่อง (locule) แต่ละ ี ่ ช่องมี 1-2 ออวุล (ovule) (ทิพวัลย์และจเร, 2544) (ภาพที่ 10) ผล (berry) เป็นผลสด มี 1-3 เมล็ด เนือหุม ้ ้ เมล็ดนุม รูปร่างของผล กลม ค่อนข้างกลม รูปไข่ หรือคล้ายทรงกระบอก สีของผลส่วนใหญ่เป็นสีเขียว บางชนิด ่ เป็นสีฟา เมือผลสุกแก่เปลียนเป็นสีเหลืองส้ม แดงสด หรือน้ำเงินแกมม่วง เมล็ด (seed) ส่วนใหญ่มรปร่าง ้ ่ ่ ีู ยาวรีหรือค่อนข้างกลม (ภาพที่ 11) (ทิพวัลย์, 2546 และ Hetterscheid & Ittenbach, 1996) พันธุบกในประเทศไทย 3 ์ ุ
  • 11. 3a หัวกลม 3b หัวกลมค่อนข้างแบน 3c หัวที่มีเหง้า 3d หัวทีมหน่อรอบหัว ่ ี 3e สีของเนือในหัวมีหลายสี ้ ภาพที่ 3 หัวกลมลักษณะต่างๆ พันธุบกในประเทศไทย 4 ์ ุ
  • 12. 4a หัวคล้ายหัวมัน 4b หัวคล้ายรากฟัน 4c หัวคล้ายหัวแครอท 4d หัวคล้ายหัวมันแกว ภาพที่ 4 หัวยาวลักษณะต่างๆ พันธุบกในประเทศไทย 5 ์ ุ
  • 13. 5a ผิวเรียบเกลียง ้ 5b มีขนอ่อน 5d ผิวขรุขระ 5c มีหนามทู่ ภาพที่ 5 ผิวของก้านใบ พันธุบกในประเทศไทย 6 ์ ุ
  • 14. 6a แบบชันเดียว (1-dichotomously branch) ้ 6b แบบ 2 ชั้น ( 2-dichotomously branch ) 6c แบบ 3 ชัน ( 3-dichotomously branch ) ้ 6d แบบ 4 ชั้น ( 4-dichotomously branch ) ภาพที่ 6 ใบคล้ายใบประกอบแบบขนนก รูปแบบต่างๆ พันธุบกในประเทศไทย 7 ์ ุ
  • 15. ภาพที่ 7 จุดเจริญพัฒนาเป็นหัวย่อยบนใบ 8a ดอกขนาดเล็กมีกานยาว ้ 8b ดอกขนาดใหญ่มกานสัน ี ้ ้ ภาพที่ 8 ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ พันธุบกในประเทศไทย 8 ์ ุ
  • 16. 9b กาบหุมช่อดอกและจะงอยเกสรเพศผู้ ้ 9c เกสรเพศผู้ 9d เกสรเพศผูเป็นหมัน ้ 9a ช่อดอก ภาพที่ 9 ส่วนต่างๆ ของช่อดอก 9e เกสรเพศเมีย พันธุบกในประเทศไทย 9 ์ ุ
  • 17. กำลังขยาย 15 เท่า กำลังขยาย 15 เท่า A. krausei Engl. กำลังขยาย 12 เท่า กำลังขยาย 12 เท่า A.muelleri Blume กำลังขยาย 8 เท่า กำลังขยาย 11 เท่า A.paeoniifolius (Dennst.) Nicolson ภาพที่ 10 ลักษณะของรังไข่และออวุล พันธุบกในประเทศไทย 10 ์ ุ
  • 18. ภาพที่ 11 ลักษณะของผลและเมล็ด พันธุบกในประเทศไทย 11 ์ ุ
  • 19. วงจรชีวต ิ บุกเป็นพืชหัวล้มลุก ซึงมีวงจรชีวตแตกต่างจากพืชอืน คือ มีชวงการเจริญเติบโตทางลำต้นต่างปีกบที่ ่ ิ ่ ่ ั เจริญเติบโตเป็นดอก บุกส่วนใหญ่มชวงการเจริญเติบโตทางลำต้นเพียงอย่างเดียวนาน 4–6 ปี จึงเข้าสูชวง ี่ ่่ ของการออกดอก บุกบางชนิดมีดอกเพียงปีเดียวแต่บางชนิดสามารถมีดอกติดต่อกันได้หลายปี แล้วจึงกลับมา มีการเจริญเติบโตทางลำต้นอีกครังหนึง บุกซึงมีดอกส่วนใหญ่จะไม่มการเจริญเติบโตทางลำต้น (ทิพวัลย์, 2544) ้ ่ ่ ี ยกเว้นบุกบางชนิด เช่น A. yunnanensis Engl. และ A. paeoniifolius (Dennst.)Nicolson เมือมีดอกและพัฒนา่ เป็นผลหรือไม่ตดผลก็ตามจะมีตนใหม่งอกจากหัวเดิมหรือจากหน่อเล็กๆ ทีอยูรอบหัวเดิมได้ โดยธรรมชาติบก ิ ้ ่ ่ ุ จะเริมงอกและเจริญเติบโตในช่วงปลายฤดูแล้งต่อฤดูฝน หัวทีงอกและเจริญเติบโตเป็นดอกจะงอกได้เร็วกว่า ่ ่ หัวทีเจริญเติบโตเป็นต้น โดยปกติบกจะออกดอกประมาณปลายเดือนมกราคมเป็นต้นไปจนถึงเดือนกรกฎาคม ่ ุ ส่วนต้นจะงอกประมาณเดือนมีนาคมจนถึงเดือนกรกฎาคม เช่นเดียวกันทังนีการงอกจะเร็วหรือช้าขึนอยูกบชนิด ้ ้ ้ ่ั ของบุกและความสมบูรณ์ของหัวระยะเวลาตังแต่ตนงอกจนถึงต้นเริมเหียวใช้เวลา 8-10 เดือน เมือต้นเจริญ ้ ้ ่ ่ ่ เติบโตเต็มที่ ใบจะเริมเหียวเฉาและแห้งในทีสด ส่วนหัวทีเจริญเติบโตเป็นดอกใช้เวลา 20-45 วัน ตังแต่เริม ่ ่ ุ่ ่ ้ ่ งอกจนถึงดอกบาน (Flowering period) และจะบาน อยูประมาณ 2-4 วันเมือดอกได้รบการผสมแล้วหรือ ่ ่ ั ไม่ได้รบการผสมก็ตามรังไข่กสามารถพัฒนาเป็นผลได้ (Hetterscheid & Ittenbach,1996) ซึงใช้เวลานาน ั ็ ่ 6-8 เดือน (Fruiting period) เมือผลแก่เมล็ดก็จะร่วงหล่นสูพนดิน ขณะเดียวกันหัวใต้ดนก็มขนาดใหญ่ขน ่ ่ ้ื ิ ี ้ึ โดยมีลกษณะการเจริญเติบโตแบบถ่ายหัว คือ หัวทีเกิดใหม่จะซ้อนอยูดานบนของหัวเดิม หัวเก่าจะฝ่อและเหียว ั ่ ่ ้ ่ แห้งไปเมือต้นและใบเหียวเฉาหรือผลสุกแก่เต็มทีหวก็เริมเข้าสูระยะพักตัวรอเวลาและสภาพแวดล้อมทีเหมาะสม ่ ่ ่ ั ่ ่ ่ เพืองอกเป็นต้นหรือเป็นดอกในปีตอไป (ทิพวัลย์, 2544) ่ ่ การขยายพันธุ์ โครงสร้างของดอกบุกมีลักษณะเป็นช่อดอกประกอบด้วยกาบหุ้มช่อดอกและช่อเชิงลดมีกาบซึ่งมี ลักษณะโดยรวมคล้ายเป็นดอกขนาดใหญ่ ส่วนดอกจริงจะมีขนาดเล็กอยูตรงส่วนโคนของช่อเชิงลดมีกาบ ส่วนของ ่ เกสรเพศผูและเกสรเพศเมียอยูแยกจากกัน (Hetterscheid & Ittenbach, 1996)เมือดอกเริมบาน จะมีกลิน ้ ่ ่ ่ ่ เหม็นเหมือนซากสัตว์ทตายแล้วและล่อแมลงให้เข้ามาไต่ตอมทีเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย จากการสังเกต ่ี ่ ้ พบด้วงปีกแข็ง หรือ dung beetle (Pettonotus nasutus Arrow) ซึงอยูในวงศ์ Scarabaeidae ช่วยผสมเกสร ่ ่ และขณะเดียวกันก็กดกินบางส่วนของจะงอยเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย นอกจากนียงพบมดและแมลงอีกหลายชนิด ั ้ ้ั ทีมขนาดค่อนข้างเล็กซึงพบว่าส่วนใหญ่ไม่ได้กดกินดอกแต่จะเดินไต่ตอมระหว่างเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย ่ ี ่ ั ้ เพือช่วยผสมเกสร คือ ด้วงก้นกระดก อยูในวงศ์ Staphylinidae และด้วงผลไม้เน่า (Haptoneus sp.) อยูในวงศ์ ่ ่ ่ Nitidulidae และพบผึงโพรง (Apis cerana F.) บินมาแวะเวียนตอมดอกบุกในตอนสายของวันทีดอกบุกเริมบาน ้ ่ ่ (ภาพที่ 12) พันธุบกในประเทศไทย 12 ์ ุ
  • 20. 12a ด้วงผลไม้เน่า 12b ด้วงปีกแข็ง 12c ด้วงก้นกระดก 12d ด้วงปีกแข็งวัยต่างๆ 12e ผึงโพรง ้ ภาพที่ 12 แมลงทีพบในดอกบุก ่ พันธุบกในประเทศไทย 13 ์ ุ
  • 21. บุกสามารถขยายพันธุได้หลายวิธดงนี้ ์ ี ั 1. โดยวิธการเพาะเมล็ด บุกสามารถขยายพันธุได้เองตามธรรมชาติ โดยเมล็ดทีรวงหล่นลงดินสามารถ ี ์ ่่ งอกเป็นต้นใหม่ได้ จากการทดสอบในห้องปฏิบตการและภาคสนาม พบว่าเมล็ดบุกส่วนใหญ่มความงอกมากกว่า ัิ ี 90% และบุกบางชนิดมีระยะพักตัวเป็นเวลานานถึง 4 เดือน 2. โดยวิธการแตกหน่อจากหัวเดิม บุกบางชนิดมีหน่อขนาดเล็กเป็นจำนวนมากอยูบนหัวเดิม ซึง ี ่ ่ หน่อเหล่านี้ สามารถแยกไปปลูกเป็นต้นใหม่ได้หรือใช้วธตดแบ่งหัวเก่า แล้วนำไปปลูกขยายพันธุแต่มกมีปญหา ิี ั ์ ั ั เรืองหัวเน่า ่ 3. โดยใช้เหง้า (Rhizome) บุกบางชนิดเมือเจริญเติบโตเต็มทีจะมีเหง้าแตกออกมาจากหัวเดิมโดยรอบ ่ ่ มีความยาว 10-30 เซนติเมตร นำเหง้ามาตัดแบ่งเป็นท่อนสันๆ แล้วนำไปปลูกขยายพันธุได้อกวิธหนึง ้ ์ ี ี ่ 4. โดยใช้หวบนใบ บุกบางชนิดได้แก่ A. mulleri มีลกษณะเด่นกว่าชนิดอืน คือมีหวขนาดเล็กอยูบน ั ั ่ ั ่ ใบจำนวนหนึง ซึงสามารถนำไปปลูกเพือขยายพันธุได้ ่ ่ ่ ์ 5. โดยวิธการเพาะเลียงเนือเยือ ในกรณีทตองการต้นอ่อนในปริมาณมาก ี ้ ้ ่ ่ี ้ โดยปกติบุกขยายพันธุ์ได้ตามธรรมชาติด้วยการแตกหน่อหรือเมล็ด เมื่อเมล็ดบุกแก่จัดจะร่วง กระจัดกระจายลงสูพนดิน จากการเฝ้าสังเกตของนักพฤกษศาสตร์ทศกษาเรืองการกระจายพันธุของบุกรายงานว่า ่ ้ื ่ี ึ ่ ์ ในประเทศอินเดียและประเทศอืนบางประเทศพบนกเงือกและนกกางเขนกินผลบุก เนืองจากผลของบุกส่วนใหญ่ ่ ่ มีสดใสจึงดึงดูดให้นกมากินซึงเป็นการช่วยกระจายพันธุบกตามธรรมชาติอกวิธหนึง (Hetterscheid,1995 และ ่ ์ ุ ี ี ่ Singh & Gadgil,1996) สำหรับในประเทศไทยยังไม่เคยมีรายงานในเรืองนี้ แต่จากการสังเกตุในแปลงรวบรวม ่ ตัวอย่างบุกพบว่ามีนกปรอดหัวโขนมากินผลซึงกำลังสุกแดง ซึงนอกจากนกแล้วมนุษย์ยงเป็นตัวการสำคัญใน ่ ่ ั การกระจายพันธุของบุก โดยการนำส่วนขยายพันธุของบุก คือ เมล็ด หัว และส่วนขยายพันธุอ่นไปปลูกตาม ์ ์ ์ื บ้านเรือนและไร่นา จึงทำให้มบกเจริญเติบโตอยูทวไป ี ุ ่ ่ั นิเวศวิทยาและเขตการแพร่กระจายพันธุ์ บุกเป็นพืชทีพบได้ทวไปในเขตร้อนและเขตอบอุนของอาฟริกาและเอเซีย แต่ไม่พบในเขตร้อนของ ่ ่ั ่ อเมริกา เริ่มตั้งแต่บริเวณตะวันตกของทวีปอาฟริกาเรื่อยมาทางตะวันออกของโพลีนีเซีย จนถึงทวีปเอเซีย ในอาฟริกา สามารถเห็นบุกได้ทั่วไปในเขตทุ่งราบ และหมู่เกาะบางแห่งทางตอนใต้ของมหาสุมทรแปซิฟิก ในเอเซียมีหลายประเทศทีสำรวจแล้วพบว่ายังมีบกขึนอยูตามป่าทัวไป ได้แก่ ประเทศไทย ลาว พม่า จีน มาเลเซีย ่ ุ ้ ่ ่ ฟิลปปินส์ อินโดนีเซีย อินเดีย บังคลาเทศ และญีปน บุกแต่ละชนิดสามารถเจริญเติบโตได้ในสภาพพืนทีคอนข้าง ิ ่ ุ่ ้ ่่ แตกต่างกัน ตังแต่ปาโปร่ง ในทุงโล่ง ป่าผลัดใบ ป่าทีถกเผาทำลาย โดยเฉพาะป่าไผ่ หรือในสภาพพืนทีซงเป็นหิน ้ ่ ่ ู่ ้ ่ ่ึ เช่น หินอัคนีหรือหินดานและมีบกหลายชนิดทีชอบขึนในสภาพป่าซึงเป็นภูเขาหินปูน บนหน้าผาสูงชัน และบนพืนที่ ุ ่ ้ ่ ้ ราบจนถึงภูเขาซึ่งมีความสูง 3,000 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล การแพร่กระจายของบุกส่วนใหญ่พบว่ามัก จะเจริญเติบโตอยูเฉพาะในท้องถินใดท้องถินหนึงเท่านัน มีบกเพียงไม่กชนิดทีเ่ จริญเติบโตและแพร่กระจายได้เป็น ่ ่ ่ ่ ้ ุ ่ี บริเวณกว้างและในสภาพภูมประเทศทีหลากหลาย เช่น A.Paeoniifolius (Dennst.) Nicolson มีเขตการแพร่ ิ ่ กระจายตังแต่มาดากัสการ์ จนถึงโพลีนเซียและอีกหลายประเทศในแถบเอเซียรวมทังประเทศไทย A. muelleri ้ ี ้ Blume พบมากในภาคเหนือและภาคกลางของประเทศไทย และแพร่กระจายไปถึงสุมาตรา ชวา และหมูเกาะ ่ Lesser Sunda สำหรับ A. abyssinicus (Rich.) N.E.Br. แพร่กระจายได้เป็นบริเวณกว้างในอาฟริกา ถึงแม้ ว่าบุกส่วนใหญ่จะเจริญเติบโตและแพร่กระจายได้จำกัดเฉพาะท้องถิน แต่กสามารถพบบุกชนิดเดียวกันได้ใน ่ ็ พืนทีใกล้เคียงหรือประเทศทีมเี ขตติดต่อกัน จากการสำรวจพบว่ามีพชสกุลบุกอยูประมาณ 170 ชนิดทัวโลก และพบใน ้ ่ ่ ื ่ ่ พันธุบกในประเทศไทย 14 ์ ุ
  • 22. ประเทศไทย 46 ชนิด (เต็ม, 2544 และ Hetterscheid & Ittenbach,1996) เจริญเติบโตและแพร่กระจายอยูทว ่ ่ั ทุกภาคของประเทศโดยเฉพาะบริเวณป่าโปร่งทีเป็นแหล่งอาศัยของพืชพืนเมือง ่ ้ ภาคเหนือ พบที่ แม่ฮองสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน ่ พิจตร อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร พิษณุโลก และ สุโขทัย ิ ภาคกลาง พบที่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ธนบุรี ปทุมธานี และ ปราจีนบุรี ภาคใต้ พบที่ ประจวบคีรขนธ์ ชุมพร ระนอง ปัตตานี พังงา ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ีั กระบี่ ยะลา และนราธิวาส ภาคตะวันออก พบในหลายจังหวัดทางฝังทะเลตะวันออก ่ ภาคตะวันตก พบที่ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และ เพชรบุรี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบมากทีนครราชสีมา และ บุรรมย์ (หรรษาและอรนุช, 2532) ่ ีั สภาพแวดล้อมทีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ่ บุกชอบดินทีคอนข้างอุดมสมบูรณ์มอนทรียวตถุพอเพียง ดินร่วนโปร่ง ปริมาณ pH 5.5-7.0 เป็นพืช ่ ่ ีิ ์ั ทีชอบร่มเงา ส่วนใหญ่ขนอยูในป่าธรรมชาติใต้รมไม้ใหญ่ ซึงมีแสงแดดรำไร อุณหภูมทเหมาะสมอยูระหว่าง ่ ้ึ ่ ่ ่ ิ ่ี ่ 25-35 องศาเซลเซียส ไม่ชอบลมพัดแรงเนืองจากบุกเป็นพืชทีลำต้นหรือก้านใบอวบน้ำไม่มกงก้าน ถ้าถูกแสงแดด ่ ่ ี ่ิ โดยตรงจะทำให้ใบไหม้และต้นเหียวเฉาได้งาย และถ้ามีลมแรงต้นอาจโค่นล้มได้ โดยทัวไปแล้วบุกเป็นพืชทีปลูก ่ ่ ่ ่ เลียงได้ไม่ยากสามารถนำมาปลูกในสภาพแปลงได้แต่ควรมีตาข่ายพรางแสงประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ หรือปลูกแซม ้ ในพืชหลักที่ให้ร่มเงา การดูแลรักษาควรให้ปุ๋ยอินทรีย์ ดูแลป้องกันกำจัดวัชพืชและศัตรูพืชและให้น้ำอย่าง สม่ำเสมอในระยะทีฝนทิงช่วง (ทิพวัลย์, 2537) ่ ้ ศัตรูทสำคัญของบุกคือราเม็ดผักกาด (Sclerotium sp.) ทีทำให้กานใบและหัวเน่ามีแบคทีเรียบางชนิด ่ี ่ ้ ได้แก่ Ralstonia sp. ทีทำให้เกิดโรคเน่าเช่นเดียวกัน นอกจากนียงมีเพลียแป้ง (mealybuck) และเพลียหอย (Scale ่ ้ั ้ ้ insect) ดูดน้ำเลียงจากผลและหัวทำให้หวฝ่อ แมลงบางชนิดกัดกินลำต้นและใบ เช่น หนอนผีเสือหัวกะโหลก ้ ั ้ เป็นต้น (ภาพที่ 13) พันธุบกในประเทศไทย 15 ์ ุ
  • 23. 13a ดักแด้และหนอนผีเสือหัวกระโหลก ้ 13b หนอนผีเสือหัวกระโหลก ้ 13c หนอนผีเสือหัวกระโหลก ้ 13d เพลียแป้ง ้ 13e เพลี้ยหอย ภาพที่ 13 แมลงศัตรูบก ุ พันธุบกในประเทศไทย 16 ์ ุ
  • 24. การรวบรวมบุกในประเทศไทย ในอดีตได้มการสำรวจและรวบรวมบุกในประเทศไทยโดยนักพฤกษศาสตร์ชาวไทยและ ชาวต่างชาติ ี พบว่ามีบก 46 ชนิด (ตารางที่ 1) (เต็ม, 2544 และ Hetterscheid & Ittenbach, 1996) โดยเก็บตัวอย่างแห้ง ุ บางส่วนไว้ทหอพรรณไม้ กรมป่าไม้ และพิพธภัณฑ์พชกรุงเทพฯ กรมวิชาการเกษตร ในปี พ.ศ.2540 นักวิจย ่ี ิ ื ั ของกองพฤกษศาสตร์และวัชพืช กรมวิชาการเกษตร ได้ทำการสำรวจและรวบรวมตัวอย่างบุกจากแหล่งต่างๆ ในประเทศไทยและนำส่วนทีขยายพันธุได้ คือ หัวใต้ดน หัวบนใบ หน่อ เหง้า และเมล็ด มาเพาะเลียงอนุบาล ่ ์ ิ ้ ในโรงเรือนเพาะชำ เพือขยายพันธุและศึกษาลักษณะสำคัญทางพฤกษศาสตร์ จนครบวงจรชีวตซึงใช้เวลานาน ่ ์ ิ ่ หลายปี จากการศึกษาวิจยพบว่านอกจากบุกจะมีวงจรชีวตแตกต่างจากพืชอืน คือ มีชวงการเจริญเติบโตทางลำต้น ั ิ ่ ่ และออกดอกต่างปีกน ดังได้กล่าวแล้วบุกส่วนใหญ่ยงมีความแปรปรวนและความหลากหลายทังลักษณะ รูปพรรณ ั ั ้ สัณฐาน สีและลวดลายของลำต้นหรือก้านใบตังแต่เป็นต้นอ่อน จนถึงต้นทีเจริญเติบโตเต็มที่ รูปแบบการแตก ้ ่ แขนงย่อยของก้านใบลักษณะและสีของช่อดอกส่วนของจะงอยเกสรเพศผู้ เกสรเพศผู้ ส่วนของเกสรเพศผูเ้ ป็นหมัน เกสรเพศเมีย และรังไข่กมความแตกต่างกันแม้ในบุกชนิดเดียวกันก็ตาม ซึงปัจจุบนยังไม่มการศึกษาถึงปัจจัย ็ ี ่ ั ี ต่างๆ ทีมผลต่อการเจริญเติบโตรวมทังความแตกต่างและความหลากหลายของลักษณะต้นและดอก ทำให้ไม่ ่ ี ้ มีผู้ใดรู้สาเหตุและสามารถให้คำตอบในเรื่องนี้ได้แน่ชัดจากการสำรวจ และรวบรวมบุกจากแหล่งต่างๆ ใน ประเทศไทยมากกว่า 500 ตัวอย่าง ขณะนีสามารถจำแนกชนิดและชือวิทยาศาสตร์ ได้ทงหมด 10 ชนิด (ตารางที่ 2) ้ ่ ้ั โดยบุกแต่ละชนิดจะมีลกษณะสำคัญทางพฤกษศาสตร์บางประการทีแตกต่างกันอย่างชัดเจน (ตารางที3) และ ั ่ ่ จากข้อมูลเหล่านีสามารถนำไปจำแนกรูปวิธานของบุกได้ 10 ชนิด (ตารางที่ 4) ้ 1 F F 1. A. aberrans Hett. 2. A. albispathus Hett. 3. A. amygdaloides Hett. & M. Sizemore 4. F A. asterostigmatus Bogner & Hett. 5. A. atrorubens Hett. & M. Sizemore 6. A. atroviridis Hett. พันธุบกในประเทศไทย 17 ์ ุ
  • 25. ตารางที่ 1 (ต่อ) F F 7. A. boycei Hett. F 8. A. brevispathus Gagnepain 9. F A. bulbifer (Roxb.) Bl. 10. A. carneus Ridl. F F 11. A. cicatricifer Hett. 12. A. cirrifer Stapf. 13. A. corrugatus N.E.Br. 14. A. curvistylis Hett. 15. A. echinatus Bogner & Mayo 16. A. elatus Ridl. F F 17. A. elegans Ridl. F F 18. A. erubescens Hett. 19. A. excentricus Hett. F F 20. F A. haematospadix Hook. F F 21. F A. kachinensis Engl. & Gehrm. 22. F F A. koratensis Gagnepain 23. A. krausei Engl. 24. A. linearis Gagnepain 25. A. longituberosus Engl. & Gehrm. 26. F A. macrorhizus Craib 27. A. maxwellii Hett. 28. F A. muelleri Blume 29. A. napiger Gagnepain 30. A. obscurus Hett. & M.Sizemore 31. A. pachystylis Hett. พันธุบกในประเทศไทย 18 ์ ุ
  • 26. ตารางที่ 1 (ต่อ) F F 32. A. paeoniifolius (Dennst.) F F Nicolson 33. A. parvulus Gagnepain 34. A. polyanthus Hett. & M.Sizemore 35. F A. prainii Hook. f F F 36. A. putii Gagnepain 37. F A. pygmaeus Hett. 38. A. saraburiensis Gagnepain 39. A. saururus Hett. 40. A. scutatus Hett. & T.C. Chapman 41. A. sizemorei Hett. 42. A. sumawongii F (Bogner)Bogner 43. A. symonianus Hett. 44. A. tenuispadix Hett. 45. A. tenuistylis Hett. 46. F A. yunnanensis Engl. F : , 2544 , 2543 Hetterscheid, & Ittenbach, 1996 พันธุบกในประเทศไทย 19 ์ ุ
  • 27. 2 10 F F F ( ) A. corrugatus N.E.Br. . FF 900 1,300 A. kachinensis Engl. & Gehrm. F . F 1,100 1,600 A. krausei Engl. . F 450 600 . . A. longituberosus (Engl.) Engl. & Gehrm. . 190 450 . F . . A. macrorhizus Craib F . 190 450 . F . A. muelleri Blume . 300 750 . FF F A. napiger Gagnepain . 100 A. paeoniifolius (Dennst.) Nicolson 0 1,600 A. tenuistylis Hett. . 190 450 A. yunnanensis Engl. F . 800 1,000 F F F F F พันธุบกในประเทศไทย 20 ์ ุ
  • 28. 3 F 10 F F (Botanical character) (Inflorescence) F F F F (stamen) (tuber) (petiole) (bulbil) F F (fruit) (species) F F (spathe) (spadix) (peduncle) (appendix) F (sterile zone) A. corrugatus F F/ F F F F F F F F F F F F F F F F A. kachinensis F F F F F F F F F F F F F F ์ ุ F A. krausei / F F / F F F F/ / F F F F F พันธุบกในประเทศไทย 21
  • 29. 3 ( F ) F F (Botanical character) (Inflorescence) F F F F (stamen) (tuber) (petiole) (bulbil) F F (fruit) (species) F F (spathe) (spadix) (peduncle) (appendix) F (sterile zone) A. longituberosus F / F / F F F F F F F F F F A. macrorhizus F F F F F F F F F F F F F F F F F / F F F F ์ ุ F F F A. muelleri / F F F F F F / F F F พันธุบกในประเทศไทย 22
  • 30. 3 ( F ) F F (Botanical character) (Inflorescence) F F F F (stamen) (tuber) (petiole) (bulbil) F F (fruit) (species) F F (spathe) (spadix) (peduncle) (appendix) F (sterile zone) A. napiger F F F F F F F F F A. paeoniifolius / F F F / F F F F F F F F F F F A. tenuistylis F F F F F ์ ุ F F A. yunnanensis F F F F F F F F F / F F F F F F F F F พันธุบกในประเทศไทย 23 F
  • 31. ลักษณะสำคัญทางพฤกษศาตร์ของบุก 10 ชนิด 1. A. corrugatus N.E. Br. ชือพ้อง : ่ Thomsonia sutepensis S.Y. Hu. ชื่อไทย : บุกเขา ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ หัว กลมแป้น สีนำตาล เส้นผ่าศูนย์กลาง 5-15 เซนติเมตร ้ ใบ เป็นใบเดียว ก้านใบ ยาว 10-95 เซนติเมตร ผิวเรียบเกลียง สีกานใบ เป็นสีขาวขุน เขียวอ่อน ่ ้ ้ ่ เหลืองนวล มีลวดลาย เป็นวงรีขนาดเล็กและขนาดใหญ่ สีเขียวเข้ม และน้ำตาลปนม่วงห่างๆ หรือซ้อนกัน หรือมี จุดเล็กๆ กระจายทัวใบ รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ปลายใบเรียวแหลม ตรงโคนใบมีครีบเป็นแผ่นยาว ่ ดอก เป็นช่อดอก ก้านช่อดอกยาว 10–70 เซนติเมตร สีเหมือนก้านใบ กาบหุม ช่อดอก ยาว 7-24 ้ เซนติเมตร รูปไข่ รูปรีแกมรูปไข่ ปลายกาบเว้าแหลมหรือป้าน และเปิดกว้างเกือบถึงโคน สีกาบหุมช่อดอก ้ ด้านนอก สีเหลืองอ่อนสีเขียวปนเทาหรือขาว สีนำตาลปนแดง มีจดสีนำตาลปนม่วงกระจายทัว ขอบใกล้โคนมีสมวงแดง ้ ุ ้ ่ ี่ สีกาบหุ้มช่อดอกด้านใน สีเขียวอ่อนสีม่วงแดงอมชมพูตรงใกล้โคน ช่อเชิงลดมีกาบยาว 9-15 เซนติเมตร สันกว่ากาบหุมช่อดอก จะงอยเกสรเพศผูรปไข่ ผิวมีรองหยักลึกคล้ายสมอง ้ ้ ู้ ่ ผล ลักษณะผลรูปไข่ ค่อนข้างกลม ส่วนล่างของผลสีเขียวสดและเป็นสีแดงเมือผลแก่ (ภาพที่ 14) ่ (ทิพวัลย์, 2546 และ Hetterscheid & Ittenbach, 1996) แหล่งทีเก็บตัวอย่าง ่ จังหวัดแม่ฮองสอน ่ การแพร่กระจาย ภาคเหนือของไทย และตอนเหนือของพม่า การใช้ประโยชน์ หัวนำไปแกง นึงรับประทานกับมะพร้าวและน้ำตาล นำไปเชือมคล้ายมันหรือเผือกเชือม ทำแกงบวด ่ ่ ่ และนำไปแปรรูปเป็นแป้งหรือวุนบุก หรือทำเป็นผลิตภัณฑ์อาหารอืน ้ ่ พันธุบกในประเทศไทย 24 ์ ุ
  • 32. 14a หัว 14b ใบ 14c ดอก 14d จะงอยเกสรเพศผู้ 14e จะงอยเกสรเพศผู้ เกสรเพศผู้ 14f ผล และเกสรเพศเมีย ภาพที่ 14 A. corrugatus N.E. Br. พันธุบกในประเทศไทย 25 ์ ุ