SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
การปลูกปาชายเลนในประเทศไทย

เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ               :       978-974-286-612-9
พิมพครั้งที่ 1                           :       มีนาคม 2552
จํานวน                                    :       1,000 เลม

จัดทําโดย
สวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2
เลขที่ 222 หมูที่ 5 ตําบลอาวนาง อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000
โทรศัพท / โทรสาร 0 7563 7514

ที่ปรึกษา                ชากรี รอดไฝ      ผูอํานวยการสวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2

เรียบเรียง               เรวดี กรประชา

ขอมูลและภาพ             เรวดี กรประชา
                         ธนากร ศรีสุรักษ
                         แสงสุรี ซองทอง
                         วรรณวิภา คงเจริญ

พิมพที่                 บริษัทหาดใหญเบสเซลส แอนด เซอรวิส จํากัด
                         92/6 ถนนเสนหานุสรณ ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90100
                         โทร. 074-355315 – 6 โทรสาร 074-355316
                         E – mail : hatyaibss@hotmail.com
“ควรจะปลูกตนไมลงในใจคนเสียกอน
แลวคนเหลานั้นก็จะพากันปลูกตนไมลงบนแผนดิน
          และรักษาตนไมดวยตัวเอง”

                         พระราชดํารัส
                 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ
                                       




                                                1
ประวัติการปลูกสรางสวนปาชายเลน
          การจัดการป าไมของประเทศไทยเริ่ มขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกลา เจา อยูหัว ไดทรง
สถาปนากรมปาไมขึ้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน ร .ศ.115 (พ.ศ. 2439) โดยใหอยูในสังกัดกระทรวงมหาดไทยนั้น
รัฐบาลได อาศัยยืมตัวเจาหนาที่ปาไมอังกฤษจากรัฐบาลอินเดีย มาชวยบริหารราชการปาไมในฐานะเจากรม
ระหวางป พ .ศ.2439 ถึง พ.ศ. 2466 งานในระยะแรกของกรมปาไมเปนงานดานการเก็บภาษีปาไม ดังความ
ตอนหนึ่งในหนังสือเสนอเรื่องตอรัฐบาล ของ มร. ทอทเทแฮม “งานของกรมปาไมในระหวางหาปที่แลวมา
เกือบจะจํากัดอยูแตกับการเก็บภาษี สํารวจ และตรวจสอบงานปาไม              งานที่สําคัญกวาในแงของการ
ปรับปรุงสงเสริม เชน การปองกันไฟ การสงวนปา การตัดเถาวัลย แผวถางวัชพืชใหกลาไมสัก งานเตรียมการ
วางโครงการปาไม การจัดระบบแผวถางปาในควนที่เขา การปลูกสรางสวนปา ฯลฯ กลับไมไดรับความสนใจ
แตอยางใด”
                  งานดานการปลูกสรางสวนปาเริ่มขึ้นเปนครั้งแรกที่ปาแมปาน อําเภอสูงเมน จังหวัดแพร
แตสวนปาที่ทาการปลูกในระยะนี้ไมปรากฏหลักฐานในปจจุบัน จากการตรวจสอบสวนปาของกรมปาไมในป
              ํ
2496 ตามหลักฐานที่มีอยูในขณะนั้น ปรากฏจากที่ไดสอบถามราษฎรในทองที่วาสวนสักเดิมนั้นมีอยูจริง แต
ถูกทําลายไปแลวในระยะสงครามโลกครั้งที่สอง
          การปลูกบํารุงปาไมที่มีหลักฐานบันทึกแนนอนเริ่มขึ้นในป 2475 มีบันทึกวาจนถึงปนี้มีสวนปาที่ทํา
ขึ้นรวม 45 แปลง เปนพื้นที่ประมาณ 3,186 ไร เปนไมสัก 2,947 ไร ไมโกงกาง 190 ไร ไมหลุมพอกับไมสัก
40 ไร และไมพยุง 9 ไร ในป 2476 มีการปลูกไมตะเคียน หลุมพอ โกงกาง แสม สัก นาคบุตร และจาก
ในทางภาคใตเพิ่มขึ้น ประมาณ 51 ไร แตสวนปาที่มีบบันทึกเปนหลักฐานแนนอนเฉพาะสวนสัก ไม มี
หลักฐานแนนอนเกี่ยวกับสวนไมกระยาเลย
          การปลูกสรางสวนปาชายเลนที่มีบันทึกหลักฐานแนนอนคือการปลูกบํารุงปาไมของกรมปาไมในสมัย
พระยาพนานุจร เปนเจากรมปาไม (พ.ศ. 2478-2484) การปลูกสรางสวนปาเปนหนาที่ของปาไมภาคเปน
ผูดําเนินการ สวนไมกระยาเลยนั้นมีท้งปาบกและปาเลนดังนี้
                                       ั
          2482 สวนปากน้ําเวฬุ จันทบุรี
          2483 สวนปากน้ําประแส ระยอง สวนคลองชายสูง ระยอง สวนทองอาว ตราด สวนคลอง
                  นางรม ประจวบคีรีขันท
          2484 สวนดอกมะกอก ระยอง สวนเกาะกลาง ตรัง สวนเกาะหาดกุระ ตรัง สวนเกาะกา ตรัง
                  สวนหนองแก ประจวบคีรีขันท สวนชะอํา เพชรบุรี
          2485 สวนปากทะเล เพชรบุรี (กรมปาไม,2523)1


1
    กรมปาไม. 2523. ประวัติและผลงานของกรมปาไมครบรอบ 84 ป พ.ศ. 2439-2523 นโยบายและการบริหารงานปาไม. กรมปาม ,
     กรุงเทพ.

2
การจัดการปาชายเลนในอดีตยังมิไดมีการวางโครงการเปนการถาวรเทาใดนักเปนเพียงโครงการ
ชั่วคราวที่มีการอนุญาตใหแกรายยอยเปนปๆไประบบวนวัฒนวิธีก็ยังมิไดมีการกําหนดใหใชแนนอน
           พ.ศ. 2504 กรมปาไม โดยแผนกงานแผนการกองโครงการ ไดทําการปรับปรุงหลักเกณฑการทําไม
ปาชายเลน และใหทําการสํารวจจัดวางโครงการปาชายเลนใหเปนรูปแบบเดียวกันทั้งหมด ระบบวนวัฒนวิธี
ที่ใช คือ Shelterwood with Minimum Girth Limit ตอมาไดมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.
2509 ใหเปลี่ยนแปลงนโยบายการทําไมปาชายเลนจากวิธียอย และการอนุญาตแบบผูกขาดมาเปนการ
อนุญาตโดยวิธีสัมปทานระยะยาวตามโครงการ 15 ป ปาโครงการแตละโครงการจะทําการแบงออกเปน 15
แปลงตัดฟน ใหทําไมปละ 1 แปลง ตามระบบตัดหมดในแนวสลับ (Clear Felling in Alternate Srips)
                         
           เพื่อใหการจัดการปาชายเลนที่ใหสัมปทานไปนั้นถูกตองตามหลักวิชาการ และ ควบคุมการ
ปฏิบัติงานใหเปนไปตามเงื่อนไขสัมปทาน กรมปาไมจึงไดของบประมาณจัดตั้ง หนวยควบคุมปาเลน เพื่อ
ดําเนินการจัดการปาชายเลนตลอดจนควบคุมการปฏิบัติงานตาง ๆ ของผูรับสัมปทาน โดยในป พ.ศ. 2511
ไดรับงบประมาณจัดตั้งหนวยควบคุมปาเลนขึ้นจํานวน 5 หนวย ตอมาใน พ.ศ. 2512-2514 ไดรับงบประมาณ
ใหจัดตั้งหนวยเพิ่มขึ้นปละ 10 หนวย ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นครบตามโครงการรวม 34 หนวย (ในปจจุบัน มี 40 หนวย)
แตละหนวยควบคุม ปาชายเลนโครงการประมาณ 10 โครงการ
           พ.ศ. 2532 ไดมีการจัดตั้งฝายจัดการปาชายเลนขึ้นใหม สังกัดกองจัดการปาไม พ.ศ. 2534 มีการ
จัดตั้งศูนยผลิตเมล็ดพันธุไมปาชายเลน จํานวน 4 ศูนย พ.ศ. 2536 ยุบกองจัดการปาไมและกรมปาไมไดแบง
หนวยงานในสํานักวิชาการ ปาไมออกเปนสวน ๆ แตละสวนจะประกอบดวยกลุมตาง ๆ กลุมวิจัยปาชายเลน
สังกัดสวนวิจัยเศรษฐกิจและพัฒนาการจัดการปาไม สํานักวิชาการปาไม
           พ.ศ. 2545 รัฐบาลไดปฏิรูประบบราชการจึงไดมีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.
2545 มาตรา 5 ใหมีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาตรา 22 กําหนดอํานาจหนาที่เกี่ยวกับ
การอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาตรา 23 กําหนดใหกรมทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝงเปนสวนราชการหนึ่งของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม งานดานการบริหารจัดการ
ทรัพยากรปาชายเลนถูกโอนจากกรมปาไมมาอยูในกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง
           เนื่องจากในการจัดการปาชายเลน นอกจากกิจกรรมการทําไมแลว ยังมีกิจกรรมดานการปลูกสราง
สวนปาชายเลน และการอนุรักษและปองกันรักษาปาชายเลนเปนหลักเพื่อทดแทนสภาพปาที่ถูกบุกรุกอยาง
รุนแรงโดยกิจการทํานากุง การปลูกสรางสวนปาชายเลนแยกการดําเนินงานตามผูดําเนินการ ดังนี้ (1) การ
ปลูกสรางสวนปาโดยใชงบประมาณแผนดิน (2) การปลูกปาชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี (3) การปลูกปา
ชายเลนตามโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ (4) โครงการฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน เพื่อ
ลดภาวะโลกรอน โดยมีเนื้อที่ปาชายเลนเกิดขึ้นจากการปลูกปาโดยภาครัฐทั้ง 4 โครงการ รวม 169,383 ไร
(5) การปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ (6) การปลูกปาชายเลนโดยภาคเอกชน
(7) การปลูกปาชายเลนโดยภาครัฐรวมเอกชน (8) การปลูกปาชายเลนจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ


                                                                                                        3
การปลูกสรางสวนปาชายเลนโดยใชเงินงบประมาณแผนดิน

         กรมปาไมไดดําเนินการมานานแลวในทองที่จังหวัดจันทบุรี ในบริเวณพื้นที่ปาที่เสื่อมโทรม โดย
ดําเนินการปลูกไมโกงกางเพื่อเปนการทดลองปลูกในเนื้อที่เพียงเล็กนอย และไมมีโครงการที่จะปลูกติดตอกัน
มาทุกป เนื่องจากในขณะนั้นทางรัฐบาลสงเสริมการปลูกสรางสวนปาไมสักหรือไมปาบก ไมมีงบประมาณ
โดยตรงมาใชในการปลูกปาชายเลน ซึ่งตอมาแมวาจะมีการปลูกเพิ่มขึ้นในทองที่จังหวัดอื่นดวย แตก็
ดําเนินการเพียงพื้นที่เล็กนอย ไมที่ปลูกสวนใหญเปนไมโกงกาง ไมโปรง สวนไมถั่วปลูกบางแตเปนสวนนอย
การปลูกปาชายเลนที่ผานมาเพียงปลูกเพื่อฟนฟูสภาพปาในบริเวณที่เสื่อมโทรมเทานั้น ยังไมมีแผนการ
จัดการที่จะนําไมออกมาใชประโยชนแตอยางใด เนื้อที่สวนปาชายเลนที่ไดดําเนินการปลูกโดยใชเงิน
งบประมาณแผนดิน ตั้งแต พ.ศ. 2482 จนถึง พ.ศ. 2534 ที่ดําเนินการทั้งสิ้นประมาณ 56,660 ไร




4
การปลูกปาชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี

           การปลู ก ป า ชายเลนของกรมป า ไม เ ริ่ ม กระทํ า กั น อย า งต อ เนื่ อ ง และได รั บ การสนั บ สนุ น ด า น
งบประมาณอยางเต็มที่ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2534 กําหนดระยะเวลาการ
ดําเนินงานไว 5 ป ตั้งแต พ.ศ. 2535 - 2539 กําหนดเปาหมายในสวนที่เปนการปลูกปาชายเลนไว 250,000 ไร
ในพื้นที่ที่มีสภาพปาเสื่อมโทรม และพื้นที่ดินเลนงอกใหม ที่มีศักยภาพในการปลูกปาแลวไดผล โดยมีศูนย
ผลิตเมล็ดพันธุไมปาชายเลน จํานวน 4 ศูนย การปลูกปาชายเลนตามโครงการพัฒนาพื้นที่ปาชายเลนเขต
อนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรีซึ่งดําเนินการตั้งแตป 2535 – 3539 ในทองที่ 15 จังหวัด ไดเนื้อที่ปาชายเลน
ทั้งสิ้น 81,377 ไร




                                                                                                                       5
การปลูกปาชายเลนโดยภาคเอกชน

         การปลูกสรางสวนปาชายเลนหรือสวนปาไมโกงกางโดยเอกชน อยูในบริเวณชายฝงทะเลกนอาวไทย
ในทองที่จังหวัดเพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรปราการจนถึงชลบุรี ซึ่งสวนใหญเปนการปลูกสรางสวนปาไม
โกงกางเปนอาชีพในครัวเรือนในที่ดินกรรมสิทธิ์ซึ่งเปนมรดกตกทอดตอๆ กันมา จากการสอบถามประวัติ
ความเปนมาของราษฎรบางรายในทองที่บานตะบูนอําเภอบานแหลมจังหวัดเพชรบุรีและที่บานยี่สาร อําเภอ
อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งไดเริ่มปลูกปาไมโกงกางใบเล็กเพื่อเผาถานและทําไมฟนมาตั้งแตป พ.ศ.
2480 และมีราษฎร รายอื่นๆ ทําตามติดตอกันมาจนถึงปจจุบันโดยจํานวนเนื้อที่ที่แทจริงของสวนปาไม
โกงกางที่ราษฎรไดปลูกขึ้นที่บานยี่สาร อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีเนื้อที่ประมาณ 16,000 ไร โดย
ดําเนินการอยูหลายเจาของและใชประโยชนไมจากสวนปาที่ปลูกในการเผาถานเปนสวนใหญ แตขณะนี้ไดมี
การเปลี่ยนแปลงพื้นที่สวนปาดังกลาวทําเปนนากุงไปเปนจํานวนมากแลว

         การเผาถานไมโกงกางที่บานยี่สารตองใชไมสดเปนจํานวนมากกวาจะไดไมเตาหนึ่งจะตองตัดไม
เปนจํานวนมหาศาล ตนโกงกางที่จะตัดมาเผาถาน อายุ 12 – 15 ป ลําตนจะสูงประมาณ 5 - 6 วา มีคน
รับจางไปตัดฟนเอาทั้งรากทั้งโคนและกิ่งกานสาขา สวนลําตนจะตัดทอนออกเปนไมหลายาว 1.30 เมตร สวน
อื่นเอาเปนเชื้อเพลิงเผาถาน การเรียงไมหลาเขาเตาใหเต็มทั้งไมตั้งและไมซอน 1 เตา ใชจํานวนไมทั้งหมด
ประมาณ 10,000 ถึง 12,000 ทอน เปนน้ําหนักประมาณ 20 ตัน หรือ 20,000 กิโลกรัม เผาแลวจะไดถาน
4,500 ถึง 5,000 กิโลกรัม ราคาจําหนายปลีกถานไมโกงกางบรรจุถุง ถุงละ 2 กิโลกรัม ราคา 50 บาท

        ปาชายเลนที่ยี่สารเปนสวนปาของเอกชน มีโฉนดที่ดินไมใชปาสัมปทานหรือปาสงวน เมื่อไมในปาโต
ใชการได ก็จะตัดฟนและปลูกทดแทน ปญหาในการตัดไมทําลายปาจึงไมเกิดขึ้น (ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัตน
,2551)2




2
    ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัตน. 2551. ถานไมโกงกาง ที่ยี่สาร ชุมชนโบราณแมกลอง. หนังสือพิมพไทยรัฐ ฉบับวันที่ 27
    กรกฎาคม 2551

6
การปลูกปาชายเลนภาครัฐรวมเอกชน

         ปจจุบันการบริหารจัดการทรัพยากรโดยประชาชนมีสวนรวมเปนเรื่องที่รัฐใหความสําคัญ การปลูก
ปาชายเลนภาครัฐรวมเอกชนในปจจุบันมีทั้งรูปแบบที่เปนงบประมาณของรัฐแลวขอความรวมมือประชาชน
ในการเขารวมกิจกรรมเพื่อประโยชนในการสรางความรูสึกรักและหวงแหนธรรมชาติใหกับประชาชนที่เขารวม
กิจกรรมกับรัฐ เพราะการปลูกปาชายเลนถือเปนการฟนฟูอยางหนึ่ง แตการฟนฟูที่ยั่งยืนยิ่งกวาก็คือการให
การศึกษาใหชาวบานไดเขาใจถึงประโยชนของปาชายเลน และรูปแบบที่เอกชนมีงบประมาณและประสงคจะ
สนับสนุนการปลูกปาชายเลนแลวรัฐเปนฝายอํานวยความสะดวกในการคัดเลือกพื้นที่ สนับสนุนกลาไมใหกับ
เอกชน ซึ่งเอกชนที่ใหความรวมมือในการปลูกปาชายเลนกับภาครัฐนั้นมีเอกชนทั้งในและตางประเทศ
         สําหรับ ตางประเทศนั้ น การปลูกปา ประชาอาสาไทย-ญี่ปุน มีมาตั้ งในอดี ต นอกจากนี้ยั งมีก าร
สนับสนุนงบประมาณดานการวิจัยเรื่องการฟนฟูพื้นที่เสื่อมโทรม การแกปญหาการกัดเซาะชายฝง ฯลฯ ซึ่ง
หนังสือเลมนี้ไดนําเสนอตัวอยางแปลงปลูกปาชายเลนที่เกิดจากการสนับสนุนเงินทุนและนักวิจัยมารวมกับ
นักวิจัยชาวไทยในการปลูกปาชายเลนเพื่อแกปญหาพื้นที่เสื่อมโทรมจากการทํานากุงและปญหาการกัดเซาะ
ชายฝงในจังหวัดนครศรีธรรมราชไวจํานวน 2 แปลง




                                                                                                     7
การปลูกปาชายเลนตามโครงการปลูกปาชายเลนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
เนื่องในวโรกาสครองราชยปที่ 50

         พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชไดทรงพระราชทานพระราชดําริเปนอเนกประการใน
การทํานุบํารุงสิ่งแวดลอม และทรัพยากรปาไมของประเทศทรงพระราชทานพระราชดําริการพัฒนาดาน
ตางๆ ควบคูกับการอนุรักษเสมอดวยการทรงจัดการใชทรัพยากรสิ่งแวดลอมใหเกิดประโยชนแกพสกนิกร
มากที่สุด ประกอบกับสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงหวงใยปญหาปาไมที่ถูกบุกรุกทําลาย และ
ทรงกรุณาโปรดเกลาฯ ใหทานผูหญิงสุประภาดา เกษมสันต ราชเลขานุการในพระองค อัญเชิญพระราชกระแส
มายั ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ ต ามหนั ง สื อ สํ า นั ก ราชเลขาธิ ก าร ที่ รล 0009/11951 ลงวั น ที่
29 ธันวาคม 2535 ใหหามาตรการยับ ยั้งการทํ าลายปา และเรง ฟนฟู สภาพตน น้ําลํา ธาร โดยทรงโปรด
พิจารณาปญหาการขาดแคลนน้ํา ซึ่งเปนปญหาใหญของชาติที่จะตองเรงแกไขโดยดวนที่สุด

         กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไ ด น อ มอั ญ เชิ ญ พระราชกระแสของสมเด็ จ พระนางเจ า
ฯ พระบรมราชินีนาถ มาเปนแนวทางในการดําเนินการฟนฟูสภาพปาไม เพื่อใหสภาพปาที่เสื่อมโทรมได
กลับคืนสภาพโดยรวดเร็ว โดยไดหารือทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ที่จะใหคนในชาติทุกหมูเหลา ทุกสาขา
อาชีพไดรวมกันปลูกปาสนองพระราชกระแสของ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถและนอมเกลาฯ
ถวายเป น สั ก การะ เนื่ อ งในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงครองราชย ป ที่ 50 ใน
ป พ.ศ. 2539 กระทรวงเกษตรและสหกรณจึงไดจัดทําโครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ า อยู หั ว เนื่ อ งในวโรกาสทรงครองราชย ป ที่ 50 ขึ้ น ระยะที่ 1 มี ระยะเวลาดํ าเนิ นงานตามโครงการฯ 3 ป
(พ .ศ .2537–พ .ศ .2539) ระยะที่ 2 มี ระยะเวลาดํ าเนิ นงาน ต า ม โ ค ร ง ก า ร ฯ 6 ป (พ .ศ .2540-พ .ศ .
2545) และในระยะที่ 3 มีระยะเวลาดําเนินงานตามโครงการฯ 5 ป (พ.ศ.2546–พ.ศ.2550) โดยมี
วัตถุประสงค คือ
     1. ดําเนินการปลูกปาในพื้นที่เขตอนุรักษใหครบตามเปาหมาย จํานวน 5 ลานไร
     2. เพื่อเปนการสนองพระราชดําริดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
     3. เพื่อเพิ่มพื้นที่ปาของประเทศใหบรรลุผลตามนโยบายของรัฐบาล
     4. เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกใหคนในชาติมีใจรักตนไม รักปาไม และหวงแหนทรัพยากรปาไม โดยมีการ
         รณรงค และการมีสวนรวมของทุกสวนในการแกปญหาภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น




8
การปลูกปาชายเลนตามโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ในวโรกาสทรงพระชนมายุ 72 พรรษา

           โครงการปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ เปนโครงการสําคัญของกรมทรัพยากรปาชายเลน
ทางทะเลและชายฝง โดยสํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลนเริ่มจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2545 มีวัตถุประสงคเพื่อ
สนองแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจา
สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในการอนุรักษปาชายเลนฟนฟูทะเลไทยใหกลับคืนความอุดมสมบูรณ และมี
ศักยภาพในการอํานวยผลผลิตสัตวน้ําอยางยั่งยืน รวมทั้งเกื้อกูลตอการเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
และรักษาสภาพแวดลอมของระบบนิเวศปาชายเลน ระบบนิเวศชายฝง และระบบนิเวศทางทะเลใหเปนไป
อยางสมดุล โดยรณรงคและสงเสริมใหประชาชนทุกหมูเหลารวมกันฟนฟูปาชายเลนที่เสื่อมโทรมใหกลับคืน
ความอุดมสมบูรณ ใหชุมชนในทองถิ่นที่อาศัยอยูรอบพื้นที่ปาชายเลนอยางยั่งยืนตอไป อีกทั้งเปนการเฉลิม
ฉลองเทิดพระเกียรติถวายเปนราชสักการะในวโรกาสมงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา ดวย
           กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดดําเนินการปลูกปาชายเลนตามโครงการปลูกปาถาวรเฉลิม
พระเกียรติฯ ตั้งแตป 2545 – 2551 ไดเนื้อที่สวนปาชายเลนที่ไดดําเนินการปลูกเสร็จแลวทั้งสิ้น 24,346 ไร




                                                                                                       9
การปลูกปาชายเลนในอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิริรธร จากพระราชดําริในสมเด็จพระเทพ
รัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
           การฟนฟูระบบนิเวศปาชายเลนในอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร เริ่มตนเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม
พ.ศ. 2537 จากพระราชดําริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใหจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสม
เพื่อทดลองปลูกและฟนฟูสภาพปาชายเลน ซึ่งการฟนฟูสภาพปาชายเลนในอุทยาน ฯ แบงออกเปน 3 ระยะ
รวมพื้นที่ที่ปลูกไปแลวจํานวน 140 ไร โดยทําการฟนฟูบริเวณคลอง 2 คลองไดแก คลองบางตรานอย และ
คลองบางตราใหญ ซึ่งรับน้ําจืดจากลุมน้ําหวยใหญ ไหลลงทะเลบริเวณทางดานทิศเหนือและทิศใตของ
อุทยาน ฯ เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลน้ําทะเลขึ้นสูงสุด เกิดเปนระบบนิเวศน้ํากรอย
           การฟนฟูปาชายเลนระยะที่ 1 ปลูกบริเวณพื้นที่คลองบางตรานอยและคลองบางตราใหญ มีเนื้อที่
ประมาณ 80 ไร และ 30 ไร ตามลําดับ ประกอบดวยพันธุไมปาชายเลนจํานวน 32 ชนิด (เมื่อวันที่ 17
สิงหาคม พ.ศ. 2537 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงปลูกตน
โกงกางใบใหญทั้งสองบริเวณ) ซึ่งกอนการปลูกปาชายเลนมีการขุดลอกตะกอนทรายที่ทับถมบริเวณปาก
แมน้ําทั้ง 2 คลอง เพื่อใหปาชายเลนที่ปลูกไดรับอิทธิพลจากน้ําขึ้นน้ําลงได
           การฟนฟูปาชายเลนระยะที่ 2 ปลูกบริเวณพื้นที่สวนแยกคลองบางตรานอย มีเนื้อที่ประมาณ 30 ไร
ประกอบดวยพันธุไมปาชายเลนจํานวน 22 ชนิด (เมื่อ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
ฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดําเนินทรงปลูกตนโกงกางใบใหญ) (อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร,
2552)3




3
    อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิริธร. 2552. การฟนฟูระบบนิเวศปาชายเลน. เอกสารเผยแพรของอุทยานสิ่งแวดลอมฯ

10
การปลูกปาชายเลนในโครงการฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน เพื่อลดผลกระทบจากภาวะโลกรอน

          กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดจัดทําโครงการฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน เพื่อลดผลกระทบ
จากภาวะโลกรอน ตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2551 และ 1 เมษายน 2551 ใหดําเนิน
โครงการเตรียมรับ มือ กั บการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศ และคุณ ภาพสิ่งแวดลอ มตามนโยบายของ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
          จากขอมูลการจําแนกการใชประโยชนที่ดินปาชายเลน พ.ศ. 2543 พบวาปาชายเลนถูกเปลี่ยน
สภาพไปใชประโยชนตามวัตถุประสงคตางๆ มากมาย แตที่มีจํานวนมากที่สุดคือ การเปลี่ยนแปลงเปนพื้นที่
เพาะเลี้ยงสัตวนํ้าในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีพื้นที่ครอบครองทําประโยชนของราษฎรโดยไมมีเอกสารสิทธิ์
ถึง 61,730 ไร พื้นที่ขออนุญาตใชประโยชน จํานวน 4,165 ไร จากพื้นที่ปาชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี
จํานวน 137,686 ไร ปจจุบันมีพื้นที่ปาชายเลนคงสภาพ จํานวน 71,791 ไร
          สภาพปญาหาในพื้นที่ที่เกิดขึ้นคือราษฎรไมสามารถเขาพัฒนาปรับปรุงพื้นที่เพื่อประโยชนในการ
เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เนื่องจากเปนการกระทําผิดกฎหมาย สวนทางราชการไมสามารถเขาปรับปรุงฟนฟูสภาพ
ปาไดเชนกัน เนื่องจากถูกขัดขวางจากผูครอบครองพื้นที่ ทําใหทั้งราษฎรและราชการไมไดรับประโยชนสูงสุด
จากพื้นที่ดังกลาวมาเปนเวลานานกวา 30 ป
          การดําเนินโครงการฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน เพื่อลดผลกระทบจากภาวะโลกรอน ทางราชการโดย
สวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2 และหนวยราชการในพื้นที่ไดดําเนินการเจรจาจนไดขอสรุป
ระหวางราษฎรและทางราชการ คือ ใหทางราชการเขาดําเนินการปรับปรุงฟนฟูสภาพพื้นที่ครึ่งหนึ่ง และให
ราษฎรขออนุญาตเขาทําประโยชนเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําอีกครึ่งหนึ่ง ซึ่งตามขอตกลงดังกลาวไดรับความ
ยินยอมจากราษฎรบางสวน
          ผลการดําเนินโครงการสวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2 ไดดําเนินการปลูกฟนฟูปาชาย
เลนในป พ.ศ. 2551 ทั้งสิ้น 7,000 ไร ในทองที่ตําบลบางจาก ตําบลทาไร ตําบลปากนคร ตําบลทาซัก
ตําบลปากพูน อําเภอเมือง ตําบลปากพนังฝงตะวันตก ตําบลแหลมตะลุมพุก ตําบลคลองนอย อําเภอปาก
พนัง ตําบลทาศาลา อําเภอทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช




                                                                                                   11
การปลูกฟนฟูระบบนิเวศปาชายเลน (สนใจ หะวานนท,2552)4

        การปลูกปาชายเลนในปจจุบันมุงหวังที่จะฟนฟูระบบนิเวศปาชายเลนที่เสื่อมโทรมใหมีสภาพดีเพื่อให
เกิดความสมดุลของสภาพแวดลอมชายฝงทะเลมากยิ่งขึ้นการปลูกปาชายเลนเทาที่ผานมาสวนใหญจะใชไม
โกงกางเปนหลักเพราะเปนไมที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ และชวยในการพัฒนาสภาพแวดลอมไดดีการปลูกปา
ชายเลนใหไดผลดีควรคํานึงถึงปจจัยสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพพื้นที่และกาลเวลา อาทิเชน
สภาพภูมิประเทศ ชายฝงทะเล ภูมิอากาศ น้ําขึ้น - น้ําลง คลื่นและกระแสน้ํา ความเค็มของน้ําทะเล ปริมาณ
ออกซิเจนที่ละลายน้ํา คุณสมบัติทางเคมีและฟสิกสของดินและปริมาณธาตุอาหารตาง ๆ นอกจากนี้สัตวที่อยู
ในปาชายเลนและประชาชนที่อยูตามชายฝงก็มีสวนชวยใหเกิดปญหาในการปลูกปาชายเลนไดเหมือนกัน
          การที่จะปลูกปาชายเลนในสภาพพื้นที่ตาง ๆ ใหไดผลนั้นผูดําเนินการในพื้นที่จะตองนําความรูที่ได
จากการสั ง เกตุ แ ละศึ ก ษาทํ า ความเข า ใจในระบบนิ เ วศป า ชายเลนของพื้ น ที่ ป ลู ก มาใช เ ป น หลั ก ในการ
ดําเนินการปลูกโดยสังเกตุและศึกษากลุมของสังคมพืชที่ปรากฏอยูในสภาพธรรมชาติซึ่งปกติแลวพันธุไมปา
ชายเลนจะขึ้นอยูในลักษณะการแบงเขต (Zonation) ตามสภาพความเค็มของน้ําทะเลและความลาดชันของ
พื้นที่การปลูกเพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอมชายฝงทะเลเชนนี้จึงควรพิจารณาคัดเลือกพันธุที่มีอยูเดิมในสังคมพืชนั้น
เปนอันดับแรกโดยทั่วไปแลวพื้นที่ที่จะดําเนินการปลูกฟนฟูสภาพปาชายเลนมีลักษณะดังนี้




4
    สนใจ หะวานนท,2552. http://www.ds.ac.th/~mangrove/protection.html

12
พื้นที่ซึ่งเปนดินเลนงอกใหม (New mudflat area)
            เกิดจากการทับถมของตะกอนดินที่ไหลมาตามแมน้ําลําคลอง เชน อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎร
ธานี อาวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราชหรือเกิดจากการพังทลายของชายฝงทะเลในบริเวณอื่นแลว
กระแสน้ําหมุนเวียนพัดพาไปตกตะกอนในอีกพื้นที่หนึ่ง เชน หาดเลนงอกใหมในทองที่จังหวัดสมุทรสงคราม
และเพชรบุรีเกิดจากการพังทลายของชายฝงสมุทรสาคร กรุงเทพฯ สมุทรปราการ แลวกระแสน้ําพัดพาไป
ตกตะกอนในบริเวณดังกลาวโดยมีตะกอนที่ไหลมาตามแมน้ําลําคลองทับถมเพิ่มเติม

                                                   ปญหาการปลูกปาชายเลนบริเวณดินเลนงอกใหม
                                                               พื้นที่ซึ่งเปนดอนเลนงอกใหมยังเปนแหลงที่อยูอาศัย
                                             และแสวงหาอาหารของสัตวน้ําเปนจํานวนมาก ทําใหมีอวนรุนเขา
                                             มาจับสัตวน้ําอยูเสมอ ซึ่งนอกจากจะทําลายกลาไมที่ปลูกแลว ยัง
                                             ทําใหการตกตะกอนและยึดตัวของอนุภาคดินเปนไปไดชา ดังนั้น
                                             กอนการปลูกปาชายเลนในบริเวณนี้จึงควรจัดทําแนวรั้วกั้นการ
                                             เขาออกของเรือประมงไวเปนการลวงหนา และจะมีกลาไมเขามา
                                             สื บ พั น ธุ ต ามธรรมชาติ เ พิ่ ม เติ ม จนกลายเป น ป า ที่ ส มบู ร ณ ที่ มี
                                             ประโยชนในการอนุรักษสิ่งแวดลอมชายฝงไดในเวลาอันรวดเร็ว



                                                                                                                        13
พื้นที่ปาเสือมโทรมอันเนืองมาจากการตัดไม (Over cutting area)
             ่                      ่
          ในพื้ น ที่ เ ช น นี้ จ ะมี ไ ม ที่ มี คุ ณ ค า ทางเศรษฐกิ จ น อ ยเหลื อ อยู แ ละการสื บ พั น ธุ ต ามธรรมชาติ ไ ม ดี
เนื่องจากขาดแคลนแมไม สภาพสังคมพืชที่เคยเปนปาโกงกางขึ้นอยูในดินเลนออนอาจเปลี่ยนเปนไมถั่วซึ่งขึ้น
ไดดีในที่เปนดินเลนแข็ง เนื่องจากมีเรือนยอดปกคลุมพื้นที่หางๆ และมีการเขาไปเหยียบย่ําอยูเสมอ
นอกจากนี้ยงมีตะกอนดินเลนที่แขวนลอยอยูในน้ํามาทับถมเพื่อขึ้นอยูตลอดเวลาทําใหระดับพื้นดินสูงมากขึ้น
               ั

                                                      ปญหาการปลูกปาชายเลนในพื้นที่ปาเสื่อมโทรม
                                                                 การปลูก พัน ธุ ไ มล งในพื้น ที่ค วรสัง เกตปริ ม าณวั ชพื ช ที่
                                                      ขึ้นอยู หากเปนพื้นที่ซึ่งมีปรงหนูหรือปรงทะเล (Acrostichum sp.)
                                                      หรือพันธุไมอื่นๆ เชน เหงือกปลาหมอ (Acanthus sp.) ถอบแถบ
                                                      (Derris trifoliata) สักขี (Dalbergia cadenatensis) ขึ้นอยูทั่วไปใน
                                                      พื้นที่เหลานี้จะเปนดินเลนแข็งการปลูกไมโกงกางลงในที่วางจะ
                                                      เจริญเติบโตชา ชนิดไมที่ควรปลูกในพื้นที่เชนนี้ ไดแก ถั่วขาว
                                                      (Bruguiera cylindrica) พังกาหัวสุมดอกขาว (B. sexangula)
                                                      พั ง กาหั ว สุ ม ดอกแดง (B.             gymnorrhiza) ฝาดดอกแดง
                                                      (Lumnitzera littorea) ฝาดดอกขาว (L. racemosa) เปนตน
14
พื้นที่ที่ผานการทํานากุง (Abandoned shrimp farm area)
           
           ในพื้นที่ที่ผานการทํานากุงแบบดั้งเดิม เมื่อปลอยทิ้งรางจะทําใหอุณหภูมิของดินสูงขึ้น ปริมาณน้ําใน
ดินลดลง และปริมาณธาตุอาหารต่ํา จากการศึกษาพบวา อุณหภูมิของดินนากุงจะสูงกวาปาชายเลนปกติ
3.0-10.5 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ําในดินลดลง 77.4 - 83.3 % ปริมาณอินทรียวัตถุลดลง 3.5 - 11% แต
อยางไรก็ตาม ในพื้นที่นากุงรางแบบดั้งเดิมหนาดินสวนใหญยังคงอยูในสภาพเดิม และดินยังมีธาตุอาหาร
เพียงพอที่จะใชในการเจริญเติบโตของพืช จึงสามารถปลูกไมโกงกางใบเล็ก ถั่วขาว โปรงแดง ลงไปได



                                                        การปลูกปาชายเลนในพื้นที่นากุงราง
                                                                  ควรปลูกในชวงฤดูฝนหรือชวงที่มีน้ําทะเล
                                                         ทวมถึงในเวลากลางวัน ซึ่งในพื้นที่ปาชายเลน
                                                         บริเ วณชายฝง ทะเลอา วไทยจะอยู ใ นชว งระหวา ง
                                                         เดือนตุลาคม-กุมภาพันธ การปลูกในฤดูแลงและน้ํา
                                                         ลดในเวลากลางวัน จะทํ า ให กล า ไมที่ ป ลู กมี อัต รา
                                                         การรอดตายต่ํา



                                                                                                                   15
สวนปาโกงกางในประเทศไทย
           การปลูกฟนฟูปาชายเลนในประเทศไทยนั้นสวนใหญเปนการปลูกปาโกงกางทั้งโกงกางใบเล็กและ
โกงกางใบใหญ สวนพันธุไมปาชายเลนชนิดอื่นที่มีการปลูกนอยกวา ไดแก โปรงแดง ถั่วขาว พังกาหัวสุม
แสม ฯลฯ ระบบนิเวศปาชายเลนจะเปลี่ยนแปลงไปเมื่อสวนปาชายเลนมีอายุมากขึ้นทั้งทางดานโครงสราง
เชน องคประกอบชนิดพันธุ ความหนาแนน การปกคลุมเรือนยอด และทางดานหนาที่ เชน ปริมาณการดูดซับ
กาซคารบอนไดออกไซด
           การปลูกและฟนฟูปาชายเลนมีบทบาทสําคัญในการควบคุมปจจัยที่เกี่ยวของกับความหลากหลาย
ทางชีวภาพในบริเวณปาชายเลน ปาชายเลนมีความสําคัญตอสัตวน้ําในแงเปนแหลงที่อยูอาศัย แหลงอาหาร
แหลงวางไขและอนุบาลปลาวัยออน การปลูกและฟนฟูปาชายเลนจะเพิ่มผลผลิตของปาชายเลนโดยผลผลิต
ของปาชายเลนจะเพิ่มขึ้นตามอายุของสวนปา การเพิ่มผลผลิตของปาชายเลนจะเพิ่มผลผลิตการรวงหลน
และการผุสลายของเศษใบไมในปาชายเลน ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของสายใยอาหารอีกแบบหนึ่ง นอกเหนือจาก
สายใยอาหารที่ เริ่ มต นจากผูผ ลิ ตเบื้อ งต นเช น แพลงกต อนพื ช สาหร า ยหนา ดิน และพัน ธุ ไม ปา ชายเลน
ผลผลิตเศษใบไมเหลานี้เปนอาหารสําคัญสําหรับปลาและสัตวน้ํานานาชนิด ปริมาณอินทรียสารในดิน
เพิ่มขึ้นตามอายุของปาชายเลนปลูก นอกจากนี้ระบบรากที่เพิ่มขึ้นตลอดจนรมเงาจากเรือนยอดไมปาชาย
เลนที่มีอายุมากขึ้นจะชวยบดบังแสงแดด และรักษาความชุมชื้นของดินทําใหเกิดสภาพหลากหลายของแหลง
ที่อยูอาศัย




16
แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 1 ป

         แปลงปลูกโกงกางใบใหญในพื้นที่ดินเลนงอกใหม บานหนาทับ-ปากพยิง หมูที่ 14 ตําบล ทาศาลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช เนื้อที่ 450 ไร (ปลูกป พ.ศ.2551) การเจริญเติบโตของตนโกงกางอายุ 1 ป สามารถ
งอกใบคูใหมเพิ่ม 1-2 คู ความสูงของกลาไมประมาณ 40- 80 เซนติเมตร ยังไมมีการพัฒนารากค้ํายัน ภายใน
แปลงมีตนแสมดําซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเล็กนอยความหนาแนนไมถึง 10 ตน/ไร




          แปลงปลู ก ป า ชายเลนอายุ 1 ป ห ากเป น
แปลงปลู ก ป า ในพื้ น ที่ น ากุ ง ร า งจะสามารถใช
ประโยชนในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําบริเวณแปลงปลูก
ได เนื่ อ งจากสภาพแปลงปลู ก เป น พื้ น ที่ โ ล ง มี
เปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอดเพียง 5 เปอรเซ็นต
การสํ า รวจสั ต ว น้ํ า ในแปลงปลู ก ป า ในนากุ ง ใน
ทองที่ตําบลทาไร ตําบลทาซัก และตําบลปากพูน ที่
เขามาจากการเปดประตูระบายนําน้ําเขาแปลงเพื่อ
เลี้ยงไวภายในแปลงปลูกปา พบวา มีชนิดสัตวน้ําทั้งหมด 20 ชนิด โดยสัตวน้ําชนิดเดนไดแก กุงแชบวย
ปลากระบอก และปูดํา (ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนลาง,2551)5

5
     ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนลาง. 2551. รายงานเบื้องตน โครงการติดตามสถานภาพทรัพยากรสัตวน้ําบริเวณ
โครงการฟนฟูทรัพยากรปาชายเลนเพื่อลดผลกระทบจากภาวะโลกรอน.

                                                                                                                      17
แปลงปลูกปาโกงกาง อายุ 2 ป
               แปลงปลู ก โกงกางใบใหญ ใ นพื้ น ที่ ดิ น เลนงอกใหม หมู ที่ 5 ตํ า บลท า ศาลา จั ง หวั ด
นครศรีธรรมราช เนื้อที่ 240 ไร (ปลูกป พ.ศ.2550) การเจริญเติบโตของตนโกงกางอายุ 2 ป ความสูงของกลา
ไมประมาณ 60 - 110 เซนติเมตร เริ่มมีการพัฒนารากค้ํายันที่งอกออกมาเปนรากอากาศยังไมเจริญลงดิน
ภายในแปลงมีตนแสมดําซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติพบมากบริเวณขอบแปลงริมทะเล




        แปลงปลูกปาชายเลนอายุ 2 ปบริเวณดิน
เลนงอกใหมจะชวยลดความรุนแรงของคลื่นทําให
ลูกปลาตัวเล็กๆ สามารถเขามาอาศัยหลบคลื่นลม
แรงบริเวณแปลงปลูกได จะเห็นไดวาบริเวณแปลง
ปลูกมีนกนางนวลมาอาศัยเกาะบนหลักไมที่ทําไว
กั้นเขตไมใหเรือประมงเขามาทําความเสียหายกับ
ตนไม และหาลูกปลาบริเวณนั้นเปนอาหาร




18
แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 3 ป

         แปลงปลูกโกงกางใบใหญในพื้นที่ดินเลนงอกใหมบานแหลม ม. 14 ตําบลทาศาลา จังหวัดนครศรี-
ธรรมราช เนื้อที่ 240 ไร (ปลูกป พ.ศ. 2549) การเจริญเติบโตของตนโกงกางอายุ 3 ป สามารถพัฒนารากค้ํา
ยันได 4-7 รากตอตน เรือนยอดเจริญเปนพุมประกอบดวยกิ่งที่มีประมาณใบ 3 คู 3 – 5 กิ่ง ความกวางเรือน
ยอดประมาณ 35 – 40 เซนติเมตร การปกคลุมเรือนยอดประมาณ 25 เปอรเซ็นต




        การเจริญเติบโตของโกงกางอายุ 3 ป มีทั้งยังเปนกลาไม (Seedling) 6 และเจริญเปนลูกไม (Sapling)
7
  ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 2 – 3 เซนติเมตร ความสูงประมาณ 80 – 140 เซนติเมตร ภายในแปลง
มีตนแสมดําที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติกระจายหางๆ กัน โดยพบมากบริเวณฝงริมทะเล




6
    Seedling คือ ตนไมที่มความสูงไมเกิน 1.30 เมตร
                            ี
7
    Sapling คือ ตนไมที่ความสูงเกิน 1.30 เมตร และขนาดเสนผานศูนยกลางที่ความสูง 1.30 เมตรไมเกิน 4.5 เซนติเมตร

                                                                                                                   19
แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 4 ป
        แปลงปลูกโกงกางใบใหญในพื้นที่ดินเลนงอกใหมบานหนาทับ-ปากพยิง หมูที่ 14 ตําบลทาศาลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช เนื้อที่ 200 ไร (ปลูกป พ.ศ. 2548) การเจริญเติบโตของตนโกงกางอายุ 4 ป จะ
พัฒนาการเจริญเติบโตสามารถพัฒนารากค้ํายันเพิ่มไดมาก โดยตนที่มีรากค้ํายันมากอาจมีถึง 20 ราก เรือน
ยอดพัฒนาไดมากโดยความกวางเรือนยอดประมาณ 1 เมตร ความสูงของเรือนยอด ประมาณ 1.5 เมตร การ
ปกคลุมเรือนยอดประมาณ 35 เปอรเซ็นต การพัฒนาทางดานความสูงจนตนโกงกางเปน “ลูกไม” (Sapling)
ทั้งหมดมีความสูงประมาณ 1.5 – 2 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลางลําตน ประมาณ 3 - 4 เซนติเมตร




                                                           ภายในแปลงปลูกมีตนแสมที่เกิดขึ้นเองตาม
                                                  ธรรมชาติที่มีความสูงใกลเคียงกับตนโกงกางปลูกใน
                                                  แปลง โดยพุ ม เรื อ นยอดขนาดใหญ ก ว า ทํ า ให
                                                  เปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอดของตนไมในแปลง
                                                  เพิ่มขึ้นอีก 10 - 20 เปอรเซ็นต ทําใหเปอรเซ็นตการ
                                                  ปกคลุมเรือนยอดรวมมากกวา 50 เปอรเซ็นต




20
แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 4 ป
         แปลงปลูกโกงกางใบใหญทองที่ หมูที่ 4 ต. ปากพูน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช เนื้อที่ 140 ไร (ปลูก
ป พ.ศ. 2548) ตนไมในแปลงเจริญเปนลูกไม (sapling) ที่มีความสูงประมาณ 2 - 3 เมตร ขนาดเสนผาน
ศูนยกลางลําตน ประมาณ 3.5 – 4.5 เซนติเมตร ตนไมในแปลงปลูกปาชายเลนแปลงนี้มีระยะปลูก 2 x 2
ตารางเมตร มีความหนาแนนของตนไมประมาณ 400 ตนตอไร การปกคลุมเรือนยอดประมาณ 40 เปอรเซ็นต
เปนแปลงที่ยังมีการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําระบบธรรมชาติรวมดวย




                แปลงปลูกปาชายเลนในโครงการ Green Carpet ซึ่ง
นักวิจัยชาวญี่ปุนนําโดย ดร. ฮิคารุ กาโตะ นักวิจัยจากสถาบัน
สิ่งแวดลอมไทย นําโดย ดร. สนิท อักษรแกว และนักวิจัยจาก
มหาวิ ท ยาลั ย ต า งๆ ได ดํ า เนิ น โครงการสํ า รวจพื้ นที่ เ พื่ อ ฟ น ฟู
พื้น ที่ เ สื่ อ มโทรมจากการทํ า นากุ ง และแก ป ญ หาหารกั ด เซาะ
ชายฝงในจังหวัดนครศรีธรรมราชโดยไดรับความรวมมือจาก
ชาวบานในการยินยอมใหเขาปลูกปาชายเลนในพื้นที่ โครงการ
ดังกลาวสามารถแกไขปญหาความเสื่อมโทรมและการกัดเซาะ
ชายฝงไดตลอดแนวชายฝงตั้งแตบานปากพญา-บานปากพูน อ.
เมือง จ. นครศรีธรรมราช


                                                                                                    21
แปลงปลูกโกงกาง อายุ 4 ป
         แปลงปลูกปาชายเลนโครงการฟนฟูปาชายเลนที่ไดรับความเสียหายจากสึนามิ บริเวณนอกเขตปา
สงวนฯ ในทองที่อําเภอตะกั่วปา เนื้อที่ 100 ไร (ปลูกป พ.ศ. 2548)
         แปลงปลูกปาชายเลนบริเวณธรณีพิบัติ ทองที่ อ.ตะกัวปา จ.พังงา เปนสวนหนึ่งของงานปลูกปา
                                                             ่
ชายเลนบริเวณพื้นที่ที่ไดรับความเสียหายจากคลื่นสึนามิ ของสวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2 ซึ่ง
ไดรับการจัดสรรเงินงบประมาณใหดําเนินงานปลูกปาชายเลนในลักษณะเต็มพื้นที่ ในพื้นที่ความรับผิดชอบ
ของสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 16 17 18 และ 19 จํานวนเนื้อที่ทั้งหมด 1,900 ไร
         ปจจุบันความโตของตนโกงกางใบใหญในแปลงมีขนาดเสนผานศูนยกลางอยูระหวาง 1.3 – 3.5
เซนติเมตร เสนผานศูนยกลางเฉลี่ยเทากับ 2 เซนติเมตร ความสูงอยูระหวาง 95 - 222 เซนติเมตร ตนไมใน
แปลงมีทั้งที่ยังเปนกลาไม (seedling) และเจริญเปนลูกไม (sapling) ตนไมในแปลงอยูในระยะสรางรากค้ํา
ยัน ความหนาแนนของตนไมเทากับ 1,132 ตน/ไร




                                                               เมื่อตนโกงกางในปาปลูกเริ่มสรางรากค้ํายันก็
                                                      เปรียบเสมือนการสรางบานใหลูกหอยเขามายึดเกาะ
                                                      รากโกงกางเปนบาน นอกจากหอยบนรากโกงกางก็จะ
                                                      พบปลาตีนบนหาดเลน ลูกปลาตัวเล็กๆ ในน้ําเมื่อยาม
                                                      น้ําทวมถึงแปลงปลูก นกยางแวะเวียนเขามาโฉบลูก
                                                      ปลาเปนอาหาร
                                                               ต น โกงกางในแปลงปลู ก ป า ในพื้ น ที่ ไ ด รั บ
                                                      ความเสียหายจากสึนามิมีขนาดเสนผานศูนยกลาง
นอยกวาแปลงปลูกปาในพื้นที่นากุงรางซึ่งอายุเทากันเนื่องจากตนไมตองปะทะคลื่นลมแรง ลักษณะตนไมสูง
ชลูดและรือนยอดแคบเนื่องจากพื้นที่มีระดับน้ําขึ้น-ลงสูงและระยะปลูกนอยกวา (หนา 20 - 21)

22
แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 5 ป
         แปลงปลูกโกงกางใบใหญในพื้นที่นากุงรางในเขตปาสงวนแหงชาติปาเลนดอนสัก ตําบลดอนสัก
จังหวัดสุราษฎรธานี เนื้อที่ 100 ไร (ปลูกป พ.ศ. 2547) การเจริญเติบโตของตนโกงกางอายุ 5 ป จะพัฒนา
เรือนยอดจนเรือนยอดของแตละตนแผขยายจนเรือนยอดชิดกันไมมีชองวางทั้งระหวางแถวและในแถวปลูก
เปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอดประมาณ 70 - 80 เปอรเซ็นต ลูกไมโกงกางมีขนาดเสนผานศูนบกลาง
ประมาณ 14 เซนติเมตร บางสวนพัฒนาเปนไมใหญ (Tree) ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางลําตน ประมาณ 5 -
6 เซนติเมตร ความสูงประมาณ 3.5 – 4.0 เมตร




        แปลงปลูกโกงกางอายุ 5 ป จะมีพื้นที่ผิวใบเพิ่มขึ้นมากจากโกงกางอายุ 4 ป ทําใหอัตราการดูดซับ
กาซคารบอนไดออกไซดและการปลดปลอยกาซออกซิเจนเพิ่มขึ้นมากดวย




                                                                                                23
แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 6 ป
         แปลงปลูกโกงกาง ในทองที่ ต. เสม็ด อ. เมือง จ. ชลบุรี เนื้อที่ 35 ไร (ปลู ก ป พ.ศ. 2546) การ
เจริญเติบโตของตนไมในแปลงเจริญเปนไมใหญ (Tree) ที่มีความสูงประมาณ 8 เมตร ขนาดเสนผาน
ศูนยกลางลําตนเฉลี่ย 8 เซนติเมตร มีการพัฒนาเรือนยอดมากที่สุด การปกคลุมเรือนยอดประมาณ 84
เปอรเซ็นต ลําตนบางตนมีการแตกกิ่งที่พัฒนาเปนลําตนในกอเดียวกัน 2 – 3 ตน




                                                                       ปาชายเลนปลูกอายุ 6 ปมีอัตราการเพิ่มขึ้น
                                                                   ของดั ช นี พื้ น ที่ ผิ ว ใบอั น เนื่ อ งมาจากการพั ฒ นา
                                                                   เรือนยอดมากที่สุดทํา ใหมีอัตราการเพิ่มขึ้นของ
                                                                   การดู ดซับ ปริม าณก าซคารบ อนไดออกไซดและ
                                                                   การปลดปลอยกาซออกซิเจนมากที่สุด (สนิท
                                                                   อักษรแกวและคณะ,2552)8


8
    สนิท อักษรแกว, สนใน หะวานนท, วิโรจน ธีรธนาธร และลดาวัลย พวงจิตร. 2550. อุทยานสีเขียว ระบบกันภัยชายฝง ใน พลิกปาฟน
สู ศูนยฯ สิรินาถราชินี. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน).

24
แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 6 ป
       แปลงปลูกปาโกงกางในพื้นที่นากุงราง ทองที่ ต. ดอนสัก อ. ดอนสัก จ. สุราษฎรธานี เปนสวนหนึ่ง
ของโครงการฟนฟูสภาพปาชายเลน และบํารุงแปลงปลูกอายุ 2-6 ป ของหนวยฟนฟูสภาพปาชายเลนที่ สฎ 1
กรมปาไม ซึ่งโครงการดังกลาวไดฟนฟูพื้นที่นากุงรางในอําเภอดอนสัก จ. สุราษรธานีกวาหมื่นไรปจจุบันตน
โกงกางใบใหญมีขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 7- 9 ซ.ม. ความสูง 8-9 เมตร การปกคลุมเรือนยอด
ประมาณ 80 เปอรเซ็นต




                                                              เนื่ อ งจากแปลงปลู ก โกงกางมี ก ารปกคลุ ม เรื อ ยอด
                                                      หนาแนนแสงแดดที่สองผานถึงพื้นมีนอย ทําใหภายในแปลง
                                                      ไมมีไมพื้นลาง ปริมาณแสงอาจสงผลตอการเจริญเติบโตของ
                                                      กล า ไม เ มื่ อ ต น ไม มี ก ารสร า งหน ว ยสื บ พั น ธุ แ ล ว ด ว ย จาก
                                                      ขอมูลพื้นฐานในการศึกษาโครงสรางเรือนยอด ความสามารถ
                                                      ในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดและการปลดปลอยกาซ
                                                      ออกซิเจน พบวาการตัดไมไปใชประโยชนควรเริ่มตัดเมื่อหมู
                                                      ไมอายุ 7 ป (สนิท อักษรแกวและคณะ,2552)9

9
    สนิท อักษรแกว, สนใน หะวานนท, วิโรจน ธีรธนาธร และลดาวัลย พวงจิตร. 2550. อุทยานสีเขียว ระบบกันภัยชายฝง ใน พลิกปาฟน
สู ศูนยฯ สิรินาถราชินี. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน).

                                                                                                                                 25
แปลงปลูกปาโกงกาง อายุ 6 ป ในทองที่ อ. เมือง จ. ตราด เนื้อที่
400 ไร (ปลูกป พ.ศ. 2546) แปลงปลูกปาชายเลนอายุ 6 ป แปลงนี้
เปนแปลงที่มีการลิดกิ่ง (prunning) ออกทําใหเรือนยอดมีขนาดเล็กกวา
แปลงที่ไมมีการลิดกิ่ง ทําใหแสงสามารถสองผานลงถึงพื้นดินไมพื้นลาง
สามารถเจริ ญ เติ บ โตได ในพื้ น ที่ มี ป รงหนู ป กคลุ ม ประมาณ 60
เปอรเซ็นตของพื้นที่ การเจริญเติบโตของตนไมในแปลงใกลเคียงกับ
แปลงที่ ไ ม มี ก ารลิ ด กิ่ ง มี ข นาดเส น ผ า นศู น ย ก ลางที่ ค วามสู ง เพี ย งอก
ประมาณ 7- 9 ซ.ม. ความสู ง 8-9 เมตร การปกคลุ ม เรื อ นยอด
ประมาณ 65- 70 เปอรเซ็นต



26
แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 6 ป

         แปลงปลูกโกงกางใบใหญแปลงนี้ปลูกบนพื้นที่คอนขางสูง หรือเปนที่ดอน ในทองที่ตําบลแหลมสัก
อําเภออาวลึก จังหวัดกระบี่ การเจริญเติบโตทางดานความสูงประมาณ 8 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลาง
ประมาณ 6 – 8 เซนติเมตร เรือนยอดคอนขางเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับหมูไมอายุเทากันที่ปลูกในพื้นที่ดินเลน
งอกใหมหรือปลูกในนากุงราง การปกคลุมเรือนยอดประมาณ 60 – 70 เปอรเซ็นต มีปริมาณแสงสองผานถึง
พื้นดินใหไมพ้ืนลางเจริญเติบโตได สําหรับในพื้นที่นี้ไมพื้นลางคือ น้ํานอง ปกคลุมพื้นที่ประมาณ 80 – 90
เปอรเซ็นต การบํารุงแปลงปลูทางราชการใหงบประมาณในการบํารุงสิ้นสุดลงเมื่ออายุครบ 6 ป




                                                                                                      27
สวนปาโกงกาง อายุ 10 – 20 ป

           สวนปาโกงกางที่อายุ 10 ป ขึ้นไปเปนไมซึ่งโตเต็มที่สามารถผลิต “ฝกโกงกาง” สําหรับการแพรพันธุ
โดยชวงเวลาและจํานวนฝกเฉลี่ยของโกงกางขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง เชน ความอุดมสมบูรณของพื้นที่
สภาพภูมิอากาศ ความหนาแนนของหมูไม ประโยชนอยางหนึ่งที่เห็นไดอยางแปนรูปธรรมที่เกิดจากการผลิต
ฝกของปาโกงกางปลูก คือ อาชีพเก็บฝกโกงกางเพื่อจําหนาย ทํารายไดใหชาวบานรอบแปลงปลูกปาชายเลน
ตัวอยางเชน ชาวบานบานหนาทับ ตําบลทาศาลา ครอบครัวหนึ่งสามารถเก็บฝกโกงกางได 10,000 ฝกตอ
วัน จําหนายไดในราคา 25-35 บาทตอรอยฝก
           จากการศึกษาชวงเวลาและปริมาณการรวงหลนของสํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน พบวา
โกงกางใบใหญในแตละทองที่มีชวงเวลาและปริมาณการรวงหลนตางกัน คือ ทองที่จังหวัดตราดมีปริมาณฝก
รวงหลนมากชวงเดือน มีนาคม – พฤษภาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 35 ฝกตอตน ทองที่จังหวัดชุมพรมีปริมาณฝก
รวงหลนมากในชวงเดือนพฤศจิกายน – มีนาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 89 ฝกตอตน ทองที่จังหวัดพังงา-ภูเก็ตมี
ปริมาณฝกรวงหลนมากในชวงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 26 ฝกตอตน และทองที่จังหวัด
สตูลมีปริมาณฝกรวงหลนมากในชวงเดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 35 ฝกตอตน
           สวนโกงกางใบเล็กมีชวงเวลาและปริมาณการรวงหลนของฝกดังนี้ ทองที่จังหวัดตราดมีปริมาณฝก
รวงหลนมากชวงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 409 ฝกตอตน ทองที่จังหวัดชุมพรมีปริมาณฝก
รวงหลนมากในชวงเดือนตุลาคม – มกราคม จํานวนฝกเฉลี่ย 745 ฝกตอตน ทองที่จังหวัดพังงา-ภูเก็ตมี
ปริมาณฝกรวงหลนมากในชวงเดือนมิถุนายน – สิงหาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 469 ฝกตอตน และทองที่จังหวัด
สตู ล มี ป ริ ม าณฝ ก ร ว งหล น มากในช ว งเดื อ นเมษายน – มิ ถุ น ายน จํ า นวนฝ ก เฉลี่ ย ต อ ต น 586 ฝ ก ต อ ต น
(สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน,มปป)10




10
     สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน. มปป. รายงานผลการปฎิบัติงานโครงการบํารุงรักษาแมไมและเมล็ดพันธไมปาชายเลน.
                                                                                                         

28
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย
การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย

More Related Content

What's hot

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันlovemos
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมงmoemon12
 
OTOS success factors
OTOS success factorsOTOS success factors
OTOS success factorstaem
 
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีนิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31
นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31
นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31Pare Taepthai
 
งานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยวงานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยวTharapat
 

What's hot (7)

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมง
 
OTOS success factors
OTOS success factorsOTOS success factors
OTOS success factors
 
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
 
นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31
นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31
นางสาวธมลวรรณ เทพไทย ม.4/6 เลขที่ 31
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
งานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยวงานการท่องเที่ยว
งานการท่องเที่ยว
 

Similar to การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย

ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11aj_moo
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมคน ขี้เล่า
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่Chanapun Kongsomnug
 
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสพระราชดำรัส
พระราชดำรัสbitzren
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทานChanapun Kongsomnug
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์Moddang Tampoem
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตmook_suju411
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำโครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำpacharawanwaii
 
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านอำเภอสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านอำเภอสันกำแพงโครงการสหกรณ์หมู่บ้านอำเภอสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านอำเภอสันกำแพงMusalna
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูpoo_28088
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
ห้วยองคต
ห้วยองคตห้วยองคต
ห้วยองคตSnook12
 

Similar to การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย (20)

ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่
 
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสพระราชดำรัส
พระราชดำรัส
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำโครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำ
 
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านอำเภอสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านอำเภอสันกำแพงโครงการสหกรณ์หมู่บ้านอำเภอสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านอำเภอสันกำแพง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
254 8
254 8254 8
254 8
 
ชัยภุม
ชัยภุมชัยภุม
ชัยภุม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
ห้วยองคต
ห้วยองคตห้วยองคต
ห้วยองคต
 

More from Wasan Yodsanit

พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพพลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพWasan Yodsanit
 
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตWasan Yodsanit
 
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนงานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนWasan Yodsanit
 
ปลูกให้เป็นป่า
ปลูกให้เป็นป่าปลูกให้เป็นป่า
ปลูกให้เป็นป่าWasan Yodsanit
 
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]Wasan Yodsanit
 
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึง
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึงหนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึง
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึงWasan Yodsanit
 
เพลงปฏิวัติ V2
เพลงปฏิวัติ V2เพลงปฏิวัติ V2
เพลงปฏิวัติ V2Wasan Yodsanit
 

More from Wasan Yodsanit (10)

พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพพลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ
พลังกายทิพย์เพื่อสุขภาพ
 
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิตยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
ยาหอมลมหายใจแห่งชีวิต
 
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนงานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
 
ปลูกให้เป็นป่า
ปลูกให้เป็นป่าปลูกให้เป็นป่า
ปลูกให้เป็นป่า
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Thai forest
Thai forestThai forest
Thai forest
 
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]
รายชื่อแพทย์แผนไทยประยุกต์[Old version]
 
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึง
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึงหนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึง
หนังสือเพลงเพื่อชีวิตสร้างสรรค์ สลึง
 
เพลงปฏิวัติ V2
เพลงปฏิวัติ V2เพลงปฏิวัติ V2
เพลงปฏิวัติ V2
 

การปลูกป่าชายเลนในประเทศไทย

  • 1.
  • 2. การปลูกปาชายเลนในประเทศไทย เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ : 978-974-286-612-9 พิมพครั้งที่ 1 : มีนาคม 2552 จํานวน : 1,000 เลม จัดทําโดย สวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2 เลขที่ 222 หมูที่ 5 ตําบลอาวนาง อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000 โทรศัพท / โทรสาร 0 7563 7514 ที่ปรึกษา ชากรี รอดไฝ ผูอํานวยการสวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2 เรียบเรียง เรวดี กรประชา ขอมูลและภาพ เรวดี กรประชา ธนากร ศรีสุรักษ แสงสุรี ซองทอง วรรณวิภา คงเจริญ พิมพที่ บริษัทหาดใหญเบสเซลส แอนด เซอรวิส จํากัด 92/6 ถนนเสนหานุสรณ ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90100 โทร. 074-355315 – 6 โทรสาร 074-355316 E – mail : hatyaibss@hotmail.com
  • 3. “ควรจะปลูกตนไมลงในใจคนเสียกอน แลวคนเหลานั้นก็จะพากันปลูกตนไมลงบนแผนดิน และรักษาตนไมดวยตัวเอง” พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ  1
  • 4. ประวัติการปลูกสรางสวนปาชายเลน การจัดการป าไมของประเทศไทยเริ่ มขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกลา เจา อยูหัว ไดทรง สถาปนากรมปาไมขึ้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน ร .ศ.115 (พ.ศ. 2439) โดยใหอยูในสังกัดกระทรวงมหาดไทยนั้น รัฐบาลได อาศัยยืมตัวเจาหนาที่ปาไมอังกฤษจากรัฐบาลอินเดีย มาชวยบริหารราชการปาไมในฐานะเจากรม ระหวางป พ .ศ.2439 ถึง พ.ศ. 2466 งานในระยะแรกของกรมปาไมเปนงานดานการเก็บภาษีปาไม ดังความ ตอนหนึ่งในหนังสือเสนอเรื่องตอรัฐบาล ของ มร. ทอทเทแฮม “งานของกรมปาไมในระหวางหาปที่แลวมา เกือบจะจํากัดอยูแตกับการเก็บภาษี สํารวจ และตรวจสอบงานปาไม งานที่สําคัญกวาในแงของการ ปรับปรุงสงเสริม เชน การปองกันไฟ การสงวนปา การตัดเถาวัลย แผวถางวัชพืชใหกลาไมสัก งานเตรียมการ วางโครงการปาไม การจัดระบบแผวถางปาในควนที่เขา การปลูกสรางสวนปา ฯลฯ กลับไมไดรับความสนใจ แตอยางใด” งานดานการปลูกสรางสวนปาเริ่มขึ้นเปนครั้งแรกที่ปาแมปาน อําเภอสูงเมน จังหวัดแพร แตสวนปาที่ทาการปลูกในระยะนี้ไมปรากฏหลักฐานในปจจุบัน จากการตรวจสอบสวนปาของกรมปาไมในป ํ 2496 ตามหลักฐานที่มีอยูในขณะนั้น ปรากฏจากที่ไดสอบถามราษฎรในทองที่วาสวนสักเดิมนั้นมีอยูจริง แต ถูกทําลายไปแลวในระยะสงครามโลกครั้งที่สอง การปลูกบํารุงปาไมที่มีหลักฐานบันทึกแนนอนเริ่มขึ้นในป 2475 มีบันทึกวาจนถึงปนี้มีสวนปาที่ทํา ขึ้นรวม 45 แปลง เปนพื้นที่ประมาณ 3,186 ไร เปนไมสัก 2,947 ไร ไมโกงกาง 190 ไร ไมหลุมพอกับไมสัก 40 ไร และไมพยุง 9 ไร ในป 2476 มีการปลูกไมตะเคียน หลุมพอ โกงกาง แสม สัก นาคบุตร และจาก ในทางภาคใตเพิ่มขึ้น ประมาณ 51 ไร แตสวนปาที่มีบบันทึกเปนหลักฐานแนนอนเฉพาะสวนสัก ไม มี หลักฐานแนนอนเกี่ยวกับสวนไมกระยาเลย การปลูกสรางสวนปาชายเลนที่มีบันทึกหลักฐานแนนอนคือการปลูกบํารุงปาไมของกรมปาไมในสมัย พระยาพนานุจร เปนเจากรมปาไม (พ.ศ. 2478-2484) การปลูกสรางสวนปาเปนหนาที่ของปาไมภาคเปน ผูดําเนินการ สวนไมกระยาเลยนั้นมีท้งปาบกและปาเลนดังนี้ ั 2482 สวนปากน้ําเวฬุ จันทบุรี 2483 สวนปากน้ําประแส ระยอง สวนคลองชายสูง ระยอง สวนทองอาว ตราด สวนคลอง นางรม ประจวบคีรีขันท 2484 สวนดอกมะกอก ระยอง สวนเกาะกลาง ตรัง สวนเกาะหาดกุระ ตรัง สวนเกาะกา ตรัง สวนหนองแก ประจวบคีรีขันท สวนชะอํา เพชรบุรี 2485 สวนปากทะเล เพชรบุรี (กรมปาไม,2523)1 1 กรมปาไม. 2523. ประวัติและผลงานของกรมปาไมครบรอบ 84 ป พ.ศ. 2439-2523 นโยบายและการบริหารงานปาไม. กรมปาม , กรุงเทพ. 2
  • 5. การจัดการปาชายเลนในอดีตยังมิไดมีการวางโครงการเปนการถาวรเทาใดนักเปนเพียงโครงการ ชั่วคราวที่มีการอนุญาตใหแกรายยอยเปนปๆไประบบวนวัฒนวิธีก็ยังมิไดมีการกําหนดใหใชแนนอน พ.ศ. 2504 กรมปาไม โดยแผนกงานแผนการกองโครงการ ไดทําการปรับปรุงหลักเกณฑการทําไม ปาชายเลน และใหทําการสํารวจจัดวางโครงการปาชายเลนใหเปนรูปแบบเดียวกันทั้งหมด ระบบวนวัฒนวิธี ที่ใช คือ Shelterwood with Minimum Girth Limit ตอมาไดมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2509 ใหเปลี่ยนแปลงนโยบายการทําไมปาชายเลนจากวิธียอย และการอนุญาตแบบผูกขาดมาเปนการ อนุญาตโดยวิธีสัมปทานระยะยาวตามโครงการ 15 ป ปาโครงการแตละโครงการจะทําการแบงออกเปน 15 แปลงตัดฟน ใหทําไมปละ 1 แปลง ตามระบบตัดหมดในแนวสลับ (Clear Felling in Alternate Srips)  เพื่อใหการจัดการปาชายเลนที่ใหสัมปทานไปนั้นถูกตองตามหลักวิชาการ และ ควบคุมการ ปฏิบัติงานใหเปนไปตามเงื่อนไขสัมปทาน กรมปาไมจึงไดของบประมาณจัดตั้ง หนวยควบคุมปาเลน เพื่อ ดําเนินการจัดการปาชายเลนตลอดจนควบคุมการปฏิบัติงานตาง ๆ ของผูรับสัมปทาน โดยในป พ.ศ. 2511 ไดรับงบประมาณจัดตั้งหนวยควบคุมปาเลนขึ้นจํานวน 5 หนวย ตอมาใน พ.ศ. 2512-2514 ไดรับงบประมาณ ใหจัดตั้งหนวยเพิ่มขึ้นปละ 10 หนวย ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นครบตามโครงการรวม 34 หนวย (ในปจจุบัน มี 40 หนวย) แตละหนวยควบคุม ปาชายเลนโครงการประมาณ 10 โครงการ พ.ศ. 2532 ไดมีการจัดตั้งฝายจัดการปาชายเลนขึ้นใหม สังกัดกองจัดการปาไม พ.ศ. 2534 มีการ จัดตั้งศูนยผลิตเมล็ดพันธุไมปาชายเลน จํานวน 4 ศูนย พ.ศ. 2536 ยุบกองจัดการปาไมและกรมปาไมไดแบง หนวยงานในสํานักวิชาการ ปาไมออกเปนสวน ๆ แตละสวนจะประกอบดวยกลุมตาง ๆ กลุมวิจัยปาชายเลน สังกัดสวนวิจัยเศรษฐกิจและพัฒนาการจัดการปาไม สํานักวิชาการปาไม พ.ศ. 2545 รัฐบาลไดปฏิรูประบบราชการจึงไดมีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มาตรา 5 ใหมีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาตรา 22 กําหนดอํานาจหนาที่เกี่ยวกับ การอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาตรา 23 กําหนดใหกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝงเปนสวนราชการหนึ่งของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม งานดานการบริหารจัดการ ทรัพยากรปาชายเลนถูกโอนจากกรมปาไมมาอยูในกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง เนื่องจากในการจัดการปาชายเลน นอกจากกิจกรรมการทําไมแลว ยังมีกิจกรรมดานการปลูกสราง สวนปาชายเลน และการอนุรักษและปองกันรักษาปาชายเลนเปนหลักเพื่อทดแทนสภาพปาที่ถูกบุกรุกอยาง รุนแรงโดยกิจการทํานากุง การปลูกสรางสวนปาชายเลนแยกการดําเนินงานตามผูดําเนินการ ดังนี้ (1) การ ปลูกสรางสวนปาโดยใชงบประมาณแผนดิน (2) การปลูกปาชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี (3) การปลูกปา ชายเลนตามโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ (4) โครงการฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน เพื่อ ลดภาวะโลกรอน โดยมีเนื้อที่ปาชายเลนเกิดขึ้นจากการปลูกปาโดยภาครัฐทั้ง 4 โครงการ รวม 169,383 ไร (5) การปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ (6) การปลูกปาชายเลนโดยภาคเอกชน (7) การปลูกปาชายเลนโดยภาครัฐรวมเอกชน (8) การปลูกปาชายเลนจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ 3
  • 6. การปลูกสรางสวนปาชายเลนโดยใชเงินงบประมาณแผนดิน กรมปาไมไดดําเนินการมานานแลวในทองที่จังหวัดจันทบุรี ในบริเวณพื้นที่ปาที่เสื่อมโทรม โดย ดําเนินการปลูกไมโกงกางเพื่อเปนการทดลองปลูกในเนื้อที่เพียงเล็กนอย และไมมีโครงการที่จะปลูกติดตอกัน มาทุกป เนื่องจากในขณะนั้นทางรัฐบาลสงเสริมการปลูกสรางสวนปาไมสักหรือไมปาบก ไมมีงบประมาณ โดยตรงมาใชในการปลูกปาชายเลน ซึ่งตอมาแมวาจะมีการปลูกเพิ่มขึ้นในทองที่จังหวัดอื่นดวย แตก็ ดําเนินการเพียงพื้นที่เล็กนอย ไมที่ปลูกสวนใหญเปนไมโกงกาง ไมโปรง สวนไมถั่วปลูกบางแตเปนสวนนอย การปลูกปาชายเลนที่ผานมาเพียงปลูกเพื่อฟนฟูสภาพปาในบริเวณที่เสื่อมโทรมเทานั้น ยังไมมีแผนการ จัดการที่จะนําไมออกมาใชประโยชนแตอยางใด เนื้อที่สวนปาชายเลนที่ไดดําเนินการปลูกโดยใชเงิน งบประมาณแผนดิน ตั้งแต พ.ศ. 2482 จนถึง พ.ศ. 2534 ที่ดําเนินการทั้งสิ้นประมาณ 56,660 ไร 4
  • 7. การปลูกปาชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี การปลู ก ป า ชายเลนของกรมป า ไม เ ริ่ ม กระทํ า กั น อย า งต อ เนื่ อ ง และได รั บ การสนั บ สนุ น ด า น งบประมาณอยางเต็มที่ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2534 กําหนดระยะเวลาการ ดําเนินงานไว 5 ป ตั้งแต พ.ศ. 2535 - 2539 กําหนดเปาหมายในสวนที่เปนการปลูกปาชายเลนไว 250,000 ไร ในพื้นที่ที่มีสภาพปาเสื่อมโทรม และพื้นที่ดินเลนงอกใหม ที่มีศักยภาพในการปลูกปาแลวไดผล โดยมีศูนย ผลิตเมล็ดพันธุไมปาชายเลน จํานวน 4 ศูนย การปลูกปาชายเลนตามโครงการพัฒนาพื้นที่ปาชายเลนเขต อนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรีซึ่งดําเนินการตั้งแตป 2535 – 3539 ในทองที่ 15 จังหวัด ไดเนื้อที่ปาชายเลน ทั้งสิ้น 81,377 ไร 5
  • 8. การปลูกปาชายเลนโดยภาคเอกชน การปลูกสรางสวนปาชายเลนหรือสวนปาไมโกงกางโดยเอกชน อยูในบริเวณชายฝงทะเลกนอาวไทย ในทองที่จังหวัดเพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรปราการจนถึงชลบุรี ซึ่งสวนใหญเปนการปลูกสรางสวนปาไม โกงกางเปนอาชีพในครัวเรือนในที่ดินกรรมสิทธิ์ซึ่งเปนมรดกตกทอดตอๆ กันมา จากการสอบถามประวัติ ความเปนมาของราษฎรบางรายในทองที่บานตะบูนอําเภอบานแหลมจังหวัดเพชรบุรีและที่บานยี่สาร อําเภอ อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งไดเริ่มปลูกปาไมโกงกางใบเล็กเพื่อเผาถานและทําไมฟนมาตั้งแตป พ.ศ. 2480 และมีราษฎร รายอื่นๆ ทําตามติดตอกันมาจนถึงปจจุบันโดยจํานวนเนื้อที่ที่แทจริงของสวนปาไม โกงกางที่ราษฎรไดปลูกขึ้นที่บานยี่สาร อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีเนื้อที่ประมาณ 16,000 ไร โดย ดําเนินการอยูหลายเจาของและใชประโยชนไมจากสวนปาที่ปลูกในการเผาถานเปนสวนใหญ แตขณะนี้ไดมี การเปลี่ยนแปลงพื้นที่สวนปาดังกลาวทําเปนนากุงไปเปนจํานวนมากแลว การเผาถานไมโกงกางที่บานยี่สารตองใชไมสดเปนจํานวนมากกวาจะไดไมเตาหนึ่งจะตองตัดไม เปนจํานวนมหาศาล ตนโกงกางที่จะตัดมาเผาถาน อายุ 12 – 15 ป ลําตนจะสูงประมาณ 5 - 6 วา มีคน รับจางไปตัดฟนเอาทั้งรากทั้งโคนและกิ่งกานสาขา สวนลําตนจะตัดทอนออกเปนไมหลายาว 1.30 เมตร สวน อื่นเอาเปนเชื้อเพลิงเผาถาน การเรียงไมหลาเขาเตาใหเต็มทั้งไมตั้งและไมซอน 1 เตา ใชจํานวนไมทั้งหมด ประมาณ 10,000 ถึง 12,000 ทอน เปนน้ําหนักประมาณ 20 ตัน หรือ 20,000 กิโลกรัม เผาแลวจะไดถาน 4,500 ถึง 5,000 กิโลกรัม ราคาจําหนายปลีกถานไมโกงกางบรรจุถุง ถุงละ 2 กิโลกรัม ราคา 50 บาท ปาชายเลนที่ยี่สารเปนสวนปาของเอกชน มีโฉนดที่ดินไมใชปาสัมปทานหรือปาสงวน เมื่อไมในปาโต ใชการได ก็จะตัดฟนและปลูกทดแทน ปญหาในการตัดไมทําลายปาจึงไมเกิดขึ้น (ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัตน ,2551)2 2 ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัตน. 2551. ถานไมโกงกาง ที่ยี่สาร ชุมชนโบราณแมกลอง. หนังสือพิมพไทยรัฐ ฉบับวันที่ 27 กรกฎาคม 2551 6
  • 9. การปลูกปาชายเลนภาครัฐรวมเอกชน ปจจุบันการบริหารจัดการทรัพยากรโดยประชาชนมีสวนรวมเปนเรื่องที่รัฐใหความสําคัญ การปลูก ปาชายเลนภาครัฐรวมเอกชนในปจจุบันมีทั้งรูปแบบที่เปนงบประมาณของรัฐแลวขอความรวมมือประชาชน ในการเขารวมกิจกรรมเพื่อประโยชนในการสรางความรูสึกรักและหวงแหนธรรมชาติใหกับประชาชนที่เขารวม กิจกรรมกับรัฐ เพราะการปลูกปาชายเลนถือเปนการฟนฟูอยางหนึ่ง แตการฟนฟูที่ยั่งยืนยิ่งกวาก็คือการให การศึกษาใหชาวบานไดเขาใจถึงประโยชนของปาชายเลน และรูปแบบที่เอกชนมีงบประมาณและประสงคจะ สนับสนุนการปลูกปาชายเลนแลวรัฐเปนฝายอํานวยความสะดวกในการคัดเลือกพื้นที่ สนับสนุนกลาไมใหกับ เอกชน ซึ่งเอกชนที่ใหความรวมมือในการปลูกปาชายเลนกับภาครัฐนั้นมีเอกชนทั้งในและตางประเทศ สําหรับ ตางประเทศนั้ น การปลูกปา ประชาอาสาไทย-ญี่ปุน มีมาตั้ งในอดี ต นอกจากนี้ยั งมีก าร สนับสนุนงบประมาณดานการวิจัยเรื่องการฟนฟูพื้นที่เสื่อมโทรม การแกปญหาการกัดเซาะชายฝง ฯลฯ ซึ่ง หนังสือเลมนี้ไดนําเสนอตัวอยางแปลงปลูกปาชายเลนที่เกิดจากการสนับสนุนเงินทุนและนักวิจัยมารวมกับ นักวิจัยชาวไทยในการปลูกปาชายเลนเพื่อแกปญหาพื้นที่เสื่อมโทรมจากการทํานากุงและปญหาการกัดเซาะ ชายฝงในจังหวัดนครศรีธรรมราชไวจํานวน 2 แปลง 7
  • 10. การปลูกปาชายเลนตามโครงการปลูกปาชายเลนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสครองราชยปที่ 50 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชไดทรงพระราชทานพระราชดําริเปนอเนกประการใน การทํานุบํารุงสิ่งแวดลอม และทรัพยากรปาไมของประเทศทรงพระราชทานพระราชดําริการพัฒนาดาน ตางๆ ควบคูกับการอนุรักษเสมอดวยการทรงจัดการใชทรัพยากรสิ่งแวดลอมใหเกิดประโยชนแกพสกนิกร มากที่สุด ประกอบกับสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงหวงใยปญหาปาไมที่ถูกบุกรุกทําลาย และ ทรงกรุณาโปรดเกลาฯ ใหทานผูหญิงสุประภาดา เกษมสันต ราชเลขานุการในพระองค อัญเชิญพระราชกระแส มายั ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ ต ามหนั ง สื อ สํ า นั ก ราชเลขาธิ ก าร ที่ รล 0009/11951 ลงวั น ที่ 29 ธันวาคม 2535 ใหหามาตรการยับ ยั้งการทํ าลายปา และเรง ฟนฟู สภาพตน น้ําลํา ธาร โดยทรงโปรด พิจารณาปญหาการขาดแคลนน้ํา ซึ่งเปนปญหาใหญของชาติที่จะตองเรงแกไขโดยดวนที่สุด กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไ ด น อ มอั ญ เชิ ญ พระราชกระแสของสมเด็ จ พระนางเจ า ฯ พระบรมราชินีนาถ มาเปนแนวทางในการดําเนินการฟนฟูสภาพปาไม เพื่อใหสภาพปาที่เสื่อมโทรมได กลับคืนสภาพโดยรวดเร็ว โดยไดหารือทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ที่จะใหคนในชาติทุกหมูเหลา ทุกสาขา อาชีพไดรวมกันปลูกปาสนองพระราชกระแสของ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถและนอมเกลาฯ ถวายเป น สั ก การะ เนื่ อ งในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงครองราชย ป ที่ 50 ใน ป พ.ศ. 2539 กระทรวงเกษตรและสหกรณจึงไดจัดทําโครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ า อยู หั ว เนื่ อ งในวโรกาสทรงครองราชย ป ที่ 50 ขึ้ น ระยะที่ 1 มี ระยะเวลาดํ าเนิ นงานตามโครงการฯ 3 ป (พ .ศ .2537–พ .ศ .2539) ระยะที่ 2 มี ระยะเวลาดํ าเนิ นงาน ต า ม โ ค ร ง ก า ร ฯ 6 ป (พ .ศ .2540-พ .ศ . 2545) และในระยะที่ 3 มีระยะเวลาดําเนินงานตามโครงการฯ 5 ป (พ.ศ.2546–พ.ศ.2550) โดยมี วัตถุประสงค คือ 1. ดําเนินการปลูกปาในพื้นที่เขตอนุรักษใหครบตามเปาหมาย จํานวน 5 ลานไร 2. เพื่อเปนการสนองพระราชดําริดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3. เพื่อเพิ่มพื้นที่ปาของประเทศใหบรรลุผลตามนโยบายของรัฐบาล 4. เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกใหคนในชาติมีใจรักตนไม รักปาไม และหวงแหนทรัพยากรปาไม โดยมีการ รณรงค และการมีสวนรวมของทุกสวนในการแกปญหาภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น 8
  • 11. การปลูกปาชายเลนตามโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสทรงพระชนมายุ 72 พรรษา โครงการปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ เปนโครงการสําคัญของกรมทรัพยากรปาชายเลน ทางทะเลและชายฝง โดยสํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลนเริ่มจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2545 มีวัตถุประสงคเพื่อ สนองแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจา สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในการอนุรักษปาชายเลนฟนฟูทะเลไทยใหกลับคืนความอุดมสมบูรณ และมี ศักยภาพในการอํานวยผลผลิตสัตวน้ําอยางยั่งยืน รวมทั้งเกื้อกูลตอการเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ และรักษาสภาพแวดลอมของระบบนิเวศปาชายเลน ระบบนิเวศชายฝง และระบบนิเวศทางทะเลใหเปนไป อยางสมดุล โดยรณรงคและสงเสริมใหประชาชนทุกหมูเหลารวมกันฟนฟูปาชายเลนที่เสื่อมโทรมใหกลับคืน ความอุดมสมบูรณ ใหชุมชนในทองถิ่นที่อาศัยอยูรอบพื้นที่ปาชายเลนอยางยั่งยืนตอไป อีกทั้งเปนการเฉลิม ฉลองเทิดพระเกียรติถวายเปนราชสักการะในวโรกาสมงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา ดวย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดดําเนินการปลูกปาชายเลนตามโครงการปลูกปาถาวรเฉลิม พระเกียรติฯ ตั้งแตป 2545 – 2551 ไดเนื้อที่สวนปาชายเลนที่ไดดําเนินการปลูกเสร็จแลวทั้งสิ้น 24,346 ไร 9
  • 12. การปลูกปาชายเลนในอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิริรธร จากพระราชดําริในสมเด็จพระเทพ รัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การฟนฟูระบบนิเวศปาชายเลนในอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร เริ่มตนเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2537 จากพระราชดําริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใหจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสม เพื่อทดลองปลูกและฟนฟูสภาพปาชายเลน ซึ่งการฟนฟูสภาพปาชายเลนในอุทยาน ฯ แบงออกเปน 3 ระยะ รวมพื้นที่ที่ปลูกไปแลวจํานวน 140 ไร โดยทําการฟนฟูบริเวณคลอง 2 คลองไดแก คลองบางตรานอย และ คลองบางตราใหญ ซึ่งรับน้ําจืดจากลุมน้ําหวยใหญ ไหลลงทะเลบริเวณทางดานทิศเหนือและทิศใตของ อุทยาน ฯ เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลน้ําทะเลขึ้นสูงสุด เกิดเปนระบบนิเวศน้ํากรอย การฟนฟูปาชายเลนระยะที่ 1 ปลูกบริเวณพื้นที่คลองบางตรานอยและคลองบางตราใหญ มีเนื้อที่ ประมาณ 80 ไร และ 30 ไร ตามลําดับ ประกอบดวยพันธุไมปาชายเลนจํานวน 32 ชนิด (เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2537 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงปลูกตน โกงกางใบใหญทั้งสองบริเวณ) ซึ่งกอนการปลูกปาชายเลนมีการขุดลอกตะกอนทรายที่ทับถมบริเวณปาก แมน้ําทั้ง 2 คลอง เพื่อใหปาชายเลนที่ปลูกไดรับอิทธิพลจากน้ําขึ้นน้ําลงได การฟนฟูปาชายเลนระยะที่ 2 ปลูกบริเวณพื้นที่สวนแยกคลองบางตรานอย มีเนื้อที่ประมาณ 30 ไร ประกอบดวยพันธุไมปาชายเลนจํานวน 22 ชนิด (เมื่อ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดําเนินทรงปลูกตนโกงกางใบใหญ) (อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร, 2552)3 3 อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิริธร. 2552. การฟนฟูระบบนิเวศปาชายเลน. เอกสารเผยแพรของอุทยานสิ่งแวดลอมฯ 10
  • 13. การปลูกปาชายเลนในโครงการฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน เพื่อลดผลกระทบจากภาวะโลกรอน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดจัดทําโครงการฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน เพื่อลดผลกระทบ จากภาวะโลกรอน ตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2551 และ 1 เมษายน 2551 ใหดําเนิน โครงการเตรียมรับ มือ กั บการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศ และคุณ ภาพสิ่งแวดลอ มตามนโยบายของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จากขอมูลการจําแนกการใชประโยชนที่ดินปาชายเลน พ.ศ. 2543 พบวาปาชายเลนถูกเปลี่ยน สภาพไปใชประโยชนตามวัตถุประสงคตางๆ มากมาย แตที่มีจํานวนมากที่สุดคือ การเปลี่ยนแปลงเปนพื้นที่ เพาะเลี้ยงสัตวนํ้าในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีพื้นที่ครอบครองทําประโยชนของราษฎรโดยไมมีเอกสารสิทธิ์ ถึง 61,730 ไร พื้นที่ขออนุญาตใชประโยชน จํานวน 4,165 ไร จากพื้นที่ปาชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี จํานวน 137,686 ไร ปจจุบันมีพื้นที่ปาชายเลนคงสภาพ จํานวน 71,791 ไร สภาพปญาหาในพื้นที่ที่เกิดขึ้นคือราษฎรไมสามารถเขาพัฒนาปรับปรุงพื้นที่เพื่อประโยชนในการ เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เนื่องจากเปนการกระทําผิดกฎหมาย สวนทางราชการไมสามารถเขาปรับปรุงฟนฟูสภาพ ปาไดเชนกัน เนื่องจากถูกขัดขวางจากผูครอบครองพื้นที่ ทําใหทั้งราษฎรและราชการไมไดรับประโยชนสูงสุด จากพื้นที่ดังกลาวมาเปนเวลานานกวา 30 ป การดําเนินโครงการฟนฟูทรัพยากรปาชายเลน เพื่อลดผลกระทบจากภาวะโลกรอน ทางราชการโดย สวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2 และหนวยราชการในพื้นที่ไดดําเนินการเจรจาจนไดขอสรุป ระหวางราษฎรและทางราชการ คือ ใหทางราชการเขาดําเนินการปรับปรุงฟนฟูสภาพพื้นที่ครึ่งหนึ่ง และให ราษฎรขออนุญาตเขาทําประโยชนเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําอีกครึ่งหนึ่ง ซึ่งตามขอตกลงดังกลาวไดรับความ ยินยอมจากราษฎรบางสวน ผลการดําเนินโครงการสวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2 ไดดําเนินการปลูกฟนฟูปาชาย เลนในป พ.ศ. 2551 ทั้งสิ้น 7,000 ไร ในทองที่ตําบลบางจาก ตําบลทาไร ตําบลปากนคร ตําบลทาซัก ตําบลปากพูน อําเภอเมือง ตําบลปากพนังฝงตะวันตก ตําบลแหลมตะลุมพุก ตําบลคลองนอย อําเภอปาก พนัง ตําบลทาศาลา อําเภอทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 11
  • 14. การปลูกฟนฟูระบบนิเวศปาชายเลน (สนใจ หะวานนท,2552)4 การปลูกปาชายเลนในปจจุบันมุงหวังที่จะฟนฟูระบบนิเวศปาชายเลนที่เสื่อมโทรมใหมีสภาพดีเพื่อให เกิดความสมดุลของสภาพแวดลอมชายฝงทะเลมากยิ่งขึ้นการปลูกปาชายเลนเทาที่ผานมาสวนใหญจะใชไม โกงกางเปนหลักเพราะเปนไมที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ และชวยในการพัฒนาสภาพแวดลอมไดดีการปลูกปา ชายเลนใหไดผลดีควรคํานึงถึงปจจัยสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพพื้นที่และกาลเวลา อาทิเชน สภาพภูมิประเทศ ชายฝงทะเล ภูมิอากาศ น้ําขึ้น - น้ําลง คลื่นและกระแสน้ํา ความเค็มของน้ําทะเล ปริมาณ ออกซิเจนที่ละลายน้ํา คุณสมบัติทางเคมีและฟสิกสของดินและปริมาณธาตุอาหารตาง ๆ นอกจากนี้สัตวที่อยู ในปาชายเลนและประชาชนที่อยูตามชายฝงก็มีสวนชวยใหเกิดปญหาในการปลูกปาชายเลนไดเหมือนกัน การที่จะปลูกปาชายเลนในสภาพพื้นที่ตาง ๆ ใหไดผลนั้นผูดําเนินการในพื้นที่จะตองนําความรูที่ได จากการสั ง เกตุ แ ละศึ ก ษาทํ า ความเข า ใจในระบบนิ เ วศป า ชายเลนของพื้ น ที่ ป ลู ก มาใช เ ป น หลั ก ในการ ดําเนินการปลูกโดยสังเกตุและศึกษากลุมของสังคมพืชที่ปรากฏอยูในสภาพธรรมชาติซึ่งปกติแลวพันธุไมปา ชายเลนจะขึ้นอยูในลักษณะการแบงเขต (Zonation) ตามสภาพความเค็มของน้ําทะเลและความลาดชันของ พื้นที่การปลูกเพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอมชายฝงทะเลเชนนี้จึงควรพิจารณาคัดเลือกพันธุที่มีอยูเดิมในสังคมพืชนั้น เปนอันดับแรกโดยทั่วไปแลวพื้นที่ที่จะดําเนินการปลูกฟนฟูสภาพปาชายเลนมีลักษณะดังนี้ 4 สนใจ หะวานนท,2552. http://www.ds.ac.th/~mangrove/protection.html 12
  • 15. พื้นที่ซึ่งเปนดินเลนงอกใหม (New mudflat area) เกิดจากการทับถมของตะกอนดินที่ไหลมาตามแมน้ําลําคลอง เชน อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎร ธานี อาวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราชหรือเกิดจากการพังทลายของชายฝงทะเลในบริเวณอื่นแลว กระแสน้ําหมุนเวียนพัดพาไปตกตะกอนในอีกพื้นที่หนึ่ง เชน หาดเลนงอกใหมในทองที่จังหวัดสมุทรสงคราม และเพชรบุรีเกิดจากการพังทลายของชายฝงสมุทรสาคร กรุงเทพฯ สมุทรปราการ แลวกระแสน้ําพัดพาไป ตกตะกอนในบริเวณดังกลาวโดยมีตะกอนที่ไหลมาตามแมน้ําลําคลองทับถมเพิ่มเติม ปญหาการปลูกปาชายเลนบริเวณดินเลนงอกใหม พื้นที่ซึ่งเปนดอนเลนงอกใหมยังเปนแหลงที่อยูอาศัย และแสวงหาอาหารของสัตวน้ําเปนจํานวนมาก ทําใหมีอวนรุนเขา มาจับสัตวน้ําอยูเสมอ ซึ่งนอกจากจะทําลายกลาไมที่ปลูกแลว ยัง ทําใหการตกตะกอนและยึดตัวของอนุภาคดินเปนไปไดชา ดังนั้น กอนการปลูกปาชายเลนในบริเวณนี้จึงควรจัดทําแนวรั้วกั้นการ เขาออกของเรือประมงไวเปนการลวงหนา และจะมีกลาไมเขามา สื บ พั น ธุ ต ามธรรมชาติ เ พิ่ ม เติ ม จนกลายเป น ป า ที่ ส มบู ร ณ ที่ มี ประโยชนในการอนุรักษสิ่งแวดลอมชายฝงไดในเวลาอันรวดเร็ว 13
  • 16. พื้นที่ปาเสือมโทรมอันเนืองมาจากการตัดไม (Over cutting area) ่ ่ ในพื้ น ที่ เ ช น นี้ จ ะมี ไ ม ที่ มี คุ ณ ค า ทางเศรษฐกิ จ น อ ยเหลื อ อยู แ ละการสื บ พั น ธุ ต ามธรรมชาติ ไ ม ดี เนื่องจากขาดแคลนแมไม สภาพสังคมพืชที่เคยเปนปาโกงกางขึ้นอยูในดินเลนออนอาจเปลี่ยนเปนไมถั่วซึ่งขึ้น ไดดีในที่เปนดินเลนแข็ง เนื่องจากมีเรือนยอดปกคลุมพื้นที่หางๆ และมีการเขาไปเหยียบย่ําอยูเสมอ นอกจากนี้ยงมีตะกอนดินเลนที่แขวนลอยอยูในน้ํามาทับถมเพื่อขึ้นอยูตลอดเวลาทําใหระดับพื้นดินสูงมากขึ้น ั ปญหาการปลูกปาชายเลนในพื้นที่ปาเสื่อมโทรม การปลูก พัน ธุ ไ มล งในพื้น ที่ค วรสัง เกตปริ ม าณวั ชพื ช ที่ ขึ้นอยู หากเปนพื้นที่ซึ่งมีปรงหนูหรือปรงทะเล (Acrostichum sp.) หรือพันธุไมอื่นๆ เชน เหงือกปลาหมอ (Acanthus sp.) ถอบแถบ (Derris trifoliata) สักขี (Dalbergia cadenatensis) ขึ้นอยูทั่วไปใน พื้นที่เหลานี้จะเปนดินเลนแข็งการปลูกไมโกงกางลงในที่วางจะ เจริญเติบโตชา ชนิดไมที่ควรปลูกในพื้นที่เชนนี้ ไดแก ถั่วขาว (Bruguiera cylindrica) พังกาหัวสุมดอกขาว (B. sexangula) พั ง กาหั ว สุ ม ดอกแดง (B. gymnorrhiza) ฝาดดอกแดง (Lumnitzera littorea) ฝาดดอกขาว (L. racemosa) เปนตน 14
  • 17. พื้นที่ที่ผานการทํานากุง (Abandoned shrimp farm area)  ในพื้นที่ที่ผานการทํานากุงแบบดั้งเดิม เมื่อปลอยทิ้งรางจะทําใหอุณหภูมิของดินสูงขึ้น ปริมาณน้ําใน ดินลดลง และปริมาณธาตุอาหารต่ํา จากการศึกษาพบวา อุณหภูมิของดินนากุงจะสูงกวาปาชายเลนปกติ 3.0-10.5 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ําในดินลดลง 77.4 - 83.3 % ปริมาณอินทรียวัตถุลดลง 3.5 - 11% แต อยางไรก็ตาม ในพื้นที่นากุงรางแบบดั้งเดิมหนาดินสวนใหญยังคงอยูในสภาพเดิม และดินยังมีธาตุอาหาร เพียงพอที่จะใชในการเจริญเติบโตของพืช จึงสามารถปลูกไมโกงกางใบเล็ก ถั่วขาว โปรงแดง ลงไปได การปลูกปาชายเลนในพื้นที่นากุงราง ควรปลูกในชวงฤดูฝนหรือชวงที่มีน้ําทะเล ทวมถึงในเวลากลางวัน ซึ่งในพื้นที่ปาชายเลน บริเ วณชายฝง ทะเลอา วไทยจะอยู ใ นชว งระหวา ง เดือนตุลาคม-กุมภาพันธ การปลูกในฤดูแลงและน้ํา ลดในเวลากลางวัน จะทํ า ให กล า ไมที่ ป ลู กมี อัต รา การรอดตายต่ํา 15
  • 18. สวนปาโกงกางในประเทศไทย การปลูกฟนฟูปาชายเลนในประเทศไทยนั้นสวนใหญเปนการปลูกปาโกงกางทั้งโกงกางใบเล็กและ โกงกางใบใหญ สวนพันธุไมปาชายเลนชนิดอื่นที่มีการปลูกนอยกวา ไดแก โปรงแดง ถั่วขาว พังกาหัวสุม แสม ฯลฯ ระบบนิเวศปาชายเลนจะเปลี่ยนแปลงไปเมื่อสวนปาชายเลนมีอายุมากขึ้นทั้งทางดานโครงสราง เชน องคประกอบชนิดพันธุ ความหนาแนน การปกคลุมเรือนยอด และทางดานหนาที่ เชน ปริมาณการดูดซับ กาซคารบอนไดออกไซด การปลูกและฟนฟูปาชายเลนมีบทบาทสําคัญในการควบคุมปจจัยที่เกี่ยวของกับความหลากหลาย ทางชีวภาพในบริเวณปาชายเลน ปาชายเลนมีความสําคัญตอสัตวน้ําในแงเปนแหลงที่อยูอาศัย แหลงอาหาร แหลงวางไขและอนุบาลปลาวัยออน การปลูกและฟนฟูปาชายเลนจะเพิ่มผลผลิตของปาชายเลนโดยผลผลิต ของปาชายเลนจะเพิ่มขึ้นตามอายุของสวนปา การเพิ่มผลผลิตของปาชายเลนจะเพิ่มผลผลิตการรวงหลน และการผุสลายของเศษใบไมในปาชายเลน ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของสายใยอาหารอีกแบบหนึ่ง นอกเหนือจาก สายใยอาหารที่ เริ่ มต นจากผูผ ลิ ตเบื้อ งต นเช น แพลงกต อนพื ช สาหร า ยหนา ดิน และพัน ธุ ไม ปา ชายเลน ผลผลิตเศษใบไมเหลานี้เปนอาหารสําคัญสําหรับปลาและสัตวน้ํานานาชนิด ปริมาณอินทรียสารในดิน เพิ่มขึ้นตามอายุของปาชายเลนปลูก นอกจากนี้ระบบรากที่เพิ่มขึ้นตลอดจนรมเงาจากเรือนยอดไมปาชาย เลนที่มีอายุมากขึ้นจะชวยบดบังแสงแดด และรักษาความชุมชื้นของดินทําใหเกิดสภาพหลากหลายของแหลง ที่อยูอาศัย 16
  • 19. แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 1 ป แปลงปลูกโกงกางใบใหญในพื้นที่ดินเลนงอกใหม บานหนาทับ-ปากพยิง หมูที่ 14 ตําบล ทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เนื้อที่ 450 ไร (ปลูกป พ.ศ.2551) การเจริญเติบโตของตนโกงกางอายุ 1 ป สามารถ งอกใบคูใหมเพิ่ม 1-2 คู ความสูงของกลาไมประมาณ 40- 80 เซนติเมตร ยังไมมีการพัฒนารากค้ํายัน ภายใน แปลงมีตนแสมดําซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเล็กนอยความหนาแนนไมถึง 10 ตน/ไร แปลงปลู ก ป า ชายเลนอายุ 1 ป ห ากเป น แปลงปลู ก ป า ในพื้ น ที่ น ากุ ง ร า งจะสามารถใช ประโยชนในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําบริเวณแปลงปลูก ได เนื่ อ งจากสภาพแปลงปลู ก เป น พื้ น ที่ โ ล ง มี เปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอดเพียง 5 เปอรเซ็นต การสํ า รวจสั ต ว น้ํ า ในแปลงปลู ก ป า ในนากุ ง ใน ทองที่ตําบลทาไร ตําบลทาซัก และตําบลปากพูน ที่ เขามาจากการเปดประตูระบายนําน้ําเขาแปลงเพื่อ เลี้ยงไวภายในแปลงปลูกปา พบวา มีชนิดสัตวน้ําทั้งหมด 20 ชนิด โดยสัตวน้ําชนิดเดนไดแก กุงแชบวย ปลากระบอก และปูดํา (ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนลาง,2551)5 5 ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนลาง. 2551. รายงานเบื้องตน โครงการติดตามสถานภาพทรัพยากรสัตวน้ําบริเวณ โครงการฟนฟูทรัพยากรปาชายเลนเพื่อลดผลกระทบจากภาวะโลกรอน. 17
  • 20. แปลงปลูกปาโกงกาง อายุ 2 ป แปลงปลู ก โกงกางใบใหญ ใ นพื้ น ที่ ดิ น เลนงอกใหม หมู ที่ 5 ตํ า บลท า ศาลา จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เนื้อที่ 240 ไร (ปลูกป พ.ศ.2550) การเจริญเติบโตของตนโกงกางอายุ 2 ป ความสูงของกลา ไมประมาณ 60 - 110 เซนติเมตร เริ่มมีการพัฒนารากค้ํายันที่งอกออกมาเปนรากอากาศยังไมเจริญลงดิน ภายในแปลงมีตนแสมดําซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติพบมากบริเวณขอบแปลงริมทะเล แปลงปลูกปาชายเลนอายุ 2 ปบริเวณดิน เลนงอกใหมจะชวยลดความรุนแรงของคลื่นทําให ลูกปลาตัวเล็กๆ สามารถเขามาอาศัยหลบคลื่นลม แรงบริเวณแปลงปลูกได จะเห็นไดวาบริเวณแปลง ปลูกมีนกนางนวลมาอาศัยเกาะบนหลักไมที่ทําไว กั้นเขตไมใหเรือประมงเขามาทําความเสียหายกับ ตนไม และหาลูกปลาบริเวณนั้นเปนอาหาร 18
  • 21. แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 3 ป แปลงปลูกโกงกางใบใหญในพื้นที่ดินเลนงอกใหมบานแหลม ม. 14 ตําบลทาศาลา จังหวัดนครศรี- ธรรมราช เนื้อที่ 240 ไร (ปลูกป พ.ศ. 2549) การเจริญเติบโตของตนโกงกางอายุ 3 ป สามารถพัฒนารากค้ํา ยันได 4-7 รากตอตน เรือนยอดเจริญเปนพุมประกอบดวยกิ่งที่มีประมาณใบ 3 คู 3 – 5 กิ่ง ความกวางเรือน ยอดประมาณ 35 – 40 เซนติเมตร การปกคลุมเรือนยอดประมาณ 25 เปอรเซ็นต การเจริญเติบโตของโกงกางอายุ 3 ป มีทั้งยังเปนกลาไม (Seedling) 6 และเจริญเปนลูกไม (Sapling) 7 ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 2 – 3 เซนติเมตร ความสูงประมาณ 80 – 140 เซนติเมตร ภายในแปลง มีตนแสมดําที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติกระจายหางๆ กัน โดยพบมากบริเวณฝงริมทะเล 6 Seedling คือ ตนไมที่มความสูงไมเกิน 1.30 เมตร ี 7 Sapling คือ ตนไมที่ความสูงเกิน 1.30 เมตร และขนาดเสนผานศูนยกลางที่ความสูง 1.30 เมตรไมเกิน 4.5 เซนติเมตร 19
  • 22. แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 4 ป แปลงปลูกโกงกางใบใหญในพื้นที่ดินเลนงอกใหมบานหนาทับ-ปากพยิง หมูที่ 14 ตําบลทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เนื้อที่ 200 ไร (ปลูกป พ.ศ. 2548) การเจริญเติบโตของตนโกงกางอายุ 4 ป จะ พัฒนาการเจริญเติบโตสามารถพัฒนารากค้ํายันเพิ่มไดมาก โดยตนที่มีรากค้ํายันมากอาจมีถึง 20 ราก เรือน ยอดพัฒนาไดมากโดยความกวางเรือนยอดประมาณ 1 เมตร ความสูงของเรือนยอด ประมาณ 1.5 เมตร การ ปกคลุมเรือนยอดประมาณ 35 เปอรเซ็นต การพัฒนาทางดานความสูงจนตนโกงกางเปน “ลูกไม” (Sapling) ทั้งหมดมีความสูงประมาณ 1.5 – 2 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลางลําตน ประมาณ 3 - 4 เซนติเมตร ภายในแปลงปลูกมีตนแสมที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติที่มีความสูงใกลเคียงกับตนโกงกางปลูกใน แปลง โดยพุ ม เรื อ นยอดขนาดใหญ ก ว า ทํ า ให เปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอดของตนไมในแปลง เพิ่มขึ้นอีก 10 - 20 เปอรเซ็นต ทําใหเปอรเซ็นตการ ปกคลุมเรือนยอดรวมมากกวา 50 เปอรเซ็นต 20
  • 23. แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 4 ป แปลงปลูกโกงกางใบใหญทองที่ หมูที่ 4 ต. ปากพูน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช เนื้อที่ 140 ไร (ปลูก ป พ.ศ. 2548) ตนไมในแปลงเจริญเปนลูกไม (sapling) ที่มีความสูงประมาณ 2 - 3 เมตร ขนาดเสนผาน ศูนยกลางลําตน ประมาณ 3.5 – 4.5 เซนติเมตร ตนไมในแปลงปลูกปาชายเลนแปลงนี้มีระยะปลูก 2 x 2 ตารางเมตร มีความหนาแนนของตนไมประมาณ 400 ตนตอไร การปกคลุมเรือนยอดประมาณ 40 เปอรเซ็นต เปนแปลงที่ยังมีการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําระบบธรรมชาติรวมดวย แปลงปลูกปาชายเลนในโครงการ Green Carpet ซึ่ง นักวิจัยชาวญี่ปุนนําโดย ดร. ฮิคารุ กาโตะ นักวิจัยจากสถาบัน สิ่งแวดลอมไทย นําโดย ดร. สนิท อักษรแกว และนักวิจัยจาก มหาวิ ท ยาลั ย ต า งๆ ได ดํ า เนิ น โครงการสํ า รวจพื้ นที่ เ พื่ อ ฟ น ฟู พื้น ที่ เ สื่ อ มโทรมจากการทํ า นากุ ง และแก ป ญ หาหารกั ด เซาะ ชายฝงในจังหวัดนครศรีธรรมราชโดยไดรับความรวมมือจาก ชาวบานในการยินยอมใหเขาปลูกปาชายเลนในพื้นที่ โครงการ ดังกลาวสามารถแกไขปญหาความเสื่อมโทรมและการกัดเซาะ ชายฝงไดตลอดแนวชายฝงตั้งแตบานปากพญา-บานปากพูน อ. เมือง จ. นครศรีธรรมราช 21
  • 24. แปลงปลูกโกงกาง อายุ 4 ป แปลงปลูกปาชายเลนโครงการฟนฟูปาชายเลนที่ไดรับความเสียหายจากสึนามิ บริเวณนอกเขตปา สงวนฯ ในทองที่อําเภอตะกั่วปา เนื้อที่ 100 ไร (ปลูกป พ.ศ. 2548) แปลงปลูกปาชายเลนบริเวณธรณีพิบัติ ทองที่ อ.ตะกัวปา จ.พังงา เปนสวนหนึ่งของงานปลูกปา ่ ชายเลนบริเวณพื้นที่ที่ไดรับความเสียหายจากคลื่นสึนามิ ของสวนบริหารจัดการทรัพยากรปาชายเลนที่ 2 ซึ่ง ไดรับการจัดสรรเงินงบประมาณใหดําเนินงานปลูกปาชายเลนในลักษณะเต็มพื้นที่ ในพื้นที่ความรับผิดชอบ ของสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 16 17 18 และ 19 จํานวนเนื้อที่ทั้งหมด 1,900 ไร ปจจุบันความโตของตนโกงกางใบใหญในแปลงมีขนาดเสนผานศูนยกลางอยูระหวาง 1.3 – 3.5 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลางเฉลี่ยเทากับ 2 เซนติเมตร ความสูงอยูระหวาง 95 - 222 เซนติเมตร ตนไมใน แปลงมีทั้งที่ยังเปนกลาไม (seedling) และเจริญเปนลูกไม (sapling) ตนไมในแปลงอยูในระยะสรางรากค้ํา ยัน ความหนาแนนของตนไมเทากับ 1,132 ตน/ไร เมื่อตนโกงกางในปาปลูกเริ่มสรางรากค้ํายันก็ เปรียบเสมือนการสรางบานใหลูกหอยเขามายึดเกาะ รากโกงกางเปนบาน นอกจากหอยบนรากโกงกางก็จะ พบปลาตีนบนหาดเลน ลูกปลาตัวเล็กๆ ในน้ําเมื่อยาม น้ําทวมถึงแปลงปลูก นกยางแวะเวียนเขามาโฉบลูก ปลาเปนอาหาร ต น โกงกางในแปลงปลู ก ป า ในพื้ น ที่ ไ ด รั บ ความเสียหายจากสึนามิมีขนาดเสนผานศูนยกลาง นอยกวาแปลงปลูกปาในพื้นที่นากุงรางซึ่งอายุเทากันเนื่องจากตนไมตองปะทะคลื่นลมแรง ลักษณะตนไมสูง ชลูดและรือนยอดแคบเนื่องจากพื้นที่มีระดับน้ําขึ้น-ลงสูงและระยะปลูกนอยกวา (หนา 20 - 21) 22
  • 25. แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 5 ป แปลงปลูกโกงกางใบใหญในพื้นที่นากุงรางในเขตปาสงวนแหงชาติปาเลนดอนสัก ตําบลดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี เนื้อที่ 100 ไร (ปลูกป พ.ศ. 2547) การเจริญเติบโตของตนโกงกางอายุ 5 ป จะพัฒนา เรือนยอดจนเรือนยอดของแตละตนแผขยายจนเรือนยอดชิดกันไมมีชองวางทั้งระหวางแถวและในแถวปลูก เปอรเซ็นตการปกคลุมเรือนยอดประมาณ 70 - 80 เปอรเซ็นต ลูกไมโกงกางมีขนาดเสนผานศูนบกลาง ประมาณ 14 เซนติเมตร บางสวนพัฒนาเปนไมใหญ (Tree) ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางลําตน ประมาณ 5 - 6 เซนติเมตร ความสูงประมาณ 3.5 – 4.0 เมตร แปลงปลูกโกงกางอายุ 5 ป จะมีพื้นที่ผิวใบเพิ่มขึ้นมากจากโกงกางอายุ 4 ป ทําใหอัตราการดูดซับ กาซคารบอนไดออกไซดและการปลดปลอยกาซออกซิเจนเพิ่มขึ้นมากดวย 23
  • 26. แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 6 ป แปลงปลูกโกงกาง ในทองที่ ต. เสม็ด อ. เมือง จ. ชลบุรี เนื้อที่ 35 ไร (ปลู ก ป พ.ศ. 2546) การ เจริญเติบโตของตนไมในแปลงเจริญเปนไมใหญ (Tree) ที่มีความสูงประมาณ 8 เมตร ขนาดเสนผาน ศูนยกลางลําตนเฉลี่ย 8 เซนติเมตร มีการพัฒนาเรือนยอดมากที่สุด การปกคลุมเรือนยอดประมาณ 84 เปอรเซ็นต ลําตนบางตนมีการแตกกิ่งที่พัฒนาเปนลําตนในกอเดียวกัน 2 – 3 ตน ปาชายเลนปลูกอายุ 6 ปมีอัตราการเพิ่มขึ้น ของดั ช นี พื้ น ที่ ผิ ว ใบอั น เนื่ อ งมาจากการพั ฒ นา เรือนยอดมากที่สุดทํา ใหมีอัตราการเพิ่มขึ้นของ การดู ดซับ ปริม าณก าซคารบ อนไดออกไซดและ การปลดปลอยกาซออกซิเจนมากที่สุด (สนิท อักษรแกวและคณะ,2552)8 8 สนิท อักษรแกว, สนใน หะวานนท, วิโรจน ธีรธนาธร และลดาวัลย พวงจิตร. 2550. อุทยานสีเขียว ระบบกันภัยชายฝง ใน พลิกปาฟน สู ศูนยฯ สิรินาถราชินี. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). 24
  • 27. แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 6 ป แปลงปลูกปาโกงกางในพื้นที่นากุงราง ทองที่ ต. ดอนสัก อ. ดอนสัก จ. สุราษฎรธานี เปนสวนหนึ่ง ของโครงการฟนฟูสภาพปาชายเลน และบํารุงแปลงปลูกอายุ 2-6 ป ของหนวยฟนฟูสภาพปาชายเลนที่ สฎ 1 กรมปาไม ซึ่งโครงการดังกลาวไดฟนฟูพื้นที่นากุงรางในอําเภอดอนสัก จ. สุราษรธานีกวาหมื่นไรปจจุบันตน โกงกางใบใหญมีขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 7- 9 ซ.ม. ความสูง 8-9 เมตร การปกคลุมเรือนยอด ประมาณ 80 เปอรเซ็นต เนื่ อ งจากแปลงปลู ก โกงกางมี ก ารปกคลุ ม เรื อ ยอด หนาแนนแสงแดดที่สองผานถึงพื้นมีนอย ทําใหภายในแปลง ไมมีไมพื้นลาง ปริมาณแสงอาจสงผลตอการเจริญเติบโตของ กล า ไม เ มื่ อ ต น ไม มี ก ารสร า งหน ว ยสื บ พั น ธุ แ ล ว ด ว ย จาก ขอมูลพื้นฐานในการศึกษาโครงสรางเรือนยอด ความสามารถ ในการดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดและการปลดปลอยกาซ ออกซิเจน พบวาการตัดไมไปใชประโยชนควรเริ่มตัดเมื่อหมู ไมอายุ 7 ป (สนิท อักษรแกวและคณะ,2552)9 9 สนิท อักษรแกว, สนใน หะวานนท, วิโรจน ธีรธนาธร และลดาวัลย พวงจิตร. 2550. อุทยานสีเขียว ระบบกันภัยชายฝง ใน พลิกปาฟน สู ศูนยฯ สิรินาถราชินี. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน). 25
  • 28. แปลงปลูกปาโกงกาง อายุ 6 ป ในทองที่ อ. เมือง จ. ตราด เนื้อที่ 400 ไร (ปลูกป พ.ศ. 2546) แปลงปลูกปาชายเลนอายุ 6 ป แปลงนี้ เปนแปลงที่มีการลิดกิ่ง (prunning) ออกทําใหเรือนยอดมีขนาดเล็กกวา แปลงที่ไมมีการลิดกิ่ง ทําใหแสงสามารถสองผานลงถึงพื้นดินไมพื้นลาง สามารถเจริ ญ เติ บ โตได ในพื้ น ที่ มี ป รงหนู ป กคลุ ม ประมาณ 60 เปอรเซ็นตของพื้นที่ การเจริญเติบโตของตนไมในแปลงใกลเคียงกับ แปลงที่ ไ ม มี ก ารลิ ด กิ่ ง มี ข นาดเส น ผ า นศู น ย ก ลางที่ ค วามสู ง เพี ย งอก ประมาณ 7- 9 ซ.ม. ความสู ง 8-9 เมตร การปกคลุ ม เรื อ นยอด ประมาณ 65- 70 เปอรเซ็นต 26
  • 29. แปลงปลูกปาโกงกางอายุ 6 ป แปลงปลูกโกงกางใบใหญแปลงนี้ปลูกบนพื้นที่คอนขางสูง หรือเปนที่ดอน ในทองที่ตําบลแหลมสัก อําเภออาวลึก จังหวัดกระบี่ การเจริญเติบโตทางดานความสูงประมาณ 8 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลาง ประมาณ 6 – 8 เซนติเมตร เรือนยอดคอนขางเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับหมูไมอายุเทากันที่ปลูกในพื้นที่ดินเลน งอกใหมหรือปลูกในนากุงราง การปกคลุมเรือนยอดประมาณ 60 – 70 เปอรเซ็นต มีปริมาณแสงสองผานถึง พื้นดินใหไมพ้ืนลางเจริญเติบโตได สําหรับในพื้นที่นี้ไมพื้นลางคือ น้ํานอง ปกคลุมพื้นที่ประมาณ 80 – 90 เปอรเซ็นต การบํารุงแปลงปลูทางราชการใหงบประมาณในการบํารุงสิ้นสุดลงเมื่ออายุครบ 6 ป 27
  • 30. สวนปาโกงกาง อายุ 10 – 20 ป สวนปาโกงกางที่อายุ 10 ป ขึ้นไปเปนไมซึ่งโตเต็มที่สามารถผลิต “ฝกโกงกาง” สําหรับการแพรพันธุ โดยชวงเวลาและจํานวนฝกเฉลี่ยของโกงกางขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง เชน ความอุดมสมบูรณของพื้นที่ สภาพภูมิอากาศ ความหนาแนนของหมูไม ประโยชนอยางหนึ่งที่เห็นไดอยางแปนรูปธรรมที่เกิดจากการผลิต ฝกของปาโกงกางปลูก คือ อาชีพเก็บฝกโกงกางเพื่อจําหนาย ทํารายไดใหชาวบานรอบแปลงปลูกปาชายเลน ตัวอยางเชน ชาวบานบานหนาทับ ตําบลทาศาลา ครอบครัวหนึ่งสามารถเก็บฝกโกงกางได 10,000 ฝกตอ วัน จําหนายไดในราคา 25-35 บาทตอรอยฝก จากการศึกษาชวงเวลาและปริมาณการรวงหลนของสํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน พบวา โกงกางใบใหญในแตละทองที่มีชวงเวลาและปริมาณการรวงหลนตางกัน คือ ทองที่จังหวัดตราดมีปริมาณฝก รวงหลนมากชวงเดือน มีนาคม – พฤษภาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 35 ฝกตอตน ทองที่จังหวัดชุมพรมีปริมาณฝก รวงหลนมากในชวงเดือนพฤศจิกายน – มีนาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 89 ฝกตอตน ทองที่จังหวัดพังงา-ภูเก็ตมี ปริมาณฝกรวงหลนมากในชวงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 26 ฝกตอตน และทองที่จังหวัด สตูลมีปริมาณฝกรวงหลนมากในชวงเดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 35 ฝกตอตน สวนโกงกางใบเล็กมีชวงเวลาและปริมาณการรวงหลนของฝกดังนี้ ทองที่จังหวัดตราดมีปริมาณฝก รวงหลนมากชวงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 409 ฝกตอตน ทองที่จังหวัดชุมพรมีปริมาณฝก รวงหลนมากในชวงเดือนตุลาคม – มกราคม จํานวนฝกเฉลี่ย 745 ฝกตอตน ทองที่จังหวัดพังงา-ภูเก็ตมี ปริมาณฝกรวงหลนมากในชวงเดือนมิถุนายน – สิงหาคม จํานวนฝกเฉลี่ย 469 ฝกตอตน และทองที่จังหวัด สตู ล มี ป ริ ม าณฝ ก ร ว งหล น มากในช ว งเดื อ นเมษายน – มิ ถุ น ายน จํ า นวนฝ ก เฉลี่ ย ต อ ต น 586 ฝ ก ต อ ต น (สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน,มปป)10 10 สํานักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน. มปป. รายงานผลการปฎิบัติงานโครงการบํารุงรักษาแมไมและเมล็ดพันธไมปาชายเลน.  28